สถานีย่อย:พายุหมุนเขตร้อน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี



สถานีย่อยพายุหมุนเขตร้อน
แก้ไข   

ตำแหน่งของพายุหมุนเขตร้อนในปัจจุบัน

ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 12 พฤศจิกายน 2565 เวลา 14:00 น. ()
แก้ไข   

พายุหมุนเขตร้อน คืออะไร ?

Tip 1979-10-12.jpg

พายุหมุนเขตร้อน (Tropical cyclones) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่สามารถทำความเสียหายได้รุนแรง และเป็นบริเวณกว้างมีลักษณะเด่น คือ มีศูนย์กลางหรือที่เรียกว่า ตาพายุ เป็นบริเวณที่มีลมสงบ อากาศโปร่งใส โดยอาจมีเมฆและฝนบ้างเล็กน้อยล้อมรอบด้วยพื้นที่บริเวณกว้างรัศมีหลายร้อยกิโลเมตร ซึ่งปรากฏฝนตกหนักและพายุลมแรง ลมแรงพัดเวียนเข้าหาศูนย์กลาง ดังนั้น ในบริเวณที่พายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่ผ่าน ครั้งแรกจะปรากฏลักษณะอากาศโปร่งใส เมื่อด้านหน้าของพายุหมุนเขตร้อนมาถึงจะ ปรากฏลมแรง ฝนตกหนักและมีพายุฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรงและอาจปรากฏพายุทอร์นาโด ในขณะตาพายุมาถึง อากาศจะโปร่งใสอีกครั้ง และเมื่อด้านหลังของพายุหมุนมาถึงอากาศจะเลวร้ายลงอีกครั้งและรุนแรงกว่าครั้งแรก

แก้ไข   

ภาพยอดเยี่ยม

Michael 2018-10-10 1840Z.jpg
พายุเฮอร์ริเคนไมเคิล เป็นพายุหมุนเขตร้อนที่รุนแรงที่สุดฤดูกาล 2561 ของพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก
และเป็นพายุที่ทรงพลังที่สุดในฤดูกาล 2561 ที่พัดเข้าสหรัฐ
ภาพยอดเยี่ยมทั้งหมด
แก้ไข   

คุณทำได้

แก้ไข   

หมวดหมู่

แก้ไข   

พายุหมุนเขตร้อนในปัจจุบัน

ปรับปรุงข้อมูล ณ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 14:00 น.

มหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ (2566)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก/กลาง (2566)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก (2566)

มหาสมุทรอินเดียเหนือ (2566)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

เมดิเตอร์เรเนียน (2565–66)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ (2565–66)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

ภูมิภาคออสเตรเลีย (2565–66)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแปซิฟิกใต้ (2565–66)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

มหาสมุทรแอตแลนติกใต้ (2565–66)

ไม่มีพายุในปัจจุบัน

หมายเหตุ: ชื่อที่เป็นตัวเอียงคือแอ่งที่ไม่ถูกจัดแบ่งอย่างเป็นทางการ

แก้ไข   

รู้ไหมว่า...

Typhoon Rammasun 2014-07-18 0600Z.png
พายุไต้ฝุ่นรามสูร เป็นพายุไต้ฝุ่นที่สร้างความเสียหายให้
ประเทศฟิลิปปินส์, จีน และเวียดนามในปี พ.ศ. 2557
ก่อตัวเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม สลายตัวเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2557
โดยประเทศจีนร้องขอให้ถอดถอนชื่อ รามสูร นี้ออกจากตารางชื่อสากล ซึ่งคณะกรรมการไต้ฝุ่นได้เลือกชื่อ บัวลอย ขึ้นมาแทนที่
แก้ไข   

หัวข้อ

แก้ไข   

ความรุนแรงพายุหมุนเขตร้อน

ตารางเปรียบเทียบความรุนแรงของพายุหมุนเขตร้อน
มาตรา
โบฟอร์ต
ความเร็วลมต่อเนื่อง 1 นาที
(NHC/CPHC/JTWC)
ความเร็วลมต่อเนื่อง 10 นาที
(WMO/JMA/MF/BOM/FMS)
แปซิฟิกตะวันออกเฉียงเหนือและ
แอตแลนติกเหนือ
NHC/CPHC
แปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
JTWC
แปซิฟิกตะวันตกเฉียงเหนือ
JMA
มหาสมุทรอินเดียเหนือ
IMD
มหาสมุทรอินเดียตะวันตกเฉียงใต้
MF
ออสเตรเลียและแปซิฟิกใต้
BOM/FMS
0–7 <32 นอต (59 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) <28 นอต (52 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุดีเปรสชันเขตร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน พายุดีเปรสชัน พื้นที่ของอากาศแปรปรวน การแปรปรวนของลมในเขตร้อน
7 33 นอต (61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 28–29 นอต (52–54 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว การแปรปรวนของลมในเขตร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน
8 34–37 นอต (63–69 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 30–33 นอต (56–61 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุโซนร้อน พายุโซนร้อน พายุดีเปรสชันเขตร้อน บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน
9–10 38–54 นอต (70–100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 34–47 นอต (63–87 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุโซนร้อน พายุไซโคลน พายุโซนร้อนกำลังปานกลาง พายุไซโคลน
ระดับ 1
11 55–63 นอต (102–117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 48–55 นอต (89–102 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุโซนร้อนกำลังแรง พายุไซโคลนกำลังแรง พายุโซนร้อนกำลังแรง พายุไซโคลน
ระดับ 2
12+ 64–71 นอต (119–131 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 56–63 นอต (104–117 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคนระดับ 1 พายุไต้ฝุ่น
72–82 นอต (133–152 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 64–72 นอต (119–133 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง พายุไซโคลน
กำลังแรงมาก
พายุไซโคลน พายุไซโคลนกำลังแรง
ระดับ 3
83–95 นอต (154–176 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 73–83 นอต (135–154 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคนระดับ 2
96–97 นอต (178–180 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 84–85 นอต (156–157 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่ระดับ 3
พายุไต้ฝุ่นกำลังแรง
อย่างมาก
98–112 นอต (181–207 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 86–98 นอต (159–181 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุไซโคลนกำลังแรง
อย่างมาก
พายุไซโคลนรุนแรง พายุไซโคลนกำลังแรง
ระดับ 4
113–122 นอต (209–226 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 99–107 นอต (183–198 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่ระดับ 4
123–129 นอต (228–239 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 108–113 นอต (200–209 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุไต้ฝุ่นรุนแรง พายุไซโคลนกำลังแรง
ระดับ 5
130–136 นอต (241–252 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) 114–119 นอต (211–220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น พายุซูเปอร์ไซโคลน พายุไซโคลนรุนแรงมาก
>137 นอต (254 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) >120 นอต (220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) พายุเฮอริเคน
ขนาดใหญ่ระดับ 5
แก้ไข   

สถานีย่อยของวิกิพีเดียไทย