เคียฟ
เคียฟ | |
---|---|
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: วังมารียินสกืย, คีฟแปแชร์สก์ลาวรา, อาคารมหาวิทยาลัยแดง, บ้านคิเมียรา, อาสนวิหารนักบุญโซเฟีย, จัตุรัสไมดาน | |
| |
สมญา: | |
เพลง: Yak tebe ne liubyty, Kyieve mii! | |
พิกัด: 50°27′00″N 30°31′24″E / 50.45000°N 30.52333°E | |
ประเทศ | ยูเครน |
เทศบาล | เทศบาลนครเคียฟ |
ก่อตั้ง | ค.ศ. 482 (ทางการ)[3] |
ตั้งชื่อจาก | กึย |
สภานคร | สภานครเคียฟ |
Raions | |
การปกครอง | |
• นายกและหัวหน้าเขตบริหารภาครัฐของนคร | Vitali Klitschko[4][5] |
พื้นที่ | |
• เมืองหลวงและนครสถานะพิเศษ | 839 ตร.กม. (324 ตร.ไมล์) |
ความสูง | 179 เมตร (587 ฟุต) |
ประชากร (1 มกราคม ค.ศ. 2021) | |
• เมืองหลวงและนครสถานะพิเศษ | 2,962,180[2] คน |
• ความหนาแน่น | 3,299 คน/ตร.กม. (8,540 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล | 3,475,000 (1 มกราคม ค.ศ. 2,021) [6] คน |
เดมะนิม | Kyivan,[7] Kievan[8] |
จีดีพี (เฉลี่ย) (2018)[9] | |
• รวม | ₴833 พันล้านฮริฟเนีย (25 พันล้านยูโร) |
• ต่อหัว | 283,000 ฮริฟเนีย (8,500 ยูโร) |
เขตเวลา | UTC+2 (เวลายุโรปตะวันออก) |
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง) | UTC+3 (เวลาออมแสงยุโรปตะวันออก) |
รหัสไปรษณีย์ | 01xxx–04xxx |
รหัสพื้นที่ | +380 44 |
รหัส FIPS | UP12 |
ป้ายทะเบียนรถ | AA, KA (ก่อน ค.ศ. 2004: КА, КВ, КЕ, КН, КІ, KT) |
เว็บไซต์ | kyivcity |
เคียฟ (อังกฤษ: Kiev, ออกเสียง: /ˈkiːɛv/;[10] หรือ Kyiv, ออกเสียง: /ˈkiːjɪv/,[11] /kiːv/) หรือ กือยิว (ยูเครน: Ки́їв, ออกเสียง: [ˈkɪjiu̯] ( ฟังเสียง)) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศยูเครน ตั้งอยู่ภาคกลางตอนเหนือของประเทศ ริมฝั่งแม่น้ำนีเปอร์ ในวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2021 เมืองนี้มีประชากร 2,962,180 คน[12] ทำให้เคียฟเป็นเมืองที่มีประชากรมากอันดับที่ 7 ในทวีปยุโรป[13]
เคียฟเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ การศึกษา และวัฒนธรรมที่สำคัญแห่งหนึ่งของยุโรปตะวันออก เคียฟยังเป็นที่ตั้งของอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง สถาบันอุดมศึกษา และสถานที่ทางประวัติศาสตร์หลายแห่ง นครแห่งนี้มีระบบขนส่งสาธารณะและโครงสร้างพื้นฐานที่กว้างขวาง ซึ่งรวมไปถึงรถไฟฟ้าใต้ดินเคียฟ
ชื่อของเคียฟมาจากชื่อ กึย (Kyi) ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่ผู้ก่อตั้งเมืองตามตำนานซึ่งได้แก่ กึย, ชแชก (Shchek), คอรึว (Khoryv) และลือบิด (Lybid) ซึ่งเป็นพี่น้องกัน
ภูมิอากาศ
[แก้]ข้อมูลภูมิอากาศของเคียฟ (ค.ศ. 1991–2020, สูงสุด ค.ศ. 1881–ปัจจุบัน) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 11.1 (52) |
17.3 (63.1) |
22.4 (72.3) |
30.2 (86.4) |
33.6 (92.5) |
35.0 (95) |
39.4 (102.9) |
39.3 (102.7) |
33.8 (92.8) |
28.0 (82.4) |
23.2 (73.8) |
14.7 (58.5) |
39.4 (102.9) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | -0.8 (30.6) |
