ลาตินอเมริกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลาตินอเมริกา[a]
พื้นที่20,111,457 km2 (7,765,077 sq mi)[1]
ประชากร639,048,639 (ประมาณการ พ.ศ. 2560)[2][b]
ความหนาแน่น31/km2 (80/sq mi)
ศาสนา
เดมะนิมชาวลาตินอเมริกา
ประเทศ20[c]
ดินแดน14
ภาษาหลัก:
สเปน, โปรตุเกส
อื่น ๆ:
เกชัว, มายา, กวารานี, ไอมารา, นาวัตล์, ครีโอลเฮติ, ฝรั่งเศส, อิตาลี, เยอรมัน, อังกฤษ, ดัตช์, โปแลนด์, รัสเซีย, เวลส์, ยิดดิช, กรีก, จีน, ญี่ปุ่น, อื่น ๆ
เขตเวลาUTC−2 ถึง UTC−8
เมืองใหญ่(ปริมณฑล)[3][4]
1. เซาเปาลู
2. เม็กซิโกซิตี
3. บัวโนสไอเรส
4. รีโอเดจาเนโร
5. โบโกตา
6. ลิมา
7. ซานเตียโก
8. เบโลโอรีซอนชี
9. กวาดาลาฮารา
10. มอนเตร์เรย์
รหัส UN M49419 – Latin America
019 – Americas
001 – World

ลาตินอเมริกา[a] เป็นกลุ่มของประเทศและดินแดนในซีกโลกตะวันตกที่มีการพูดภาษากลุ่มโรมานซ์ (เช่น ภาษาสเปน, ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาโปรตุเกส) เป็นหลัก เป็นการจำแนกที่กว้างกว่ากลุ่มอื่น เช่น ฮิสแปนิกอเมริกาที่เฉพาะเจาะจงถึงประเทศที่พูดภาษาสเปน หรือไอบีโร-อเมริกาที่เฉพาะเจาะจงถึงประเทศที่พูดภาษาสเปนและโปรตุเกส

ศัพท์ "ลาตินอเมริกา" ใช้ครั้งแรกโดยฟรันซิสโก บิลบาโอ นักการเมืองชาวชิลี ในงานประชุม Iniciativa de la América. Idea de un Congreso Federal de las Repúblicas ใน ค.ศ. 1856[5] รัฐบาลของจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ในคริสต์ทศวรรษ 1860 ได้ทำให้ศัพท์นี้เป็นที่แพร่หลายโดยแปลเป็นภาษาฝรั่งเศสว่า Amérique latine เพื่อให้เหตุผลสนับสนุนการมีส่วนร่วมทางทหารของฝรั่งเศสในเม็กซิโก และเพื่อรวมดินแดนที่พูดภาษาฝรั่งเศสเข้าไปในกลุ่มประเทศที่พูดภาษาสเปนและโปรตุเกสเป็นหลัก[6]

ถ้ารวมประเทศที่พูดภาษาฝรั่งเศสด้วย ลาตินอเมริกาจะประกอบด้วย 20 ประเทศ และ 14 ดินแดนที่กินพื้นที่จากเม็กซิโกถึงติเอร์ราเดลฟูเอโก และส่วนใหญ่ของแคริบเบียน มีเนื้อที่ประมาณ 19,197,000 ตารางกิโลเมตร (7,412,000 ตารางไมล์)[1] คิดเป็นเกือบร้อยละ 13 ของพื้นผิวโลก ณ วันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 2020 มีประชากรในลาตินอเมริกากับแคริบเบียนประมาณมากกว่า 652 ล้านคน[7] และใน ค.ศ. 2019 ลาตินอเมริกามีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศรวมอยู่ที่ 5,188,250 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] และภาวะเสมอภาคของอำนาจซื้ออยู่ที่ 10,284,588 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[8][9]

ประชากร[แก้]

ประวัติประชากร
ปีประชากร±%
1750 16,000,000—    
1800 24,000,000+50.0%
1850 38,000,000+58.3%
1900 74,000,000+94.7%
1950 167,000,000+125.7%
1999 511,000,000+206.0%
2013 603,191,486+18.0%
Source: "UN report 2004 data" (PDF)

เมืองที่ใหญ่ที่สุด[แก้]

นี่คือรายชื่อเขตมหานครที่ใหญ่ที่สุดสิบเขตแรกในลาตินอเมริกา[3]

