ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taewonder (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 16: บรรทัด 16:


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
วันที่ [[23 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2518]] [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ได้เริ่มเปิดอาคารชั่วคราวเพื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์และ ให้บริการประชาชน โดยใช้อาคารโรงพยาบาลโรคเรื้อนเดิมบริเวณสีฐาน ซึ่งเป็นอาคารไม้ชั้นเดียว เรียกว่า "โรงพยาบาลฮัท" (Hut Hospital) ต่อมาโรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้กำเนิดขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่าง รัฐบาลไทยและรัฐบาลนิวซีแลนด์เพื่อให้ประชาชนในภาคตะวันออก เฉียงเหนือซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทยได้รับ บริการจากสถานพยาบาลในระดับมหาวิทยาลัย และเพิ่มศักยภาพในการ ผลิตแพทย์และบุคลากรด้านสาธารณสุขทุกประเภท ให้มีความรู้ ความชำนาญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ ณ อาคารโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ เมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2519]] และมีพระบรมราชโองการพระราชทานนามว่า "โรงพยาบาลศรีนครินทร์" ตามพระนามของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี การก่อสร้างอาคาร ตรวจรักษาและอาคารบริการของโรงพยาบาลได้แล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2525]] จึงได้ย้ายหน่วยงานทั้งหมดมาที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดโรงพยาบาลศรีนครินทร์ เมื่อวันที่ [[15 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2526]] ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนีมีพระชนมายุ [[89]] พรรษา ได้มีการก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมเพื่อใช้เป็นตึกผ่าตัดหลังใหม่มีห้องผ่าตัดเพิ่มขึ้นอีก 9 ห้อง เพื่อให้การบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่มารับการผ่าตัดได้เพิ่มขึ้น ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จมาทรงวางศิลาฤกษ์และพระราชทานนามว่า "อาคาร[[ 89]] พรรษาสมเด็จย่า" เมื่อวันที่ [[21 ธันวาคม]][[พ.ศ. 2532]] และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมารเสด็จแทนพระองค์มาทรงเปิดอาคาร เมื่อวันที่ [[24 มกราคม]] [[พ.ศ. 2537]]
วันที่ [[23 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2518]] [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น]] ได้เริ่มเปิดอาคารชั่วคราวเพื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์และ ให้บริการประชาชน โดยใช้อาคารโรงพยาบาลโรคเรื้อนเดิมบริเวณสีฐาน ซึ่งเป็นอาคารไม้ชั้นเดียว เรียกว่า "โรงพยาบาลฮัท" (Hut Hospital)
ต่อมาโรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้กำเนิดขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่าง รัฐบาลไทยและรัฐบาลนิวซีแลนด์เพื่อให้ประชาชนในภาคตะวันออก เฉียงเหนือซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทยได้รับ บริการจากสถานพยาบาลในระดับมหาวิทยาลัย และเพิ่มศักยภาพในการ ผลิตแพทย์และบุคลากรด้านสาธารณสุขทุกประเภท ให้มีความรู้ ความชำนาญ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ ณ อาคารโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ เมื่อวันที่ [[19 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2519]] และมีพระบรมราชโองการพระราชทานนามว่า "โรงพยาบาลศรีนครินทร์" ตามพระนามของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
การก่อสร้างอาคาร ตรวจรักษาและอาคารบริการของโรงพยาบาลได้แล้วเสร็จในปี [[พ.ศ. 2525]] จึงได้ย้ายหน่วยงานทั้งหมดมาที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดโรงพยาบาลศรีนครินทร์
เมื่อวันที่ [[15 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2526]] ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนีมีพระชนมายุ [[89]] พรรษา ได้มีการก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมเพื่อใช้เป็นตึกผ่าตัดหลังใหม่มีห้องผ่าตัดเพิ่มขึ้นอีก 9 ห้อง เพื่อให้การบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่มารับการผ่าตัดได้เพิ่มขึ้น ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จมาทรงวางศิลาฤกษ์และพระราชทานนามว่า "อาคาร[[ 89]] พรรษาสมเด็จย่า" เมื่อวันที่ [[21 ธันวาคม]][[พ.ศ. 2532]] และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมารเสด็จแทนพระองค์มาทรงเปิดอาคาร เมื่อวันที่ [[24 มกราคม]] [[พ.ศ. 2537]]



