ตู้โดยสาร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ขบวนรถด่วนที่84 ตรัง-กรุงเทพ ขณะจอดพักในชานชาลาที่2 ณ สถานีรถไฟตรัง

ตู้โดยสาร (อังกฤษ: passenger car, coach หรือ carriage ) หมายถึง ตู้หรือรถโดยสารที่วิ่งบนทางรถไฟ ซึ่งพ่วงต่อกันหลายคันเป็น ขบวนรถไฟ สำหรับการขนส่งผู้โดยสาร ซึ่งมีใช้อยู่หลายชนิด ในยุคแรกๆ ที่รถไฟเริ่มเปิดเดินรถใหม่ๆ ตู้โดยสารจะมีที่นั่งซึ่งหุ้มด้วยเบาะหนัง เก้าอี้หวาย หรือเก้าอี้ไม้สัก ขึ้นอยู่กับประเภทของชั้นที่นั่ง โดยแบ่งออกเป็นสามชั้นคือ ชั้น 1, 2 และ 3 ตามลำดับ ลักษณะที่นั่งเหล่านี้ได้มีการปรับปรุงให้เหมาะสมยิ่งขึ้นตามกาลเวลาในยุคต่อมา นอกจากนั้นยังเพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก อย่างเตียง เครื่องสุขภัณฑ์และเครื่องปรับอากาศ โดยเฉพาะรถนอน ในปัจจุบันมีให้บริการทั้งแบบรถพัดลมและรถปรับอากาศในชั้นที่ 1, 2 และ 3 ซึ่งค่าโดยสารจะแตกต่างกันไปตามประเภทชั้นที่นั่งและความสะดวกสบายที่เพิ่มขึ้น

ประเภทตู้โดยสารรถไฟในประเทศไทย[แก้]

ปัจจุบันการรถไฟแห่งประเทศไทย มีตู้โดยสารซึ่งแบ่งตามระดับชั้นและให้บริการในขบวนรถดังต่อไปนี้

ชนิดรถ จำนวนที่นั่ง ภาพ ตัวย่อ ขบวนรถที่ให้บริการ
ภายนอก ภายใน
ชั้นที่ 1
รถนั่งและนอนปรับอากาศ

Air-conditioned Day and night

บนอ.ป.1001-1022 24 ที่นั่ง (Hyundai)
ANS Hyundai.jpg
บนอ.ป.

(ANF.)

13/14

37/38

67/68

83/84

85/86

บนอ.ป.101-102

10 ที่นั่ง (บลูเทรน บนอ.ปJR)

รถนั่งและนอน ปรับอากาศ ชั้นที่ 1(2).jpg หมายเหตุ รถชนิดนี้จอดพักอยู่ที่สถานีกรุงเทพ
บนอ.ป.1101-1109 24 ที่นั่ง (CNR)
Thaksinarat Bangkok-Hatyai 26-4-2017.jpg
201701 Lower Berth of SRT CNR First Class Sleeper Coach.jpg
9/10

23/24

25/26

31/32

ชั้นที่ 2
รถนั่งและนอน

ปรับอากาศ

Air-conditioned Day and night Coach

บนท.ป.40 ที่นั่ง
  • โตคิว

(1001-1029)

  • ฮิตาชิ

(1030-1036)

  • แดวูเก่า

หลังคาเหลี่ยม

(1037-1067)

  • แดวูเก่า หลังคาโค้ง

(1068-1084)

บนท.ป.โตคิว.jpg
Daewoo old version.jpg
บนท.ป.

(ANS.)

13/14

37/38

45/46

51/52

67/68

107/108

109

139/140

167/168

169/170

171/172

173/174

บนท.ป.1301-1379 40 ที่นั่ง (CNR)
201701 SRT CNR Second Class Sleeper Coaches as 023 at Bangkok Station.jpg
201701 Beds at SRT CNR Second Class Sleeper Coach (2).jpg
9/10

23/24

25/26

31/32

บนท.ป.1401-1409 34 ที่นั่งสำหรับผู้พิการ

(CNR)

201701 Area for Disabled Personnels on SRT CNR บนท.ป. 14XX.jpg
9,10 23,24

25,26 31,32  

บนท.ป.JR-West

หรือ บลูเทรน

  • ไม่มีเครื่องยนต์

บนท.ป.101-122

  • มีเครื่องยนต์

- บนท.ป.201-206

- บนท.ป.231-242 30/32/34 ที่นั่ง

บนท.ป.JR.png
- พ่วงกับขบวนรถเร็วสายใต้ (167/168 และ 173/174)

ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ สารทเดือนสิบ ปีใหม่ - พ่วงกับขบวนรถด่วนที่ 67/68

ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และปีใหม่

- พ่วงกับขบวน

รถด่วนที่ 51/52

ช่วงสุดสัปดาห์

- พ่วงกับขบวนรถนำเที่ยว/ขบวนรถจัดเฉพาะ

แดวู
  • รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศมีห้องขับ Air-Conditioned Power Diesel Railcar With Driving Cab
  • รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ Air-Conditioned Power Diesel Railcar Non Driving Cab
  • APD.20

- รุ่นมีห้องขับ 76 ที่นั่ง (2513-2524)

  • APN.20

- รุ่นไม่มีห้องขับ 80 ที่นั่ง

(2121-2128)

  • APD.60

- รุ่นมีห้องขับ 76 ที่นั่ง

(2525-2544)

TahiLand RailWay001.JPG
กซข.ป.

( APD.)
กซม.ป.

( APN.)

3/4 (บางวัน) 7/8 21/22 39/40 41/42 43/44
สปรินเทอร์(ASR)
  • รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศมีห้องขับ Air-Conditioned Power Diesel Railcar With Driving Cab
  • รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ Air-Conditioned Power Diesel Railcar Non Driving Cab
  • รุ่นมีห้องขับ 72 ที่นั่ง (2501-2512)
  • รุ่นไม่มีห้องขับ 80 ที่นั่ง

(2113-2120)

197.986x197.986px กซข.ป.

( APD.)
กซม.ป.

( APN.)

ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 3/4 (เป็นส่วนใหญ่หากไม่มีเหตุต้องใช้ดีเซลรางแดวูแทน)

ขบวนรถเร็วที่ 997/998

เอทีอาร์

รถกำลังดีเซลรางปรับอากาศไม่มีห้องขับ

Air-Conditioned Power Diesel Railcar Non Driving Cab

กซม.ป.62 ที่นั่ง [1](2101-2112) DRC 00274.jpg
กซม.ป.

( APN.)

71/72 75/76 77/78 105/106

รถชานเมือง

สายวงเวียนใหญ่-มหาชัย (กซม.ป.2101)

รถนั่งปรับอากาศ

Air-Conditioned Second Class Carriage

บชท.ป.101-108 64/72 ที่นั่ง

(บลูเทรน บชท.ปJR)[2]

PSC 00094.jpg
บชท.ป.JR

(ASC.)

- พ่วงกับขบวนรถด่วนที่ 67/68

ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ และปีใหม่

- พ่วงกับขบวนรถนำเที่ยว/ขบวนรถจัดเฉพาะ

บชท.ป.201-210

30 ที่นั่ง

(สำหรับผู้พิการ)[3]

ASC Wheelchair.jpg
บชท.ป.

(ASC.)

83/84 85/86
รถโบกี้ชั้นที่ 2

Bogie Second Class Carriage

• บชท.61-108

(48 ที่นั่ง) • บชท.1001-1002 (52 ที่นั่ง)

บชท.

(BSC.)

37/38 51/52 67/68 83/84 85/86 109/102 133/134 135/136 145/146 167/168 169/170 171/172 173/174
ชั้นที่ 3
รถกำลังดีเซลรางมีห้องขับ

Bogie Power Diesel Railcar With Driving Cab

กซข.74 ที่นั่ง

ทีเอชเอ็น (THN) 1101-1140

เอ็นเคเอฟ (NKF) 1201-1264

Rapid-transit train, Thailand.JPG กซข.

( BPD.)

71/72 75/76

77/78 105/106

209/210 261/262

279/280 281/282

303/304 317/318

339/340 355/356 389/390 401/402

407/408 403/410

909/910 911/912

รถชานเมือง

สายแม่กลอง

ทุกขบวน

(เฉพาะเอ็นเคเอฟเท่านั้น),

รถชานเมืองบางซื่อ-ศาลายา

ธนบุรี-ศาลายา

  • รถกำลังดีเซลรางมีห้องขับ Bogie Power Diesel Railcar With Driving Cab
  • รถพ่วงดีเซลรางมีห้องขับ Bogie Trailer Diesel Railcar With Driving Cab
อาร์เอช

อาร์เอชเอ็น

RHN428.jpg
กซข.

