รายชื่อแขกในพระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 และสมเด็จพระราชินีคามิลลา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
  ประเทศที่มีตัวแทนที่ยืนยันการเข้าร่วมแล้ว
สมเด็จพระเจ้าชาลส์และสมเด็จพระราชินีคามิลลาใน ค.ศ. 2019

พระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 และสมเด็จพระราชินีคามิลลาในฐานะพระมหากษัตริย์และสมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพจัดขึ้นในวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 2023 โดยมีผู้ได้รับเชิญประมาณ 2,200 คน ซึ่งรวมถึงสมาชิกราชวงศ์ ผู้แทนจากนิกายคริสตจักรแห่งอังกฤษ นักการเมืองที่มีชื่อเสียงจากสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพ ตลอดจนประมุขแห่งรัฐและเชื้อพระวงศ์ต่างประเทศ[1] แขกจาก 203 ประเทศได้รับเชิญเข้าร่วมพิธีนี้[2]

ต่อไปนี้เป็นรายพระนามและชื่อพระบรมวงศานุวงศ์และพระประยูรญาติของสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 และสมเด็จพระราชินีคามิลลา รวมถึงพระบรมวงศ์ต่างประเทศและบุคคลสำคัญที่เสด็จพระราชดำเนินและเดินทางเข้าร่วมพระราชพิธี

ราชวงศ์สหราชอาณาจักร[แก้]

เจ้าชายและเจ้าหญิงแห่งเวลส์พร้อมด้วยพระโอรส-ธิดา เจ้าชายจอร์จ เจ้าหญิงชาร์ลอตต์ และเจ้าชายหลุยส์เสด็จมาร่วมงานพระราชพิธีราชาภิเษก

พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3[แก้]

พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2[แก้]

พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6[แก้]

พระโอรส-ธิดาในเจ้าหญิงมาร์กาเร็ต เคานท์เตสแห่งสโนว์ดอน และครอบครัว:

พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5[แก้]

พระราชนัดดาในสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 และครอบครัว:

ราชินิกุลโบวส์-ลีออน[แก้]

  • เซอร์ไซม่อนและแคโรไลน์ เลดีโบวส์-ลีออน (พระญาติชั้นพระมาตุลาและภรรยา)

ราชสกุลเมานต์แบ็ตเทน[แก้]

ราชินิกุลแชนด์ และราชินิกุลพาร์กเกอร์-โบลส์[แก้]

พระราชสันตติวงศ์ในสมเด็จพระราชินีคามิลลา[แก้]

ครอบครัวในพันตรีบรูซ แชนด์[แก้]

  • แอนนาเบล เอลเลียต (พระกนิษฐภคินีในสมเด็จพระราชินี; นางพระกำนัลในสมเด็จพระราชินี)
    • เบนจามินและแมรี-แคลร์ เอลเลียต (พระภาคิไนยในสมเด็จพระราชินีและภรรยา)
      • อาร์เธอร์ เอลเลียต (พระญาติชั้นพระนัดดาในสมเด็จพระราชินี; มหาดเล็กในสมเด็จพระราชินี)
      • ไอค์ เอลเลียต (พระญาติชั้นพระนัดดาในสมเด็จพระราชินี)
    • อลิซและลุค เออร์วิน (พระภาคิไนยในสมเด็จพระราชินีและสามี)
      • โอติส เออร์วิน (พระญาติชั้นพระนัดดาในสมเด็จพระราชินี)
      • ไวโอเล็ต เออร์วิน (พระญาติชั้นพระนัดดาในสมเด็จพระราชินี)
    • แคเธอริน เอลเลียต (พระภาคิไนยในสมเด็จพระราชินี)
  • อาเยชา แชนด์ (พระภาติยะในสมเด็จพระราชินี)

สกุลมิดเดิลตัน[แก้]

พระราชวงศ์ต่างประเทศ[แก้]

ตามราชประเพณี พระมหากษัตริย์จากต่างประเทศไม่ได้ทรงเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษก แต่สมาชิกพระราชวงศ์ต่างประเทศหรือผู้แทนพระองค์เข้าร่วมแทน อย่างไรก็ตาม พระมหากษัตริย์จากต่างประเทศทั้ง 9 พระองค์ได้ยืนยันการเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกแล้ว

พระราชวงศ์ที่ยังปกครองประเทศ[แก้]

พระมหากษัตริย์ต่างประเทศ 10 พระองค์รวมทั้งสมเด็จพระราชาธิบดีแห่งภูฏาน (ซ้าย) สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งเนเธอร์แลนด์ (กลาง) และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (ขวา) เสด็จเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษก

พระราชวงศ์ไร้บัลลังก์[แก้]

สมเด็จพระราชินีแอนน์-มารีแห่งเฮลเลนส์เป็นสมาชิกราชวงศ์ต่างประเทศที่ถูกล้มล้างสถาบันพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่ประกาศการเข้าร่วม

พระราชวงศ์ระดับท้องถิ่น[แก้]

สหราชอาณาจักร[แก้]

นายกรัฐมนตรีและอดีตนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร[แก้]

นายกรัฐมนตรีริชี ซูแน็กจะเข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษกพร้อมด้วยอดีตนายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักรทั้ง 7 ท่าน

