ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคเพื่อไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล พรรคการเมือง
{{กล่องข้อมูล พรรคขี้โกง
|name = พรรคเพื่อไทย
|name = พรรคเพื่อจํานําข้าฝ
|logo = [[ไฟล์:PTP Logo.png|200px]]
|logo = [[ไฟล์:PTP Logo.png|200px]]
|flag =
|flag =
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
|youth_wing = สถาบันเยาวชนเพื่อไทย
|youth_wing = สถาบันเยาวชนเพื่อไทย
|membership_year = 2562
|membership_year = 2562
|membership
|membership = 21,262 คน<ref>[https://www.ect.go.th/ect_th/download/article/article_20190318074234.pdf ข้อมูลพรรคการเมืองที่ยังดำเนินการอยู่ ณ วันที่ 13 มีนาคม 2562]</ref>
|international = ''ไม่มี''
|colors = {{Color box|{{Pheu Thai Party/meta/color}}|border=darkgray}}{{Color box|#FFFFFF|border=darkgray}}{{Color box|#00008B|border=darkgray}} แดง, ขาว, น้ำเงิน
| ideology = [[ประชานิยม]]<ref>https://www.aljazeera.com/indepth/spotlight/thaielection/2011/07/201171925890758.html</ref><br>[[เสรีนิยมทางเศรษฐกิจ]]<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/D/018/T_0306.PDF หน้าที่ 4 หมวดที่ 2 อุดมการณ์ทางการเมือง</ref>
|seats1_title = [[สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 25|สภาผู้แทนราษฎร]]
|seats1 = {{Composition bar|136|500|hex=#ff0000}}
|website = http://www.ptp.or.th
|country = ไทย
}}{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2548-2554}}
{{วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย พ.ศ. 2556-2557}}
'''พรรคเพื่อไทย''' ([[อักษรย่อ|ย่อ]]: พท.) จดทะเบียนจัดตั้ง เมื่อวันที่ [[20 กันยายน]] [[พ.ศ. 2551]] โดยมี [[บัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ|นายบัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ]] เป็นหัวหน้าพรรคคนแรก และ [[โอฬาร กิจเลิศไพโรจน์|นายโอฬาร กิจเลิศไพโรจน์]] เป็นเลขาธิการพรรคคนแรก

สำนักงานใหญ่ของพรรค ตั้งอยู่ที่ 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ [[เขตห้วยขวาง]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[รหัสไปรษณีย์]] 10310 ซึ่งเป็นที่ทำการเดิมของ[[พรรคไทยรักไทย]] และ[[พรรคพลังประชาชน (พ.ศ. 2541)|พรรคพลังประชาชน]] (ย้ายมาจากอาคารนวสร [[ถนนพระรามที่ 3]] แขวงบางคอแหลม [[เขตบางคอแหลม]] [[กรุงเทพมหานคร]] และ 626 อาคาร บีบีดี บิลดิง ซอยจินดาถวิล [[ถนนพระรามที่ 4]] [[แขวงมหาพฤฒาราม]] [[เขตบางรัก]] กรุงเทพมหานคร 10500) และสำนักงานสาขาพรรคแห่งแรก ตั้งอยู่ที่[[จังหวัดพิจิตร]] ซึ่งเป็นสาขา[[พรรคพลังประชาชน]]เดิม<ref>[http://talk.mthai.com/topic/20966 พปช.สาขาพิจิตร เปลี่ยนเป็น พรรคเพื่อไทย แล้ว] จากหน้าข่าว[[เอ็มไทยดอตคอม]]</ref>


== บทบาทในรัฐสภา ==
== บทบาทในรัฐสภา ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:52, 15 มิถุนายน 2562

