มาเก๊า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

พิกัดภูมิศาสตร์: 22°10′N 113°33′E / 22.167°N 113.550°E / 22.167; 113.550

เขตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน

中華人民共和國澳門特別行政區 (จีน)
Região Administrativa Especial de Macau da República Popular da China (โปรตุเกส)
ที่ตั้งของมาเก๊า (น้ำตาล) ทางตอนใต้ของจีน (สีเนื้อ)
ที่ตั้งของมาเก๊า (น้ำตาล)
ทางตอนใต้ของจีน (สีเนื้อ)
แพริช
ต่อประชากรใหญ่สุด
Nossa Senhora de Fátima
ภาษาราชการ
ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน[a]
กลุ่มชาติพันธุ์
(2016)
88.4% จีนฮั่น
4.6% ฟิลิปปินส์
2.4% เวียดนาม
1.7% โปรตุเกส
2.8% อื่น ๆ[3]
การปกครองเขตบริหารพิเศษของจีน
• หัวหน้าฝ่ายบริหาร
เฮ่อ อีเฉิง
สภานิติบัญญัติสภานิติบัญญัติ
ก่อตั้ง
• โปรตุเกสตั้งอาณานิคม
1 ธันวาคม พ.ศ. 2430 (ค.ศ. 1887)
• ส่งมอบอำนาจอธิปไตยจากสาธารณรัฐโปรตุเกสไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีน
20 ธันวาคม พ.ศ. 2542
พื้นที่
• รวม
115.3 ตารางกิโลเมตร (44.5 ตารางไมล์)
73.7
ประชากร
• 2021 ประมาณ
682,300
21,340 ต่อตารางกิโลเมตร (55,270.3 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 1)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) ค.ศ. 2020 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 40 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 115)
ลดลง 58,931 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 9)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2020[4] (ประมาณ)
• รวม
ลดลง 26 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 100)
ลดลง 38,769 ดอลลาร์สหรัฐ[4] (อันดับที่ 23)
จีนี (2013)35[5]
ปานกลาง
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.922[c]
สูงมาก · อันดับที่ 17
สกุลเงินปาตากามาเก๊า (MOP)
เขตเวลาUTC+8
ขับรถด้านซ้ายมือ
รหัสโทรศัพท์+853
โดเมนบนสุด.mo
มาเก๊า
ชื่อภาษาจีน
อักษรจีนตัวเต็ม澳門
อักษรจีนตัวย่อ澳门
ความหมายตามตัวอักษรBay Gate
Macau Special Administrative Region
อักษรจีนตัวเต็ม澳門特別行政區 (or 澳門特區)
อักษรจีนตัวย่อ澳门特别行政区 (or 澳门特区)
ชื่อโปรตุเกส
โปรตุเกสRegião Administrativa Especial de Macau
[ʁɨʒiˈɐ̃w ɐdminiʃtɾɐˈtivɐ (ɨ)ʃpɨsiˈal dɨ mɐˈkaw]
มาเก๊า

มาเก๊า[7][d] หรือ เอ้าเหมิน[7] มีชื่อทางการว่า เขตบริหารพิเศษมาเก๊าแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน[e] เป็นพื้นที่บนชายฝั่งทางใต้ของประเทศจีน ปกครองโดยประเทศโปรตุเกสก่อนพ.ศ. 2542 เป็นอาณานิคมของยุโรปที่เก่าแก่ที่สุดในจีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ต่อมาภายหลังอำนาจอธิปไตยเหนือมาเก๊าจึงได้ย้ายกลับไปยังสาธารณรัฐประชาชนจีนเมื่อพ.ศ. 2542 กลายเป็นเขตปกครองพิเศษของจีน โดยมีฐานะเป็น เขตบริหารพิเศษภายใต้หลักการ “หนึ่งประเทศสองระบบ” เป็นเวลา 50 ปี จากวันที่ 19 ธันวาคม 2542 จนถึงวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2592

