ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เรียบร้อยแล้ว
Boripat2543 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 167: บรรทัด 167:
ในสมัยนาย[[อาคม เติมพิทยาไพสิฐ]] เป็นรัฐมนตรี[[กระทรวงคมนาคม]] นาย[[ธานินทร์ สมบูรณ์]] เป็นอธิบดี[[กรมทางหลวง]] และนาย[[ณรงค์ เขียดเดช]] เป็นผู้ว่าการ [[การทางพิเศษแห่งประเทศไทย]] ได้ร่วมประชุมร่วมกันเพื่อปรับปรุงความซ้ำซ้อนของเส้นทาง และเน้นย้ำถึงภาระกิจว่า "มอเตอร์เวย์เป็นการก่อสร้างทางเชื่อมโยงระหว่างเมือง ส่วนระบบทางด่วนเป็นการแก้ปัญหาการจราจรในเขตเมืองเป็นหลัก" โดยแผนการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ของ[[กรมทางหลวง]] มีดังนี้
ในสมัยนาย[[อาคม เติมพิทยาไพสิฐ]] เป็นรัฐมนตรี[[กระทรวงคมนาคม]] นาย[[ธานินทร์ สมบูรณ์]] เป็นอธิบดี[[กรมทางหลวง]] และนาย[[ณรงค์ เขียดเดช]] เป็นผู้ว่าการ [[การทางพิเศษแห่งประเทศไทย]] ได้ร่วมประชุมร่วมกันเพื่อปรับปรุงความซ้ำซ้อนของเส้นทาง และเน้นย้ำถึงภาระกิจว่า "มอเตอร์เวย์เป็นการก่อสร้างทางเชื่อมโยงระหว่างเมือง ส่วนระบบทางด่วนเป็นการแก้ปัญหาการจราจรในเขตเมืองเป็นหลัก" โดยแผนการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ของ[[กรมทางหลวง]] มีดังนี้


