ข้ามไปเนื้อหา

สถานีย่อย:ภูมิศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
Geography
โครงการสถานีย่อยบทความที่ต้องการการเข้าชมหน้า
ภูมิศาสตร์กายภาพภูมิศาสตร์มนุษย์สารสนเทศภูมิศาสตร์เทคโนโลยีภูมิศาสตร์‎ภูมิศาสตร์แบ่งตามทวีปภูมิศาสตร์แบ่งตามประเทศ

ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาใต้ทวีปยุโรปทวีปแอฟริกาทวีปเอเชียโอเชียเนียทวีปแอนตาร์กติกมหาสมุทรแอตแลนติกมหาสมุทรอินเดียมหาสมุทรอาร์กติกมหาสมุทรแปซิฟิกมหาสมุทรแปซิฟิก

ลองกดตำแหน่งต่าง ๆ บนแผนที่

แก้ไข   

ภูมิศาสตร์คืออะไร

ภูมิศาสตร์ คือศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับพื้นผิวโลกอาทิ ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ ผลิตผลและคน รวมทั้งการกระจายของสิ่งต่าง ๆ ความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับมนุษย์ สิ่งแวดล้อมกับมนุษย์ หรือก็คือศึกษาปรากฏการณ์ทางกายภาพและมนุษย์ ที่เกิดขึ้น ณ บริเวณที่ทำการศึกษา รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมที่อยู่บริเวณโดยรอบเช่น พื้นดิน พื้นน้ำ อากาศรวมทั้งใต้ดินหรือทุก ๆ สิ่งที่อยู่ล้อมรอบตัวเราทั้งหมดทั้งสามมิติเรียกง่าย ๆ ได้ว่าพื้นที่

คำว่าภูมิศาสตร์ในภาษาอังกฤษมาจากคำว่า Geo + Graphein ซึ่งแปลว่าการบรรยายเกี่ยวกับโลก

หลายๆคนอาจสงสัยว่าภูมิศาสตร์เรียนรู้แล้วจะนำไปใช้อะไรได้บ้าง หรือบางคนอาจพูดว่าทำไมต้องเรียนด้วย จริง ๆ แล้วความคิดนี้เป็นความคิดที่ผิดเนื่องจากการศึกษาเรียนรู้วิชาภูมิศาสตร์นั้นจะช่วยให้เรารู้เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตัวเราซึ่งจะทำให้เราสามารถปรับตัวให้อยู่กับปรากฏการณ์นั้น ๆ ได้

แก้ไข   

บทความแนะนำ

พืดน้ำแข็ง (อังกฤษ: Ice sheet) หรือเรียกอีกอย่างว่าธารน้ำแข็งภาคพื้นทวีป (อังกฤษ: continental glacier) เป็นมวลของธารน้ำแข็งที่ปกคลุมภูมิประเทศโดยรอบและมีขนาดมากกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตร ปัจจุบันพืดน้ำแข็งสามารถพบได้เพียงในกรีนแลนด์และแอนตาร์กติกา ช่วงยุคน้ำแข็งยุคสุดท้ายในยุคน้ำแข็งใหญ่สุดครั้งสุดท้าย พืดน้ำแข็งลอเรนไทด์ได้ปกคลุมพื้นที่จำนวนมากของทวีปอเมริกาเหนือ พืดน้ำแข็งไวช์เซเลียนปกคลุมทางเหนือของทวีปยุโรป และ พืดน้ำแข็งปาตาโกเนียปกคลุมทางใต้ของทวีปอเมริกาใต้ พืดน้ำแข็งนั้นมีขนาดใหญ่กว่าหิ้งน้ำแข็งและธารน้ำแข็งแบบแอลป์ มวลของน้ำแข็งที่ปกคลุมพื้นที่น้อยกว่า 50,000 ตารางกิโลเมตรเรียกว่าครอบน้ำแข็ง

ถึงแม้ว่าผิวหน้าของพืดน้ำแข็งจะหนาวและเย็นแต่บริเวณฐานจะอุ่นเนื่องจากความร้อนใต้พิภพ ในสถานที่ ๆ ทำให้น้ำแข็งด้านล่างละลายจากนั้นก็จะค่อย ๆ พาน้ำแข็งไหลไปเร็วกว่าบริเวณอื่นจะเรียกว่าภูมิภาคน้ำแข็งไหล (Ice stream)

ปัจจุบันพืดน้ำแข็งบริเวณขั่วโลกนั้นยังถือว่ามีอายุน้อยมาก พืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกก่อตัวขึ้นครั้งแรกจากทุ่งน้ำแข็งขนาดเล็กในช่วงต้นสมันโอลิโกซีนจากนั้นก็เพิ่มขนาดและลดลงหลายครั้งจนถึงสมัยพลิโอซีนพืดน้ำแข็งก็คลอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของแอนตาร์กติกา พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์นั้นไม่ได้ขยายตัวเลยจนถึงปลายสมัยพลิโอซีนแต่หลังจากนั้นก็พัฒนาตัวอย่างรวดเร็วในช่วงที่ธารน้ำแข็งปกคลุมทวีป ทำให้พืดน้ำแข็งกรีนแลนด์ที่เกิดแบบรวดเร็วและเฉียบผลันสามารถเก็บรักษาซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่งอกบนเกาะได้ดีกว่าพืดน้ำแข็งแอนตาร์กติกที่ค่อย ๆ ก่อตัวอย่างช้า ๆ อ่านต่อ...