มาเก๊าได้มีบทบาทที่มีอิทธิพลต่อจีนและตะวันตกโดยเฉพาะระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 และ คริสต์ศตวรรษที่ 19 ผู้ที่อาศัยอยู่ในมาเก๊าส่วนใหญ่พูดภาษากวางตุ้งเป็นภาษาแม่ ภาษาจีนกลาง ภาษาโปรตุเกส และภาษาอังกฤษก็มีพูดด้วย ชาวมาเก๊า (Macanese) มีความหมายโดยกว้าง ๆ คือผู้ที่พำนักอาศัยถาวรอยู่ในมาเก๊า ส่วนในวงแคบ หมายถึง ชนพื้นเมืองในมาเก๊าที่สืบทอดมาจากชาวโปรตุเกส มักจะผสมกับชาวจีนและบรรพบุรุษชาติอื่น ๆ นอกจากสิ่งที่เหลือจากประวัติศาสตร์ยุคอาณานิคมแล้ว

มาเก๊าประกอบไปด้วยส่วนที่ติดกับแผ่นดินใหญ่ เรียกว่าคาบสมุทรมาเก๊า และส่วนที่เป็นเกาะ ได้แก่ ไตปา, โกไต และโกโลอานี

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การแบ่งเขตการปกครองของมาเก๊า
มาเก๊าแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 8 เขต (Parishes)

ประชากร[แก้]

เชื้อชาติ
ส่วนใหญ่เป็นชาวจีนเชื้อสายโปรตุเกส 95% ที่เหลือเป็นชาวโปรตุเกส ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย และไทย

ศาสนา[แก้]

ศาสนาพุทธ 50% ศาสนาคริสต์ 15% ไม่นับถือและอื่น ๆ35%

สถานที่ท่องเที่ยว[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 ไม่มีการระบุสำเนียงทางการในดินแดนนี้ ประชากรส่วนใหญ่พูดภาษากวางตุ้งมาตรฐาน ซึ่งเป็นภาษามาตรฐานของภูมิภาค โดยพฤตินัย
  2. 2.0 2.1 ในระดับรัฐบาล เอกสารทั้งหมดเขียนด้วยอักษรจีนตัวเต็ม ภาษาโปรตุเกสได้รับสถานะเดียวกันกับอักษรนี้
  3. ทางสหประชาชาติไม่ได้คำนวณเอชดีไอของมาเก๊า เพราะรัฐบาลมาเก๊ามีระบบคำนวณของตนเอง[6]
  4. อังกฤษ: Macau, Macao ภาษาอังกฤษ: /məˈk/ ( ฟังเสียง); ภาษาโปรตุเกส: [mɐˈkaw] หรือ จีน: 澳門; พินอิน: Àomén, เอ้าเหมิน; 馬交 ก็เรียก; ภาษากวางตุ้ง: [ōu.mǔːn], โอวหมุน, Ou3 mun2
  5. อังกฤษ: Macao Special Administrative Region of the People's Republic of China (MSAR); จีน: 中華人民共和國澳門特別行政區; เยลกวางตุ้ง: Oumún Dahkbiht Hàhngjingkēui; โปรตุเกส: Região Administrativa Especial de Macau da República Popular da China (RAEM)

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Macau. The World Factbook. Central Intelligence Agency.
  2. 2.0 2.1 Basic Law Chapter I Article 9.
  3. Population By-Census 2016, p. 6.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 "World Economic Outlook Database, October 2020". IMF.org. International Monetary Fund. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 September 2020. สืบค้นเมื่อ 13 October 2020.
  5. "The World Factbook". CIA.gov. Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 19 October 2019.
  6. Macao in Figures 2021, p. 4.
  7. 7.0 7.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.

ข้อมูล[แก้]

รายงานรัฐบาล[แก้]

สิ่งพิมพ์ทางวิชาการ[แก้]

นิติบัญญัติ[แก้]

สิ่งตีพิมพ์[แก้]

บทความข่าว[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

รัฐบาล
การค้า
แผนที่