{| class="wikitable"
* '''แผน 10 ปีแรก (พ.ศ. 2560–2569)''' มี 16 สายทาง รวม 3,120 กิโลเมตร เงินลงทุน 1.24 ล้านล้านบาท ได้แก่
|+ แผน 10 ปีแรก (พ.ศ. 2560–2569) มี 16 สายทาง รวม 3,120 กิโลเมตร เงินลงทุน 1.24 ล้านล้านบาท ได้แก่
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 5|M5 บางปะอิน–เชียงราย (เร่งช่วงรังสิต–บางปะอิน)]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6|M6 บางปะอิน–หนองคาย (เร่งช่วงนครราชสีมา–หนองคาย)]]'''
! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |ลำดับ !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |หมายเลข !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |สายทาง !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |หมานเหตุ !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |ลำดับ !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |หมายเลข !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |สายทาง !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" | หมานเหตุ
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7|M7 กรุงเทพฯ–บ้านฉาง (กำลังก่อสร้างช่วงมาบตะพุด–บ้านฉาง)]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8|M8 นครปฐม–นราธิวาส (เร่งช่วงนครปฐม–ชะอำ–ชุมพร)]]'''
| 1. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 5|M5]] || บางปะอิน–เชียงราย || เร่งช่วงรังสิต–บางปะอิน || 9. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 71|M71]] || วงแหวนรอบนอกตะวันออก–สระแก้ว || -
# '''[[ถนนกาญจนาภิเษก|M9 วงแหวนรอบนอกรอบที่ 2 (เร่งช่วงด้านตะวันตกโดยเป็นโครงการปรับปรุงให้มีทางเข้าออก)]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 51|M51 เชียงใหม่–ลำปาง]]'''
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 61|M61 ชลบุรี–นครราชสีมา (เร่งช่วงท่าเรือแหลมฉบัง–ปราจีนบุรี)]]'''
| 2. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 6|M6]] || บางปะอิน–หนองคาย || เร่งช่วงนครราชสีมา–หนองคาย || 10. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 72|M72]] || ชลบุรี–ตราด || -
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 62|M62 วงแหวนรอบนอกรอบที่ 2 ด้านตะวันออก–สระบุรี]]'''
| 3. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7|M7]] || กรุงเทพฯ–บ้านฉาง || กำลังก่อสร้างช่วงมาบตะพุด–บ้านฉาง || 11. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81|M81]] || บางใหญ่–กาญจนบุรี || เร่งตอนกาญจนบุรี–บ้านพุน้ำร้อน
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 71|M71 วงแหวนรอบนอกตะวันออก–สระแก้ว]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 72|M72 ชลบุรี–ตราด]]'''
| 4. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 8|M8]] || นครปฐม–นราธิวาส || เร่งช่วงนครปฐม–ชะอำ–ชุมพร || 12. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 82|M82]] || วงแหวนรอบนอกตะวันตกรอบที่ 2–ปากท่อ || เร่งตอนบ้านแพ้ว–ปากท่อ
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81|M81 บางใหญ่–กาญจนบุรี (เร่งช่วงกาญจนบุรี–บ้านพุน้ำร้อน)]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 82|M82 วงแหวนรอบนอกตะวันตกรอบที่ 2–ปากท่อ (เร่งช่วงด้านบ้านแพ้ว–ปากท่อ)]]'''
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 83|M83 สุราษฎร์ธานี–ภูเก็ต]]'''
| 5. || [[ถนนกาญจนาภิเษก|M9]] || วงแหวนรอบนอกรอบที่ 2 || เร่งช่วงด้านตะวันตกโดยเป็นโครงการปรับปรุงให้มีทางเข้าออก || 13. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 83|M83]] || สุราษฎร์ธานี–ภูเก็ต || -
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 84|M84 สงขลา–ด่านสะเดา]]'''
| 6. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 51|M51]] || เชียงใหม่–ลำปาง || - || 14. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 84|M84]]' || สงขลา–ด่านสะเดา || -
# '''[[ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3|M91 วงแหวนรอบที่ 3]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 92|M92 ชลบุรี–นครปฐม]]'''
| 7.|| [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 61|M61]] || ชลบุรี-หนองคาย || เร่งช่วงชลบุรี-ปราจีนบุรี || 15. || [[ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3|M91]] || วงแหวนรอบนอกรอบที่ 3 || เร่งช่วงถนนรังสิต-นครนายก - ถนนเทพรัตน <br>และเร่งช่วงถนนพระรามที่ 2 - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81
|-
| 8. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 62|M62]] || วงแหวนรอบนอกรอบที่ 2 ด้านตะวันออก–สระบุรี || - || 16. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 92|M92]] || ชลบุรี–นครปฐม || -
|}


{| class="wikitable"
* '''แผน 10 ปีถัดไป (พ.ศ. 2570–2579)''' เงินลงทุน 8.7 แสนล้านบาท ได้แก่
|+ แผน 10 ปีถัดไป (พ.ศ. 2570–2579)''' เงินลงทุน 8.7 แสนล้านบาท ได้แก่
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 2|M2 ตาก–มุกดาหาร]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 3|M3 สุรินทร์–บึงกาฬ]]'''
! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |ลำดับ !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |หมายเลข !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |สายทาง !! colspan="1" style="background-color:#003F87; color:white" |หมานเหตุ
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 4|M4 นครสวรรค์–อุบลราชธานี]]'''
|-
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 52|M52 สุพรรณบุรี–ชัยนาท]]'''
# '''[[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 53|M53 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ รอบที่ 2 ด้านตะวันตก–บางปะหัน]]'''
| 1. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 2|M2]] || ตาก–มุกดาหาร || -
|-
| 2. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 3|M3]] || สุรินทร์–บึงกาฬ || -
|-
| 3. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 4|M4]] || นครสวรรค์–อุบลราชธานี || -
|-
| 4. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 52|M52]] || สุพรรณบุรี–ชัยนาท || -
|-
| 5. || [[ทางหลวงพิเศษหมายเลข 53|M53]] || วงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ รอบที่ 2 ด้านตะวันตก–บางปะหัน || -
|}


== ทางหลวงพิเศษในอดีต ==
== ทางหลวงพิเศษในอดีต ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:42, 20 พฤศจิกายน 2563

ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (อังกฤษ: Motorway) เป็นทางด่วนประเภทหนึ่งที่เก็บค่าผ่านทาง มีการควบคุมจุดเข้าออกของรถยนต์ ในประเทศไทยกำกับดูแลโดยกรมทางหลวง มีจุดประสงค์เพื่อเชื่อมโยงเส้นทางระหว่างเมืองเป็นหลัก

ปัจจุบันประเทศไทยได้มีโครงข่ายเส้นทางในแผนแม่บทระบบทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง โดยได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2540 กรมทางหลวงได้พิจารณากำหนดระบบหมายเลขทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ให้เป็นระบบหมายเลขทางหลวงใหม่ โดยมีหลักเกณฑ์ในการจัดทำระบบหมายเลขทางหลวงเป็น 2 ประเภท ดังนี้

  • ทางหลวงพิเศษหมายเลขหลักเดียว เป็นทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายหลัก ที่เชื่อมระหว่างกรุงเทพมหานครไปยังแต่ละภาคของประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 8 สายทาง ตั้งแต่หมายเลข 2 ถึงหมายเลข 8 และหมายเลข 9 ซึ่งเป็นถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร
  • ทางหลวงพิเศษหมายเลขสองหลัก เป็นทางเชื่อมโยงจากทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองสายหลัก ที่เชื่อมโยงไปสู่เส้นทางที่มีการจราจรสูงและเส้นทางที่เข้าพื้นที่สำคัญในภาคนั้น ๆ มีหลักเกณฑ์การจัดเข้าไว้ในระบบหมายเลขทางหลวง เป็นตัวเลขจำนวน 2 หลัก โดยมีหลักเกณฑ์ในการกำหนดคือ ตัวเลขหลักแรกเป็นหมายเลขของสายทางหลักนั้น ๆ และตัวเลขหลักที่สอง เป็นลำดับหมายเลขสายทางที่แยกจากทางสายหลักดังกล่าว

รายชื่อทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทย

รายชื่อทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองในประเทศไทยที่เปิดใช้บริการ กำลังก่อสร้าง และโครงการที่ปรากฏตามแผนแม่บทปี พ.ศ. 2558[1]

  ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ที่เปิดใช้บริการแล้วทั้งหมดหรือบางส่วน
  ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ที่กำลังก่อสร้างทั้งหมดหรือบางส่วน
หมายเลข ระยะทาง
(กิโลเมตร)
สายทาง ชื่อ สถานะ
2 704 แม่สอด (ตาก) – พิษณุโลกขอนแก่นมุกดาหาร โครงการ
3 465 ด่านช่องจอม (สุรินทร์) – ร้อยเอ็ดบึงกาฬ โครงการ
4 610 นครสวรรค์นครราชสีมาด่านช่องเม็ก (อุบลราชธานี) โครงการ
5 908 ทางยกระดับอุตราภิมุขบางปะอินนครสวรรค์พิษณุโลกอุตรดิตถ์ลำปาง – ด่านแม่สาย/ด่านเชียงของ (เชียงราย) รังสิต–บางปะอิน
บางปะอิน–นครสวรรค์
นครสวรรค์–เชียงของ
โครงการ
6 196
(540)
บางปะอิน – สระบุรีนครราชสีมาขอนแก่นอุดรธานีหนองคาย บางปะอิน–นครราชสีมา
นครราชสีมา–ขอนแก่น
ขอนแก่น–หนองคาย
กำลังก่อสร้าง (บางปะอิน – นครราชสีมา)
โครงการ (นครราชสีมา – หนองคาย)
7 153 กรุงเทพฯฉะเชิงเทราชลบุรีแหลมฉบังพัทยามาบตาพุด (บ้านฉาง) ถนนกรุงเทพ–ชลบุรี
ถนนกรุงเทพ–ชลบุรีสายใหม่
ถนนชลบุรี–พัทยา
พัทยา–มาบตาพุด
เปิดใช้งาน (กรุงเทพฯ – พัทยา)
เปิดทดลองใช้ (พัทยา – มาบตาพุด)
8 1,068 นครปฐมชุมพรพัทลุงปัตตานี – ด่านสุไหงโกลก (นราธิวาส) นครปฐม–ชะอำ
ชะอำ–ชุมพร
ชุมพร–นราธิวาส
โครงการ
9 165 ถนนวงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 2 ถนนกาญจนาภิเษก เปิดใช้งาน
51 53 เชียงใหม่แจ้ห่ม (ลำปาง) โครงการ
52 42 สุพรรณบุรีชัยนาท โครงการ
53 48 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 2 ด้านตะวันตกบางปะหัน โครงการ
61 288 ชลบุรี – นครราชสีมา โครงการ
62 78 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 2 ด้านตะวันออกสระบุรี โครงการ
71 204 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 2 ด้านตะวันออกฉะเชิงเทราสระแก้ว – ด่านอรัญประเทศ (สระแก้ว) กรุงเทพมหานคร – อรัญประเทศ โครงการ
72 216 ชลบุรี – จันทบุรีตราด โครงการ
81 165 บางใหญ่บ้านโป่งกาญจนบุรี – ด่านบ้านพุน้ำร้อน (กาญจนบุรี) บางใหญ่–กาญจนบุรี
กาญจนบุรี–บ้านน้ำพุร้อน
กำลังก่อสร้าง (บางใหญ่ – กาญจนบุรี)
โครงการ (กาญจนบุรี – ด่านบ้านพุน้ำร้อน)
82 74 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 2 ด้านตะวันตกสมุทรสาครสมุทรสงครามปากท่อ บางขุนเทียน–บ้านแพ้ว
บ้านแพ้ว–สมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม–ปากท่อ
กำลังก่อสร้าง (บางขุนเทียน – บ้านแพ้ว)
โครงการ (บ้านแพ้ว– ปากท่อ)
83 191 พระแสง (สุราษฎร์ธานี) – พังงาภูเก็ต โครงการ
84 83 สงขลาหาดใหญ่ – ด่านสะเดา (สงขลา) โครงการ
91 245 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพมหานคร รอบที่ 3 โครงการ
92 312 ชลบุรี – ฉะเชิงเทรา – นครนายก – สระบุรี – ลพบุรี – สุพรรณบุรี – นครปฐม ชลบุรี–นครนายก
นครนายก–ลพบุรี
ลพบุรี–นครปฐม
โครงการ
รวม 6,612 21 สายทาง
318 2 สายทาง
361 3 สายทาง

แผนการก่อสร้าง

ในสมัยนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ เป็นรัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม นายธานินทร์ สมบูรณ์ เป็นอธิบดีกรมทางหลวง และนายณรงค์ เขียดเดช เป็นผู้ว่าการ การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ได้ร่วมประชุมร่วมกันเพื่อปรับปรุงความซ้ำซ้อนของเส้นทาง และเน้นย้ำถึงภาระกิจว่า "มอเตอร์เวย์เป็นการก่อสร้างทางเชื่อมโยงระหว่างเมือง ส่วนระบบทางด่วนเป็นการแก้ปัญหาการจราจรในเขตเมืองเป็นหลัก" โดยแผนการก่อสร้าง ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง ของกรมทางหลวง มีดังนี้