{{กล่องข้อมูล พรรคขี้โกง |name = พรรคเพื่อจํานําข้าฝ |logo = ไฟล์:PTP Logo.png |flag = |colorcode = #ff0000 |leader = พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ |เลขาธิการ = ภูมิธรรม เวชยชัย |founded = 20 กันยายน พ.ศ. 2551 (15 ปี) |predecessor = พรรคพลังประชาชน | slogan = เพื่อไทย หัวใจ คือ ประชาชน |สำนักงานใหญ่ = 1770 อาคารไอเอฟซีที ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 |youth_wing = สถาบันเยาวชนเพื่อไทย |membership_year = 2562 |membership

บทบาทในรัฐสภา

การสนับสนุน พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก เป็นนายกรัฐมนตรี

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 นายประชา ประสพดี ส.ส.สมุทรปราการ พรรคเพื่อไทย เปิดเผยว่าผู้ที่ ส.ส. หารือกันว่าผู้ที่มีโอกาสเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ประกอบด้วย นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ ส.ส.สัดส่วน ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รักษาการ รมว.สาธารณสุข และ นายสันติ พร้อมพัฒน์ รักษาการ รมว.คมนาคม โดยผู้มาเป็นนายกรัฐมนตรีต้องพลิกฟื้นความเชื่อมั่นและสร้างความสามัคคีให้คืนมา[1] แต่ต่อมาที่ประชุมพรรคเพื่อไทย ได้มีมติสนับสนุนแนวคิดของนายเสนาะ เทียนทอง หัวหน้าพรรคประชาราชที่เสนอให้ทุกพรรคการเมืองร่วมกันจัดตั้งรัฐบาลเพื่อชาติ มีนายกรัฐมนตรีจากพรรคการเมืองขนาดเล็ก ที่ไม่ได้มาจากพรรคเพื่อไทย และพรรคประชาธิปัตย์ [2] โดยพรรคเพื่อไทยจะเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ซึ่ง พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก ว่าที่หัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน ตอบรับที่จะให้เสนอชื่อเป็นนายกรัฐมนตรี[3]

การประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อลงมติเลือกนายกรัฐมนตรี ทั้งนี้ที่ประชุมได้เสนอรายชื่อบุคคลที่เหมาะสม เพื่อให้สมาชิกลงมติเลือก จำนวน 2 คน โดย นายบัญญัติ บรรทัดฐาน ส.ส.สัดส่วน พรรคประชาธิปัตย์ เสนอชื่อ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 6 หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ และ นายเสนาะ เทียนทอง ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 5 และหัวหน้าพรรคประชาราช เสนอชื่อ พลตำรวจเอก ประชา พรหมนอก ส.ส.สัดส่วน กลุ่มจังหวัดที่ 3 ว่าที่หัวหน้าพรรคเพื่อแผ่นดิน เป็นนายกรัฐมนตรี โดยนายอภิสิทธิ์ได้รับเลือกด้วยคะแนนเสียง 235 เสียง ขณะที่ พล.ต.อ.ประชา ได้รับคะแนน 198 เสียง และ งดออกเสียง 3 เสียง โดย พล.ต.อ.ประชา ลงมติสนับสนุนตัวเองเป็นนายกรัฐมนตรี เช่นเดียวกับ พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร หัวหน้าพรรครวมใจไทยชาติพัฒนา ลงมติสวนมติพรรคสนับสนุน พล.ต.อ.ประชา ขณะที่ นายอภิสิทธิ์ งดออกเสียง ภายหลังการลงมติ พล.ต.อ.ประชา เดินเข้ามาจับมือนายอภิสิทธิ์แสดงความยินดีด้วย[4]

การอภิปรายไม่ไว้วางใจ ครม.อภิสิทธิ์

พรรคเพื่อไทยมีมติยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี พร้อมกันนี้ยังมีมติเสนอชื่อ ร.ต.อ.ดร.เฉลิม อยู่บำรุง ประธาน ส.ส.พรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรีแทน[5] โดยรัฐมนตรีที่ถูกยื่นญัตติอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐมนตรีและถอดถอน 5 คนคือ นายกษิต ภิรมย์ รมว.ต่างประเทศ นายกรณ์ จาติกวณิช รมว.คลัง นายประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ รมช.คลัง นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล รมว.มหาดไทย และนายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ รมช.มหาดไทย เพราะพบประเด็นการบริหารที่ผิดพลาดและทุจริตประพฤติมิชอบ [6]