บทความแนะนำทั้งหมด

แก้ไข   

ภาพแนะนำ

ภาพถ่ายทางอากาศของมาเล
ภาพถ่ายทางอากาศของมาเล
ภาพถ่ายทางอากาศของมาเล เมืองหลวงของประเทศมัลดีฟส์
ภาพแนะนำทั้งหมด

แก้ไข   

รู้ไหมว่า

ไฟที่ลุกไหม่อยู่ในหลุมแก๊สดาร์วาซานั้น ถูกจุดมาตั้งแต่ พ.ศ. 2514
บทความรู้ไหมว่าทั้งหมด

แก้ไข   

แนะนำเครืองมือ

แผนที่โลก คือแผนที่แสดงพื้นที่ส่วนใหญ่หรือพื้นที่ทั้งหมดของโลก การครอบคลุมพื้นที่ขนาดใหญ่ทำให้มีปัญหาเรื่องเส้นโครงแผนที่ แผนที่โลกเป็นการแปลงผิวโลกที่มีลักษณะเป็นสามมิติมาทำเป็นภาพในระนาบราบ (ภาพสองมิติ) การทำแผนที่โลกมีเทคนิคมากมายที่พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองและนำเสนอแผนที่ให้มีความสมจริง สวยงาม และตอบสนองความต้องการ อ่านต่อ...

แนะนำเครืองมือทั้งหมด

แก้ไข   

เดือนนี้ในอดีต

Amundsen's party at the South Pole, December 1911

เดือนนี้ในอดีตทั้งหมด
แก้ไข   

หมวดหมู่

แก้ไข   

ประเทศตามภูมิภาค

ประเทศคือการแบ่งเขตการปกครองทางในภูมิศาสตร์การเมืองโดยในปัจจุบันนี้มีประเทศบนโลกทั้งหมด 196 ประเทศโดยอยู่ในทวีปเอเชีย 48 ประเทศ ทวีปแอฟริกา 54 ประเทศ ทวีปอเมริกาเหนือ 22 ประเทศ ทวีปอเมริกาใต้ 13 ประเทศ ทวีปยุโรป 45 ประเทศ และโอเชียเนีย 14 ประเทศ ประเทศที่ยังไม่ได้รับการยอมรับ 8 ประเทศ และมีดินแดน 79 ดินแดน

โดยมีประเทศแบ่งเป็นภูมิภาคต่างๆดังนี้

แอฟริกาเหนือ/แอฟริกากลาง/แอฟริกาตะวันออก แอฟริกาตะวันตก/แอฟริกาใต้ ยุโรปตะวันตก/ยุโรปเหนือ/สแกนดิเนเวีย ยุโรปตะวันออก/ยุโรปใต้


เอเชียตะวันตก/เอเชียกลาง เอเชียตะวันออก/เอเชียใต้/ตะวันออกเฉียงใต้ ทวีปอเมริกาเหนือ/อเมริกากลาง/แคริเบียน ทวีปอเมริกาใต้/โอเชียเนีย
เมืองหลวง/เมืองสำคัญ แผนที่/ทิศทาง ภูเขา/แม่น้ำ/ทะเล/มหาสมุทร อื่น ๆ
แก้ไข   

ทวีป

ทวีป หมายถึง แผ่นดินขนาดใหญ่ที่เชื่อมต่อกันบนพื้นโลก การแบ่งทวีปในโลกไม่มีมาตรฐานที่แน่นอน โดยทั่วไปทวีป ต้องเป็นพื้นกว้างใหญ่ ไม่รวมพื้นที่ที่จมอยู่ใต้น้ำ และมีเขตแดนเด่นชัดในทางภูมิศาสตร์ โดย แบ่งออกเป็น 7 ทวีป คือ ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปยุโรป และ ทวีปโอเชียเนีย


ทวีปแอนตาร์กติกา

ทวีปแอฟโฟร-ยูเรเชีย

ทวีปอเมริกา

ทวีปออสเตรเลีย

ทวีปแอฟริกา

ทวีปยูเรเชีย

ทวีปอเมริกาเหนือ

โอเชียเนีย

ทวีปยุโรป

ทวีปเอเชีย

ทวีปอเมริกาใต้
มหาทวีป
กอนด์วานา • ลอเรเชีย • แพนเจีย • รอดิเนีย
แก้ไข   

ภูมิภาค

แก้ไข   

ช่วยเราได้

ลองกด ตรงนี้ เพื่อล้างเซิร์ฟเวอร์แคชของหน้านี้
(วันที่ 6 ธันวาคม เวลา 06:30)
ภูมิศาสตร์บนวิกิข่าว
ข่าว
ภูมิศาสตร์บนวิกิคำคม
คำคม สุภาษิต
ภูมิศาสตร์บนคอมมอนส์
รูปภาพ
ภูมิศาสตร์บนวิกิซอร์ซ
เอกสารต้นฉบับ
ภูมิศาสตร์บนวิกิตำรา
ตำราและคู่มือ
แก้ไข   

สถานีย่อยอื่น ๆ