เมือง ประเทศ ประชากร ค.ศ. 2017 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ค.ศ. 2014 (ดอลลาร์สหรัฐ) ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ค.ศ. 2014 ต่อหัว (ดอลลาร์สหรัฐ)
เม็กซิโกซิตี เม็กซิโก เม็กซิโก 23,655,355 403,561 19,239
เซาเปาลู บราซิล บราซิล 23,467,354 430,510 20,650
บัวโนสไอเรส อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 15,564,354 315,885 23,606
รีโอเดจาเนโร บราซิล บราซิล 14,440,345 176,630 14,176
ลิมา เปรู เปรู 10,804,609 176,447 16,530
โบโกตา โคลอมเบีย โคลอมเบีย 9,900,800 199,150 19,497
ซานเตียโก ชิลี ชิลี 7,164,400 171,436 23,290
เบโลโอรีซอนชี บราซิล บราซิล 6,145,800 95,686 17,635
กวาดาลาฮารา เม็กซิโก เม็กซิโก 4,687,700 80,656 17,206
มอนเตร์เรย์ เม็กซิโก เม็กซิโก 4,344,200 122,896 28,290

วัฒนธรรม[แก้]

แหล่งมรดกโลก[แก้]

นี่คือรายชื่อประเทศที่มีแหล่งมรดกโลกมากที่สุดสิบประเทศแรกในลาตินอเมริกา[10]

ประเทศ ธรรมชาติ วัฒนธรรม ผสม รวม
เม็กซิโก เม็กซิโก 6 28 1 35
บราซิล บราซิล 7 14 0 21
เปรู เปรู 2 8 2 12
อาร์เจนตินา อาร์เจนตินา 5 6 0 11
โคลอมเบีย โคลอมเบีย 2 6 1 9
คิวบา คิวบา 2 7 0 9
โบลิเวีย โบลิเวีย 1 6 0 7
ชิลี ชิลี 0 6 0 6
เอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 2 3 0 5
ปานามา ปานามา 3 2 0 5

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 ในกลุ่มภาษาหลักในลาตินอเมริกา:
    • สเปน: América Latina หรือ Latinoamérica
    • โปรตุเกส: América Latina
  2. รวมประชากรโดยประมาณของประเทศในอเมริกาใต้กับอเมริกากลาง ยกเว้นเบลีซ, กายอานา, สหรัฐ และประเทศกับดินแดนแถบแคริบเบียนที่พูดภาษาสเปนและฝรั่งเศส
  3. ไม่รวมประเทศที่พูดภาษาอังกฤษและดัตช์เป็นหลัก เช่น เบลีซ, กายอานา, จาเมกา, ซูรินาม และตรินิแดดและโตเบโก