บุคลากร

รายชื่อหัวหน้าพรรค

ลำดับ ชื่อ เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 บัณจงศักดิ์ วงศ์รัตนวรรณ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 20 กันยายน พ.ศ. 2551
2 ดร.สุชาติ ธาดาธำรงเวช 21 กันยายน พ.ศ. 2551 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
3 ยงยุทธ วิชัยดิษฐ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2551 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555
- พล.ต.ท.วิโรจน์ เปาอินทร์
(รักษาการ)
8 ตุลาคม พ.ศ. 2555 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555
4 จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555 16 มิถุนายน พ.ศ. 2557[7]
5 พล.ต.ท.วิโรจน์ เปาอินทร์ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561[8] ปัจจุบัน

รายชื่อเลขาธิการพรรค

ลำดับ รายนาม เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 โอฬาร กิจเลิศไพโรจน์ 20 กันยายน พ.ศ. 2550 20 กันยายน พ.ศ. 2551
2 สุณีย์ เหลืองวิจิตร 21 กันยายน พ.ศ. 2551 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551
7 ธันวาคม พ.ศ. 2551 14 กันยายน พ.ศ. 2553
3 สุพล ฟองงาม 15 กันยายน พ.ศ. 2553 20 เมษายน พ.ศ. 2554
4 จารุพงศ์ เรืองสุวรรณ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555
5 ภูมิธรรม เวชยชัย 28 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ปัจจุบัน

การเลือกตั้ง

การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

เมื่อปี พ.ศ. 2552 พรรคเพื่อไทยมีมติส่งยุรนันท์ ภมรมนตรี ลงสมัครชิงตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร โดยในการเลือกตั้ง ยุรนันท์ได้รับหมายเลข 10[9][10] สำหรับผลการเลือกตั้ง ยุรนันท์ได้รับ 611,669 คะแนน เป็นอันดับที่ 2[11]

และในปี พ.ศ. 2556 พรรคเพื่อไทยมีมติส่ง พลตำรวจเอก ดร.พงศพัศ พงษ์เจริญ ลงสมัครชิงตำแหน่ง โดยในการเลือกตั้ง พลตำรวจเอก ดร.พงศพัศได้รับหมายเลข 9 สำหรับผลการเลือกตั้ง พลตำรวจเอก ดร.พงศพัศได้รับ 1,077,899 คะแนน เป็นอันดับที่ 2

การเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่าง พ.ศ. 2552

นายอภิชาต สุขัคคานนท์ ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง เปิดเผยผลการเลือกตั้งซ่อมสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอย่างไม่เป็นทางการ 29 คน ใน 22 จังหวัด 26 เขตเลือกตั้ง พบว่าพรรคร่วมรัฐบาลสามารถกวาดที่นั่ง ส.ส.ได้เพิ่มอีก 20 เขต ขณะที่พรรคฝ่ายค้านได้ไปเพียง 9 เขต ทั้งนี้ ผู้สมัครจากพรรคประชาธิปัตย์ได้รับเลือก 7 คน, พรรคชาติไทยพัฒนาได้รับเลือก 10 คน, พรรคเพื่อไทยได้รับเลือก 5 คน, พรรคประชาราชได้รับเลือก 4 คน และพรรคเพื่อแผ่นดินได้รับเลือก 3 คน[12]