0.7 (33.3) |
6.5 (43.7) |
15.0 (59) |
21.1 (70) |
24.6 (76.3) |
26.5 (79.7) |
25.9 (78.6) |
20.0 (68) |
12.9 (55.2) |
5.3 (41.5) |
0.5 (32.9) |
13.2 (55.8) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | −3.2 (26.2) |
−2.3 (27.9) |
2.5 (36.5) |
10.0 (50) |
15.8 (60.4) |
19.5 (67.1) |
21.3 (70.3) |
20.5 (68.9) |
14.9 (58.8) |
8.6 (47.5) |
2.6 (36.7) |
-1.8 (28.8) |
9.0 (48.2) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | -5.5 (22.1) |
-5.0 (23) |
-0.8 (30.6) |
5.7 (42.3) |
10.9 (51.6) |
14.8 (58.6) |
16.7 (62.1) |
15.7 (60.3) |
10.6 (51.1) |
5.1 (41.2) |
0.4 (32.7) |
-3.9 (25) |
5.4 (41.7) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | -32.9 (-27.2) |
-32.2 (-26) |
-24.9 (-12.8) |
-10.4 (13.3) |
-2.4 (27.7) |
2.4 (36.3) |
5.8 (42.4) |
3.3 (37.9) |
-2.9 (26.8) |
-17.8 (-0) |
-21.9 (-7.4) |
-30.0 (-22) |
−32.9 (−27.2) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 38 (1.5) |
40 (1.57) |
40 (1.57) |
42 (1.65) |
65 (2.56) |
73 (2.87) |
68 (2.68) |
56 (2.2) |
57 (2.24) |
46 (1.81) |
46 (1.81) |
47 (1.85) |
618 (24.33) |
ความชื้นร้อยละ | 82.7 | 80.1 | 74.0 | 64.3 | 62.0 | 67.5 | 68.3 | 66.9 | 73.5 | 77.4 | 84.6 | 85.6 | 73.9 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 8 | 7 | 9 | 13 | 14 | 15 | 14 | 11 | 14 | 12 | 12 | 9 | 138 |
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย | 17 | 17 | 10 | 2 | 0.2 | 0 | 0 | 0 | 0.03 | 2 | 9 | 16 | 73 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 42 | 64 | 112 | 162 | 257 | 273 | 287 | 252 | 189 | 123 | 51 | 31 | 1,843 |
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net,[14] Central Observatory for Geophysics (สูงสุด),[15][16] องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (ความชื้น 1981–2010)[17] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: Danish Meteorological Institute (ดวงอาทิตย์, 1931–1960)[18] และ Weather Atlas[19] |
ประชากร
[แก้]รายงานจากสถิติประชากรทางการ มีผู้อยู่อาศัยในเขตเคียฟ 2,847,200 คนในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2013[20]
ประวัติประชากรในอดีต
[แก้]ปี | ประชากร | ±% |
---|---|---|
10xx | 100,000 | — |
1647 | 15,000 | −85.0% |
1666 | 10,000 | −33.3% |
1763 | 42,000 | +320.0% |
1797 | 19,000 | −54.8% |
1835 | 36,500 | +92.1% |
1845 | 50,000 | +37.0% |
1856 | 56,000 | +12.0% |
1865 | 71,300 | +27.3% |
1874 | 127,500 | +78.8% |
1884 | 154,500 | +21.2% |
1897 | 247,700 | +60.3% |
1905 | 450,000 | +81.7% |
1909 | 468,000 | +4.0% |
1912 | 442,000 | −5.6% |
1914 | 626,300 | +41.7% |
1917 | 430,500 | −31.3% |
1919 | 544,000 | +26.4% |
1922 | 366,000 | −32.7% |