( BPD.)
พซข.

( BTD.)

415/416,

417/418,

419/420,

421/422,

423/424,

425/426,

427/428,

429/430,

431/432,

433/434,

437/438,

439/440,

913/914,

917/918

รถนั่งปรับอากาศ

Air-Conditioned Carriage

• บชส.ป.1 (72 ที่นั่ง)

• บชส.ป.2-4, 10 (80 ที่นั่ง)

บชส.ป.

(ATC.)

67/68
รถโบกี้ชั้นที่ 3

Bogie Third Class Carriage

• บชส.1001-1155 (96 ที่นั่ง)

• บชส.1156-1373 (76 ที่นั่ง)

BTC New color.jpg
บชส.

(BTC.)

37/38 51/52

67/68 83/84

85/86

รถเร็ว รถธรรมดา

รถชานเมืองทุกขบวน

รถท้องถิ่นสายใต้ทุกขบวน

ขบวนรถนำเที่ยวเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์,

ขบวนรถจักรไอน้ำ

ยกเว้น ขบวนรถเร็วที่105/106

ขบวนรถธรรมดา

รถท้องถิ่น

ที่ใช้รถดีเซลรางในการทำขบวน

SRT Bogie Third Class Car - Main Livery.png
SRT Bogie Third Class Car - Gray Stripes.png
บชส.ควีนส์แลนด์ (76 ที่นั่ง) รถไฟควีนแลนด์.jpg
261/262

(เฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์)

301/302 313/314

367/368 371/372

ชั้นพิเศษ
(เป็นรถบริการที่ไม่ได้ใช้ในการโดยสารทั่วไป)
รถเสบียงปรับอากาศ

Air - conditioned Restaurant Car

ไม่มี
การกำหนด
จำนวนที่นั่ง
201701 บนท.ป.1102 at Bangkok Station.jpg
201701 Interior of SRT CNR Dining Car.jpg
บกข.ป.(CNR) 9/10 23/24

25/26 31/32

  • รถโบกี้สัมภาระมีเครื่องห้ามล้อ Bogie Full Van
  • รถโบกี้ชั้นโทและสัมภาระ Bogie Second Class and Van
  • รถโบกี้ชั้นสามและสัมภาระ Bogie Third Class & Van
์New color BFV.jpg
บพห.

(BFV.)
บทพ.

(BSV.)
บสพ.

(BTV.)

ทุกขบวน ยกเว้น

ขบวนที่ใช้รถดีเซลราง และขบวนรถธรรมดาบางขบวน

รถโบกี้ปรับอากาศจัดเฉพาะ

Air-Conditioned Reserved Saloon

31[2] PSC 00141.jpg PSC 00229.jpg บจพ.ป.

(ARS.)

เฉพาะกรณีพิเศษ
รถประชุมปรับอากาศ 6[2] PSC 00174.jpg บปช.ป.
รถรถโบกี้ตรวจสภาพทางปรับอากาศ

Air - conditioned Inspcetion Car

16[2] PSC 00240.jpg บตท.ป.

(AIC.)

รถโบกี้วิทยุสื่อสาร Bogie Radio Communication Van ไม่มี
การกำหนด
จำนวนที่นั่ง
PSC 00166.jpg บวส.

(BCV.)

รถโบกี้บรรทุกล้อเลื่อน

Bogie Carriage Truck

Upload file1001.jpg บรล.

(BCT.)

รถจ่ายกำลังไฟฟ้า PSC 00159.jpg บฟก.
รถพระที่นั่งประทับกลางวัน PSC 00162.jpg พนก.[2] เฉพาะกรณีที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จพระราชดำเนินทางรถไฟเท่านั้น
รถพระที่นั่งบรรทม พนท.[2]
รถพระที่นั่งกลางวันและบรรทม พกท.[2]


อ้างอิง[แก้]

  1. กซม.ป. 2106 (62 ที่นั่ง) ปรับปรุงใหม่ไฉไลกว่าเดิม
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 "ชื่อย่อรถโดยสาร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-03-24. สืบค้นเมื่อ 2013-07-07.
  3. สถานีรถไฟชุมทางบางซื่อ

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

ขบวนรถไฟในประเทศไทย