ส.ส.ของพรรคที่ได้รับการเลือกตั้ง

ลำดับ รายนาม เขตเลือกตั้ง คะแนน
1 ปิยะรัช หมื่นแสน จังหวัดร้อยเอ็ด เขต 2 116,241 คะแนน
2 สุริยา พรหมดี จังหวัดนครพนม เขต 1 48,083 คะแนน
3 ขจิตร ชัยนิคม จังหวัดมหาสารคาม เขต 1 83,251 คะแนน
4 เกียรติอุดม เมนะสวัสดิ์ จังหวัดอุดรธานี เขต 2 86,763 คะแนน
5 สมโภช สายเทพ จังหวัดลำปาง เขต 1 109,546 คะแนน

การเลือกตั้งซ่อมที่จังหวัดสกลนครและศรีสะเกษ

จังหวัดสกลนคร

นางอนุรักษ์ บุญศล พรรคเพื่อไทย ได้ 103,277 คะแนน เอาชนะนายพิทักษ์ จันทรศรี พรรคภูมิใจไทย ได้ 47,300 คะแนน

จังหวัดศรีสะเกษ

นายสุรชาติ ชาญประดิษฐ์ พรรคเพื่อไทย ได้ 124,327 คะแนน เอาชนะนางสกุลทิพย์ อังคสกุลเกียรติ พรรคชาติไทยพัฒนา ได้ 76,435 คะแนน

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยทั่วไป

พรรคเพื่อไทยที่นำโดยนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ชนะการเลือกตั้ง สามารถกวาดที่นั่ง ส.ส. 265 คน ทิ้งห่างพรรคประชาธิปัตย์ที่นำโดยนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ไปกว่า 100 คน พร้อมกับคว้าคะแนนเสียงเกินครึ่งหนึ่งและสามารถเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาลได้สำเร็จ

ผลการเลือกตั้งทั่วไป

การเลือกตั้ง จำนวนที่นั่ง คะแนนเสียงทั้งหมด สัดส่วนคะแนนเสียง ผลการเลือกตั้ง ผู้นำเลือกตั้ง
2554
265 / 500
15,752,470 48.41% แกนนำจัดตั้งรัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
2557 การเลือกตั้งเป็นโมฆะ
2562
136 / 500
7,881,006 22.16% ฝ่ายค้าน คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. เฉลิม-มิ่งขวัญ ชิงนายกฯใหม่ เพื่อนเนวิน ถกหานายกฯวันนี้
  2. เพื่อไทยพลิกเกมสู้ตั้ง"เสนาะ" ดึง 5 พรรคชู"รบ.เพื่อชาติ" เสนอภารกิจ1ปียุบสภา คุยมี ส.ส.244เสียง
  3. พ.อ.อภิวันท์ เผย พล.ต.อ.ประชา ตอบรับเป็นนายกรัฐมนตรี
  4. ด่วน !! "อภิสิทธิ์" ได้รับโหวตนั่งเก้าอี้นายกรัฐมนตรี คนที่ 27
  5. พรรคเพื่อไทยมีมติส่งเฉลิมชิงเก้าอี้นายกฯ เดินยื่นญัตติไม่ไว้วางใจ
  6. เพื่อไทยมีมติยื่นอภิปรายไม่ไว้วางใจ5รมต.
  7. http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9570000071601
  8. นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ หัวหน้าพรรคเพื่อไทย ลาออกจากตำแหน่ง, พรรคเพื่อไทย 20 มิถุนายน 2557
  9. ยุรนันท์ สมัครชิงผู้ว่าฯ กทม.ในนามพรรคเพื่อไทย ได้เบอร์ 10
  10. เพื่อไทยส่ง ยุรนันท์ ลุยศึกชิงผู้ว่าฯ กทม.
  11. ซิวเก้าอี้-ผู้ว่าฯกทม. "สุขุมพันธุ์" ชนะขาด"แซม-ปลื้ม"!
  12. ผลการเลือกตั้งซ่อม ส.ส. อย่างไม่เป็นทางการ

แหล่งข้อมูลอื่น