1923 | 413,000 | +12.8% |
1926 | 513,000 | +24.2% |
1930 | 578,000 | +12.7% |
1940 | 930,000 | +60.9% |
1943 | 180,000 | −80.6% |
1956 | 991,000 | +450.6% |
1959 | 1,104,300 | +11.4% |
1965 | 1,367,200 | +23.8% |
1970 | 1,632,000 | +19.4% |
1975 | 1,947,000 | +19.3% |
1980 | 2,191,500 | +12.6% |
1985 | 2,461,000 | +12.3% |
1991 | 2,593,400 | +5.4% |
1996 | 2,637,900 | +1.7% |
2000 | 2,615,300 | −0.9% |
2005 | 2,596,400 | −0.7% |
2010 | 2,786,518 | +7.3% |
2015 | 2,890,432 | +3.7% |
ณ วันที่ 1 มกราคมของทุกปี[21][22] |
เมืองพี่น้อง
[แก้]เคียฟเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[23]
- อังการา ประเทศตุรกี (1993)
- อาชกาบัต ประเทศเติร์กเมนิสถาน (2001)
- เอเธนส์ ประเทศกรีซ (1996)
- บากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน (1997)
- ปักกิ่ง ประเทศจีน (1993)
- บิชเคก ประเทศคีร์กีซสถาน (1997)
- บราซิเลีย ประเทศบราซิล (2000)
- บราติสลาวา ประเทศสโลวาเกีย (1969)
- บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม (1997)
- บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา (2000)
- ชิคาโก สหรัฐ (1991)
- คีชีเนา ประเทศมอลโดวา (1993)
- เอดินบะระ ประเทศสกอตแลนด์ (1989)
- ฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี (1967)
- อาบานา ประเทศคิวบา (1994)
- จาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย (2005)
- กรากุฟ ประเทศโปแลนด์ (1993)
- เกียวโต ประเทศญี่ปุ่น (1971)
- ไลพ์ซิช ประเทศเยอรมนี (1956)
- ลิมา ประเทศเปรู (2005)
- เม็กซิโกซิตี ประเทศเม็กซิโก (1997)
- มิวนิก ประเทศเยอรมนี (1989)
- อัสตานา ประเทศคาซัคสถาน (1998)
- Odense ประเทศเดนมาร์ก (1989)
- Osh Region ประเทศคีร์กีซสถาน (2002)
- พริทอเรีย ประเทศแอฟริกาใต้ (1993)
- รีกา ประเทศลัตเวีย (1998)
- ริโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล (2000)
- ซันติอาโก ประเทศชิลี (1998)
- โซเฟีย ประเทศบัลแกเรีย (1997)
- ซูโจว ประเทศจีน (2005)
- ทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย (1994)
- ตัมเปเร ประเทศฟินแลนด์ (1954)
- ทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน (1998)
- ทบิลีซี ประเทศจอร์เจีย (1999)
- ตูลูซ ประเทศฝรั่งเศส (1975)
- วิลนีอัส ประเทศลิทัวเนีย (1991)
- วอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ (1994)
- อู่ฮั่น ประเทศจีน (1990)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Kyiv - History". Encyclopædia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-03-09.
- ↑ "Чисельність наявного населення України (Actual population of Ukraine)" (PDF) (ภาษายูเครน). State Statistics Service of Ukraine. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-06. สืบค้นเมื่อ 11 July 2021.
- ↑ Oksana Lyachynska (31 May 2012). "Kyiv's 1,530th birthday marked with fun, protest". Kyiv Post.