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "World Development Indicators: Rural environment and land use". World Development Indicators, The World Bank. World Bank. สืบค้นเมื่อ September 12, 2013.
  2. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  3. 3.0 3.1 "Global Metro Monitor 2014". Brookings Institution. สืบค้นเมื่อ January 22, 2015.
  4. Geography Department at Loughborough University, The World According to GaWC 2012, Table 4
  5. Bilbao, Francisco (June 22, 1856). "Iniciativa de la América. Idea de un Congreso Federal de las Repúblicas" (ภาษาสเปน). París. สืบค้นเมื่อ July 16, 2017 – โดยทาง Proyecto Filosofía en español.
  6. John A. Britton (2013). Cables, Crises, and the Press: The Geopolitics of the New Information System in the Americas, 1866–1903. pp. 16–18. ISBN 9780826353986.
  7. "Population of Latin America and the Caribbean (2020) – Worldometer". worldometers.info. สืบค้นเมื่อ March 3, 2020.
  8. 8.0 8.1 "GDP Current and PPP estimates for 2019". IMF. 2019. สืบค้นเมื่อ February 10, 2020.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  9. "World Economic Outlook Database October 2019". www.imf.org. สืบค้นเมื่อ 2020-08-09.
  10. World Heritage List, UNESCO World Heritage Sites official sites.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Ardao, Arturo. Génesis de la idea y nombre de América Latina. Caracas: Centro de Estudios Latinoamericanos Rómulo Gallegos, 1980.
  • Ayala Mora, Enrique. "El origen del nombre América Latina y la tradición católica del siglo XIX." Anuario Colombiano de Historia Social y de la Cultura 40, no. 1 (2013), 213–41.
  • Azevedo, Aroldo. O Brasil e suas regiões. São Paulo: Companhia Editora Nacional, 1971. (ในภาษาโปรตุเกส)
  • Enciclopédia Barsa. Volume 4: Batráquio – Camarão, Filipe. Rio de Janeiro: Encyclopædia Britannica do Brasil, 1987. (ในภาษาโปรตุเกส)
  • Bethell, Leslie (September 9, 2010). "Brazil and 'Latin America'". Journal of Latin American Studies. 42 (3): 457–485. doi:10.1017/S0022216X1000088X. JSTOR 40984892.</ref>
  • Bomfim, Manoel. A América latina: Males de origem. Rio de Janeiro: H. Garnier 1905.
  • Braudel, Fernand. "Y a-t-il une Amérique latine?" Annales ESC 3 (1948), 467–71.
  • Castro-Gómez, Santiago. Crítica de la razón latinoamericana. Barcelona: Puvil Libros 1996.
  • Coatsworth, John H., and Alan M. Taylor, eds. Latin America and the World Economy Since 1800. Cambridge MA: Harvard University Press 1998.
  • Coelho, Marcos Amorim. Geografia do Brasil. 4th ed. São Paulo: Moderna, 1996. (ในภาษาโปรตุเกส)
  • Edwards, Sebastián. Left Behind: Latin America and the False Promise of Populism. University of Chicago Press, 2010.
  • Sebastian Edwards; Gerardo Esquivel; Graciela Márquez (February 15, 2009). The Decline of Latin American Economies: Growth, Institutions, and Crises. University of Chicago Press. ISBN 978-0-226-18503-3.
  • Galeano, Eduardo. Open Veins of Latin America: Five Centuries of the Pillage of a Continent. 1973
  • Gobat, Michel, "The Invention of Latin America: A Transnational History of Anti-Imperialism, Democracy, and Race," American Historical Review Vol. 118, no. 3 (December 2013), pp. 1345–1375.
  • Halperin Donghi, Tulio. (1970). Historia contemporánea de América Latina (2. ed.). Madrid: Alianza Editorial.
  • Leonard, Thomas et al. (2010). Encyclopedia of Latin America. Facts on File. ISBN 9780816073597
  • Mariátegui, José Carlos. Temas de nuestra América. Vol. 12 of Obras completas de Mariátegui. Lima: Biblioteca Amauta 1960.
  • Martínez Estrada, Ezequiel. Diferencias y semejanzas entre los países de América Latina. Mexico" Universidad Nacional Autónoma de México 1962.
  • Maurer Queipo, Isabel (ed.): "Directory of World Cinema: Latin America", intellectbooks, Bristol 2013, ISBN 9781841506180
  • McGinnes, Aims. "Searching for 'Latin America': Race and Sovereignty in the Americas in the 1850s." In Race and Nation in Modern Latin America, edited by Nancy P. Appelbaum, Anne S. Macpherson, and Karin alejandra Rosemblatt. Chapel Hill: University of North Carolina Press 2003, pp, 87–107.
  • Mignolo, Walter, The Idea of Latin America. Oxford: Wiley-Blackwell 2005.
  • Moraña, Mabel, Enrique Dussel, and Carlos A. Jáuregui, eds. Coloniality at Large: Latin America and the Postcolonial Debate. Durham: Duke University Press 2008.
  • Moreira, Igor A. G. O Espaço Geográfico, geografia geral e do Brasil. 18. Ed. São Paulo: Ática, 1981. (ในภาษาโปรตุเกส)
  • Phelan, John Leddy. (1968). Pan-latinisms, French Intervention in Mexico (1861–1867) and the Genesis of the Idea of Latin America. Mexico City: Universidad Nacional Autonónoma de México 1968.
  • Vesentini, José William. Brasil, sociedade e espaço – Geografia do Brasil. 7th Ed. São Paulo: Ática, 1988. (ในภาษาโปรตุเกส)
  • Tenenbaum, Barbara A. ed. Encyclopedia of Latin American History and Culture. 5 vols. New York: Charles Scribner’s Sons 1996
  • Tenorio-Trillo, Mauricio. Latin America: The Allure and Power of an Idea. Chicago: University of Chicago Press 2017.
  • Vasconcelos, José. Indología: Una interpretación de la cultura ibero-americana. Barcelona: Agencia Mundial de Librería 1927.
  • Werncek vianna, Luiz. A revolução passive: Iberismo e americanismo no Brasil. Rio de Janeiro: Editora Revan 1997.
  • Zea, Leopoldo. Filosofía de la historia americana. Mexico City: Fondo de Cultura Económico 1978.
  • Zea, Leopoldo, ed. Fuentes de la cultura latinoamericana. 2 vols. Mexico City: Fondo de Cultura Económica 1993.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]