แผน 10 ปีแรก (พ.ศ. 2560–2569) มี 16 สายทาง รวม 3,120 กิโลเมตร เงินลงทุน 1.24 ล้านล้านบาท ได้แก่
ลำดับ หมายเลข สายทาง หมานเหตุ ลำดับ หมายเลข สายทาง หมานเหตุ
1. M5 บางปะอิน–เชียงราย เร่งช่วงรังสิต–บางปะอิน 9. M71 วงแหวนรอบนอกตะวันออก–สระแก้ว -
2. M6 บางปะอิน–หนองคาย เร่งช่วงนครราชสีมา–หนองคาย 10. M72 ชลบุรี–ตราด -
3. M7 กรุงเทพฯ–บ้านฉาง กำลังก่อสร้างช่วงมาบตะพุด–บ้านฉาง 11. M81 บางใหญ่–กาญจนบุรี เร่งตอนกาญจนบุรี–บ้านพุน้ำร้อน
4. M8 นครปฐม–นราธิวาส เร่งช่วงนครปฐม–ชะอำ–ชุมพร 12. M82 วงแหวนรอบนอกตะวันตกรอบที่ 2–ปากท่อ เร่งตอนบ้านแพ้ว–ปากท่อ
5. M9 วงแหวนรอบนอกรอบที่ 2 เร่งช่วงด้านตะวันตกโดยเป็นโครงการปรับปรุงให้มีทางเข้าออก 13. M83 สุราษฎร์ธานี–ภูเก็ต -
6. M51 เชียงใหม่–ลำปาง - 14. M84' สงขลา–ด่านสะเดา -
7. M61 ชลบุรี-หนองคาย เร่งช่วงชลบุรี-ปราจีนบุรี 15. M91 วงแหวนรอบนอกรอบที่ 3 เร่งช่วงถนนรังสิต-นครนายก - ถนนเทพรัตน
และเร่งช่วงถนนพระรามที่ 2 - ทางหลวงพิเศษหมายเลข 81
8. M62 วงแหวนรอบนอกรอบที่ 2 ด้านตะวันออก–สระบุรี - 16. M92 ชลบุรี–นครปฐม -
แผน 10 ปีถัดไป (พ.ศ. 2570–2579) เงินลงทุน 8.7 แสนล้านบาท ได้แก่
ลำดับ หมายเลข สายทาง หมานเหตุ
1. M2 ตาก–มุกดาหาร -
2. M3 สุรินทร์–บึงกาฬ -
3. M4 นครสวรรค์–อุบลราชธานี -
4. M52 สุพรรณบุรี–ชัยนาท -
5. M53 วงแหวนรอบนอกกรุงเทพฯ รอบที่ 2 ด้านตะวันตก–บางปะหัน -

ทางหลวงพิเศษในอดีต

ในอดีตมีการจัดทางหลวงบางสายทางให้เป็นทางหลวงพิเศษ (ป้ายเลขทางหลวงและป้ายบอกทางจะมีพื้นหลังสีเขียวและตัวอักษรสีขาว) โดยปัจจุบันสายทางเหล่านี้ถูกเปลี่ยนประเภททางหลวงเป็นประเภทอื่น

รายชื่อสายทางที่เคยเป็นทางหลวงพิเศษ
หมายเลข สายทาง ชื่อถนน สถานะในอดีต สถานะปัจจุบัน หมายเหตุ
7 ชลบุรี–แหลมฉบัง–พัทยา ถนนชลบุรี–พัทยา ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ไม่เก็บค่าผ่าทาง) ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (เก็บค่าผ่าทางและควบคุมการเข้าออกเต็มรูปแบบ) เชื่อมต่อกับทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ให้เป็นสายทางเดียวกัน และมีการเก็บค่าผ่านทาง
31 ดินแดง-อนุสรณ์สถาน ถนนวิภาวดีรังสิต ทางหลวงพิเศษหมายเลข 31 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 31
35 ดาวคะนอง–วังมะนาว ถนนพระรามที่ 2 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 35 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 35 มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เปลี่ยนประเภททางหลวง จากทางหลวงพิเศษ เป็นทางหลวงแผ่นดิน โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2556[2]
37 บางขุนเทียน–พระประแดง ถนนกาญจนาภิเษก (ด้านใต้) ทางหลวงพิเศษหมายเลข 37 ทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 (ทางพิเศษกาญจนาภิเษก) รวมเป็นสายทางเดียวกับทางหลวงพิเศษหมายเลข 9 และหมายเลขทางหลวง 37 ถูกนำไปใช้งานกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 37 (เลี่ยงเมืองชะอำ–ปราณบุรี)
338 อรุณอมรินทร์–นครชัยศรี ถนนบรมราชชนนี ทางหลวงพิเศษหมายเลข 338 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 338 มีประกาศในราชกิจจานุเบกษา ให้เปลี่ยนประเภททางหลวง จากทางหลวงพิเศษ เป็นทางหลวงแผ่นดิน โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556[3]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น