- ↑ Vitali Klitschko sworn in as mayor of Kyiv, Interfax-Ukraine (5 June 2014)
- ↑ Poroshenko appoints Klitschko head of Kyiv city administration – decree, Interfax-Ukraine (25 June 2014)
Poroshenko orders Klitschko to bring title of best European capital back to Kyiv, Interfax-Ukraine (25 June 2014) - ↑ "Major Agglomerations of the World". Citypopulation.de. 1 January 2021. สืบค้นเมื่อ 23 September 2021.
- ↑ kyivan, Wiktionary.com (28 November 2017)
- ↑ kievan. (n.d.). Dictionary.com Unabridged, retrieved 29 May 2013 from Dictionary.com
- ↑ "ВАЛОВИЙ РЕГІОНАЛЬНИЙ ПРОДУКТ У 2018 РОЦІ" (PDF). www.ukrstat.gov.ua.
- ↑ "Kyiv". Merriam-Webster Dictionary.
- ↑ Preston, Rich [@RichPreston] (February 25, 2022). "And here's what the BBC Pronunciation Unit advises. We changed our pronunciation and spelling of Kiev to Kyiv in 2019" (ทวีต) – โดยทาง ทวิตเตอร์.
- ↑ Чисельність населення м.Києва [Number of present population of Ukraine 1 January 2021] (PDF) (ภาษายูเครน). UkrStat.gov.ua. 1 January 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2022-04-06. สืบค้นเมื่อ 15 July 2021.
- ↑ "City Mayors: The 500 largest European cities (1 to 100)". www.citymayors.com.
- ↑ "Weather and Climate – The Climate of Kiev" (ภาษารัสเซีย). Weather and Climate (Погода и климат). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 December 2019. สืบค้นเมื่อ 8 November 2021.
- ↑ "ЦГО Кліматичні дані по м.Києву". cgo-sreznevskyi.kyiv.ua (ภาษายูเครน). Central Observatory for Geophysics. สืบค้นเมื่อ 12 October 2020.
- ↑ "ЦГО Кліматичні рекорди". cgo-sreznevskyi.kyiv.ua (ภาษายูเครน). Central Observatory for Geophysics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-31. สืบค้นเมื่อ 12 October 2020.
- ↑ "World Meteorological Organization Climate Normals for 1981–2010". World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2021. สืบค้นเมื่อ 17 July 2021.
- ↑ Cappelen, John; Jensen, Jens. "Ukraine – Kiev" (PDF). Climate Data for Selected Stations (1931–1960) (ภาษาเดนมาร์ก). Danish Meteorological Institute. p. 332. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 April 2013. สืบค้นเมื่อ 1 April 2016.
- ↑ d.o.o, Yu Media Group. "Kiev, Ukraine - Detailed climate information and monthly weather forecast". Weather Atlas (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 3 July 2019.
- ↑ Чисельність населення м.Києва [Population of Kyiv city] (ภาษายูเครน). UkrStat.gov.ua. 1 November 2015. สืบค้นเมื่อ 9 January 2016.
- ↑ Vilenchuk, S.R.; Yatsuk, T.B., บ.ก. (2009). Kyiv Statistical Yearbook for 2008. Kiev: Vydavnytstvo Konsultant LLC. p. 213. ISBN 978-966-8459-28-3.
- ↑ Kudritskiy, A. V. (1982). KIEV entsiklopedicheskiy spravochnik. Kiev: Glavnaya redaktsia Ukrainskoy Sovetskoy Entsiklopedii. p. 30.
- ↑ "Перелік міст, з якими Києвом підписані документи про поріднення, дружбу, співробітництво, партнерство" (PDF). kyivcity.gov.ua (ภาษายูเครน). Kyiv. 2018-02-15. สืบค้นเมื่อ 2020-10-11.
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Brutzkus, J. "The Khazar Origin of Ancient Kiev". Slavonic and East European Review. American Series, vol. 3, no. 1, 1944, pp. 108–124. JSTOR. Accessed 16 June 2020.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Київська міська державна адміністрація – official web portal of the Kyiv City State Administration (ในภาษายูเครน)
- Kyiv—Official Tourist Guide