รถด่วนพิเศษทักษิณ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ขบวนรถด่วนพิเศษทักษิณ
State Railway of Thailand Logo 2019.svg
Bangkok Railway Station IMG 7345.jpg
ข้อมูลทั่วไป
สถานะเปิดให้บริการ
ที่ตั้งกรุงเทพมหานคร, นนทบุรี, นครปฐม, ราชบุรี, เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์, ชุมพร, สุราษฎร์ธานี, นครศรีธรรมราช, พัทลุง, สงขลา, ปัตตานี, ยะลา และนราธิวาส
ปลายทาง
จำนวนสถานี25
การดำเนินงาน
รูปแบบรถด่วนพิเศษ
เส้นทางทางรถไฟสายใต้
ผู้ดำเนินงานการรถไฟแห่งประเทศไทย
ขบวนรถ2 ขบวน
ประวัติ
เปิดเมื่อ17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 (36 ปีก่อน)
เปิดใหม่เมื่อ2 มกราคม พ.ศ. 2565 (1 ปีก่อน) ในนามรถด่วนพิเศษสายใต้
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง1,142.99 กิโลเมตร (710.22 ไมล์)
ความเร็ว100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (62 ไมล์ต่อชั่วโมง)

รถด่วนพิเศษทักษิณ (อังกฤษ: Thaksin Special Express; ทักษิณ แปลว่าภาคใต้; รหัสขบวน: 37/38) เป็นขบวนรถด่วนพิเศษของการรถไฟแห่งประเทศไทย ให้บริการผู้โดยสารระหว่างสถานีรถไฟกรุงเทพ แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร กับสถานีรถไฟสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เป็นขบวนรถด่วนพิเศษที่มีระยะทางทำการไกลที่สุดในประเทศไทย ซึ่งไกลเท่ากับระยะทำการของขบวนรถเร็วที่ 171/172 ซึ่งมีต้นทาง และปลายทางเป็นสถานีเดียวกัน[1] (ไม่นับรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศ ซึ่งเข้าไปในประเทศมาเลเซีย) ชนิดรถที่ให้บริการได้แก่ รถนั่งและนอนปรับอากาศชั้นหนึ่งและชั้นสอง (บนอ.ป. และ บนท.ป.) รถนั่งชั้นสองและชั้นสาม (บชท. และ บชส.) และรถเสบียง (บกข. หรือ บสข.) ปัจจุบันพ่วงการโดยสารร่วมกับรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศขบวนที่ 45/46 เดิมทีขบวนนี้เปิดเดินในนามของขบวน 19/20 และมีจุดหมายปลายทางที่สถานียะลา ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงกำหนดเวลาเดินรถใหม่ในวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 ขยายปลายทางขบวนรถไปจนถึงสถานีสุไหงโกลก และให้ขบวน 11/15 12/16 ปลายทางบัตเตอร์เวอร์ธและสุไหงโกลกเดิมที่วิ่งวันเว้นวัน ให้กลายเป็นขบวน 11/12 ปลายทางบัตเตอร์เวอร์ธและมีเดินทุกวัน

ภาพรวม[แก้]

รถไฟขบวนนี้ผ่านหลายจังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย ได้แก่ จังหวัดชุมพร, จังหวัดสุราษฎร์ธานี, จังหวัดนครศรีธรรมราช, จังหวัดพัทลุง, จังหวัดสงขลา, จังหวัดปัตตานี, จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส

ผังขบวน[แก้]

หมายเลขตู้ขบวน 37 - - 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
หมายเลขตู้ขบวน 38 - - 12 11 10 9 8 7 6 5 4 3 2
ชั้น บชส. โถง บพห. บนท.ป บชส. บชท. บกข. บนท.ป บนอ.ป
จำนวนที่นั่ง - - 40 40 76 76 76 48 - 40 40 40 24
สิ่งอำนวย
ความสะดวก
- - สุขา สุขา สุขา สุขา สุขา สุขา - สุขา สุขา สุขา สุขา
ห้องอาบน้ำ
  • หมายเหตุ ขบวน 37 จะพ่วงรถปรับอากาศนั่งและนอนของขบวน 45 ไว้ทางตอนหน้าของขบวน และขบวน 38 จะพ่วงรถปรับอากาศนั่งและนอนของขบวน 46 ไว้ตอนท้ายขบวน ซึ่งทั้งสองขบวนนี้จะแยกจากกัน(ขบวน 37 และ 45) และพ่วงรวมกัน (ขบวน 38 และ 46) ที่สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

กำหนดเวลาเดินรถเที่ยวขึ้น[แก้]

ขบวนที่ 37
(กรุงเทพ - สุไหงโกลก)
สถานี ถึง ออก หมายเหตุ
กรุงเทพ ต้นทาง 15.10 -
สามเสน 15.23 15.25 -
ชุมทางบางซื่อ 15.32 15.34 -
บางบำหรุ 15.50 15.51 -
ศาลายา 16.08 16.09 -
นครปฐม 16.36 16.38 -
บ้านโป่ง 16.57 16.58 -
ราชบุรี 17.29 17.30 -
เพชรบุรี 18.14 18.15 -
หัวหิน 19.10 19.13 -
วังก์พง 19.32 19.33 -
ประจวบคีรีขันธ์ 20.35 20.36 -
บางสะพานใหญ่ 21.42 21.43 -
ชุมพร 23.15 23.24 -
สุราษฎร์ธานี 2.00 2.03 -
ชุมทางทุ่งสง 3.50 4.00 -
ชะอวด 5.03 5.04 -
พัทลุง 5.46 5.48 -
บางแก้ว 6.16 6.17 -
ชุมทางหาดใหญ่ 7.20 7.35 -
จะนะ 8.11 8.12 -
ปัตตานี 8.56 8.58 -
ยะลา 9.26 9.29 -
รือเสาะ 10.02 10.03 -
ตันหยงมัส 10.31 10.33 -
สุไหงปาดี 11.04 11.06 -
สุไหงโก-ลก 11.20 ปลายทาง -


กำหนดเวลาเดินรถเที่ยวล่อง[แก้]

ขบวนที่ 38
(สุไหงโกลก - กรุงเทพ)
สถานี ถึง ออก หมายเหตุ
สุไหงโก-ลก ต้นทาง 14.20 -
สุไหงปาดี 14.33 14.34 -
ตันหยงมัส 15.04 15.06 -
รือเสาะ 15.34 15.35 -
ยะลา 16.07 16.09 -
ปัตตานี 16.38 16.40 -
จะนะ 17.23 17.24 -
ชุมทางหาดใหญ่ 17.59 18.10 -
บางแก้ว 19.15 19.16 -
พัทลุง 19.45 19.47 -
ชะอวด 20.29 20.30 -
ชุมทางทุ่งสง 21.29 21.38 -
สุราษฎร์ธานี 23.25 23.28 -
ชุมพร 1.56 2.06 -
บางสะพานใหญ่ 3.35 3.36 -
ประจวบคีรีขันธ์ 4.42 4.43 -
หัวหิน 6.02 6.05 -
เพชรบุรี 7.02 7.03 -
ราชบุรี 7.48 7.49 -
บ้านโป่ง 8.19 8.20 -
นครปฐม 8.40 8.42 -
ศาลายา 9.09 9.10 -
บางบำหรุ 9.28 9.29 -
ชุมทางบางซื่อ 9.45 9.47 -
สามเสน 9.54 9.56 -
กรุงเทพ 10.10 ปลายทาง -


อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]