ข้ามไปเนื้อหา

กุ้ยหยาง

พิกัด: 26°38′49″N 106°37′48″E / 26.647°N 106.630°E / 26.647; 106.630
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กุ้ยหยาง

贵阳市
สถานที่ต่าง ๆ ในนครกุ้ยหยาง
สถานที่ต่าง ๆ ในนครกุ้ยหยาง
สมญา: 
เมืองแห่งป่าไม้, เมืองหลวงฤดูร้อนของจีน, เมืองบ่อน้ำพุแห่งที่สอง
แผนที่
ที่ตั้งของนครกุ้ยหยาง (สีเหลือง) ในมณฑลกุ้ยโจว และ สป.จีน
ที่ตั้งของนครกุ้ยหยาง (สีเหลือง) ในมณฑลกุ้ยโจว และ สป.จีน
กุ้ยหยางตั้งอยู่ในประเทศจีน
กุ้ยหยาง
กุ้ยหยาง
ที่ตั้งในประเทศจีน
พิกัด (หน่วยงานบริหารนครกุ้ยหยาง): 26°38′49″N 106°37′48″E / 26.647°N 106.630°E / 26.647; 106.630
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
มณฑลกุ้ยโจว
การปกครอง
 • เลขาธิการพรรคSun zhigang
 • นายกเทศมนตรีChen Yan
พื้นที่
 • นครระดับจังหวัด8,034 ตร.กม. (3,102 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง2,403.4 ตร.กม. (928.0 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล2,403.4 ตร.กม. (928.0 ตร.ไมล์)
ความสูง1,275 เมตร (4,183 ฟุต)
ประชากร
 (ประมาณการปี 2016)
 • นครระดับจังหวัด4,696,800 คน
 • ความหนาแน่น580 คน/ตร.กม. (1,500 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง3,483,100 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง1,400 คน/ตร.กม. (3,800 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล3,483,100 คน
 • ความหนาแน่นรวมปริมณฑล1,400 คน/ตร.กม. (3,800 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+08:00 (เวลามาตรฐานจีน)
รหัสไปรษณีย์550000
รหัสพื้นที่(0)851
รหัส ISO 3166CN-GZ-01
ป้ายทะเบียนรถ贵A
เว็บไซต์gygov.gov.cn
กุ้ยหยาง
"กุ้ยหยาง" เขียนด้วยอักษรจีนตัวย่อ (บน) และอักษรจีนตัวเต็ม (ล่าง)
อักษรจีนตัวย่อ贵阳
อักษรจีนตัวเต็ม貴陽
ฮั่นยฺหวี่พินอินGuìyáng
ความหมายตามตัวอักษร"ฝั่งใต้ของ[ภูเขา]กุ้ย"

กุ้ยหยาง (จีนตัวย่อ: 贵阳, จีนตัวเต็ม: 貴陽) คือเมืองหลวงของมณฑลกุ้ยโจว อยู่ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน ซึ่งจัดเป็นเมืองตากอากาศเมืองหนึ่ง มีเอกลักษณ์ คำขวัญว่า "กุ้ยหยางหลากหลายสีสัน มนต์เสน่ห์แห่งกุ้ยหยาง เมืองแห่งป่าไม้ และเมืองตากอากาศ" [1]

ทิวทัศน์เมืองกุ้ยหยาง

ภูมิศาสตร์

[แก้]

กุ้ยหยาง ถูกตั้งอยู่ในมณฑลกุ้ยโจวตั้งอยู่ที่ตะวันออกของที่ราบสูง Yungui ของจีน และบน ฝั่งด้านเหนือของแม่น้ำหนานหมิง สาขาของแม่น้ำ Wujiang มี อุทยานเทียนเหอถัน ที่อยู่ห่างจากเมืองกุ้ยหยางไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ 22 กิโลเมตร มีภูมิประเทศแบบถ้ำหินคาสต์ (Karst landform) มี น้ำตกหวงกั่วซู่ ซึ่งเป็นน้ำตกที่สวยงามสูงกว่า 74 เมตร

ภูมิอากาศ

[แก้]

กุ้ยหยางมีภูมิอากาศเป็นแบบกึ่งมรสุมเขตร้อน ไม่สามารถเห็นฤดูทั้งสี่ ได้อย่างชัดเจน ปราศจากฤดูหนาวที่หนาวจัดและฤดูร้อนที่ร้อน

อ้างอิง

[แก้]