<br />


== หน่วยงานภายใน ==
== หน่วยงานภายใน ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:36, 25 กันยายน 2562

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ เป็นโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

โรงพยาบาลศรีนครินทร์
Srinagarind Hospital
ไฟล์:Medicine KKU Thai Emblem.png
แผนที่
ประเภทโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ
ที่ตั้งถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
ข้อมูลทั่วไป
ก่อตั้ง23 มิถุนายน พ.ศ. 2518
สังกัดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้อำนวยการรศ.นพ.อภิชาติ จิระวุฒิพงศ์
จำนวนเตียง1,466 เตียง[1]
แพทย์510 คน
บุคลากร1,732 คน
เว็บไซต์srinagarind.md.kku.ac.th

ประวัติ

วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2518 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เริ่มเปิดอาคารชั่วคราวเพื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย์และ ให้บริการประชาชน โดยใช้อาคารโรงพยาบาลโรคเรื้อนเดิมบริเวณสีฐาน ซึ่งเป็นอาคารไม้ชั้นเดียว เรียกว่า "โรงพยาบาลฮัท" (Hut Hospital)

ต่อมาโรงพยาบาลศรีนครินทร์ได้กำเนิดขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่าง รัฐบาลไทยและรัฐบาลนิวซีแลนด์เพื่อให้ประชาชนในภาคตะวันออก เฉียงเหนือซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทยได้รับ บริการจากสถานพยาบาลในระดับมหาวิทยาลัย และเพิ่มศักยภาพในการ ผลิตแพทย์และบุคลากรด้านสาธารณสุขทุกประเภท ให้มีความรู้ ความชำนาญ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงวางศิลาฤกษ์ ณ อาคารโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 และมีพระบรมราชโองการพระราชทานนามว่า "โรงพยาบาลศรีนครินทร์" ตามพระนามของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

การก่อสร้างอาคาร ตรวจรักษาและอาคารบริการของโรงพยาบาลได้แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2525 จึงได้ย้ายหน่วยงานทั้งหมดมาที่โรงพยาบาลศรีนครินทร์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดโรงพยาบาลศรีนครินทร์

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2526 ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนีมีพระชนมายุ 89 พรรษา ได้มีการก่อสร้างอาคารเพิ่มเติมเพื่อใช้เป็นตึกผ่าตัดหลังใหม่มีห้องผ่าตัดเพิ่มขึ้นอีก 9 ห้อง เพื่อให้การบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่มารับการผ่าตัดได้เพิ่มขึ้น ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จมาทรงวางศิลาฤกษ์และพระราชทานนามว่า "อาคาร89 พรรษาสมเด็จย่า" เมื่อวันที่ 21 ธันวาคมพ.ศ. 2532 และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมารเสด็จแทนพระองค์มาทรงเปิดอาคาร เมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2537



หน่วยงานภายใน

  • งานเลขานุการโรงพยาบาล
  • งานเภสัชกรรม
  • งานเวชระเบียน
  • งานห้องปฏิบัติการเวชศาสตร์ชันสูตร
  • งานสังคมสงเคราะห์
  • งานโภชนาการ
  • งานแม่บ้าน
  • งานจ่ายกลาง
  • งานเวชกรรมสังคม
  • งานทันตกรรม
  • งานพัฒนาคุณภาพ รพ.
  • งานบริการพยาบาล

ศูนย์บริการเฉพาะด้าน

  • ศูนย์เลสิค
  • ศูนย์บริการโรคไต
  • ศูนย์ตรวจสุขภาพเคลื่อนที่
  • ศูนย์จักษุ
  • ศูนย์ส่องกล้องและผ่าตัดด้วยกล้อง
  • ศูนย์ตติยภูมิโรคมะเร็ง
  • ศูนย์แม่ข่ายระบบทางเดินหายใจ
  • ศูนย์รักษ์ปทุม

อ้างอิง