ตำแหน่งใหญ่แห่งรัฐ[แก้]

ประเทศอังกฤษ[แก้]

ประเทศสกอตแลนด์[แก้]

คณะรัฐมนตรี[แก้]

รัฐมนตรีคนอื่น[แก้]

หัวหน้าพรรคการเมืองพรรคอื่น[แก้]

สมาชิกรัฐสภา[แก้]

มุขมนตรีภายใต้การดูแลของรัฐบาลสหราชอาณาจักร[แก้]

ผู้นำพรรคการเมืองอื่น ๆ ในประเทศที่อยู่ภายใต้การดูแล[แก้]

สมาชิกสมัชชาใหญ่[แก้]

สมาชิกสภาขุนนาง[แก้]

กองทัพสหราชอาณาจักร[แก้]

ข้าราชการพลเรือน[แก้]

นครลอนดอน[แก้]

เจ้าหน้าที่ตราอาร์ม[แก้]

ดินแดนภายใต้อธิปไตยของสหราชอาณาจักร[แก้]

ดินแดนโพ้นทะเลของบริเตน[แก้]

ราชอาณาจักรเครือจักรภพ[แก้]

ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เดวิด เฮอร์ลีย์ (ซ้าย) แมรี ไซม่อน (กลาง) และเดมซินดี คิโระ (ขวา) เข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษก

ประเทศแอนทีกาและบาร์บิวดา[แก้]

ประเทศออสเตรเลีย[แก้]

ประเทศบาฮามาส[แก้]

ประเทศเบลีซ[แก้]

ประเทศแคนาดา[แก้]

ประเทศกรีเนดา[แก้]

ประเทศจาเมกา[แก้]

ประเทศนิวซีแลนด์[แก้]

ประเทศปาปัวนิวกินี[แก้]

  • ปาปัวนิวกินี เซอร์บ็อบ ดาเด ผู้สำเร็จราชการปาปัวนิวกินี
    • ปาปัวนิวกินี โคนี่ อิกวน รองประธานรัฐสภาแห่งปาปัวนิวกินี
    • ปาปัวนิวกินี จัสติน ทคัทเชนโก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
    • ปาปัวนิวกินี เรนโบ เปทา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังและการวางแผนแห่งชาติ
    • ปาปัวนิวกินี ไทเอส ซานซาน เลขานุการฝ่ายบริหารงานบุคคล
    • ปาปัวนิวกินี กิสุวัต สินีนาวิน อดีตสมาชิกรัฐสภาจากเมืองนาแว

ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส[แก้]

ประเทศเซนต์ลูเชีย[แก้]

ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์[แก้]

หมู่เกาะโซโลมอน[แก้]

ประเทศตูวาลู[แก้]

เครือจักรภพแห่งประชาชาติ[แก้]

ผู้นำของประเทศสมาชิกในเครือจักรภพ รวมทั้งนายกรัฐมนตรีบังกลาเทศ เชก ฮาซินา (ซ้าย) ประธานาธิบดีไซปรัส นิโกส คริสโตดูไลเดส (กลาง) และประธานาธิบดีมาลาวี ลาซารัส ชาเควรา (ขวา) เข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษก

บุคคลสำคัญจากต่างประเทศ[แก้]

ประธานาธิบดีฝรั่งเศส แอมานุแอล มาครง (ซ้าย) สุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งสหรัฐ จิล ไบเดิน (กลาง) และนายกรัฐมนตรีเยอรมนี โอลัฟ ช็อลทซ์ (ขวา) เข้าร่วมพระราชพิธีราชาภิเษก

ผู้นำรัฐบาลต่างประเทศ[แก้]

ผู้แทนรัฐบาลต่างประเทศ[แก้]

นักการทูต[แก้]

องค์การระหว่างประเทศ[แก้]

ผู้นำทางศาสนา[แก้]

จัสติน เวลบี อาร์ชบิชอปแห่งแคนเทอเบอรีจะเป็นประธานในพระราชพิธีราชาภิเษก

คริสต์ศาสนา[แก้]

คริสตจักรแห่งอังกฤษ[แก้]

คริสตจักรแห่งไอร์แลนด์[แก้]

คริสตจักรแห่งสกอตแลนด์[แก้]

คริสตจักรเอพิสโกพัลแห่งสกอตแลนด์[แก้]

คริสตจักรแห่งเวลส์[แก้]

คริสต์ศาสนานิกายอื่น ๆ[แก้]

ผู้นำทางศาสนาอื่น[แก้]

ราชสำนักเซนต์เจมส์[แก้]

เซเลบริตี[แก้]

พลเมือง[แก้]

ผู้ได้รับเหรียญเกียรติยศแห่งจักรวรรดิอังกฤษ จำนวน 450 รายได้รับเชิญให้เข้าร่วมงานพระราชพิธีที่มหาวิหารเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ เพื่อระลึกถึงการรับใช้และการสนับสนุนของพวกเขาต่อชุมชนในท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงการระบาดทั่วของโควิด-19 ตัวแทนจากองค์กรการกุศลอีก 400 คนได้รับเชิญให้เข้าร่วมชมพระราชพิธีราชาภิเษกและขบวนแห่ที่โบสถ์เซนต์มาร์กาเร็ต ในมหาวิหารเวสต์มินสเตอร์แอบบีย์ 200 คนได้รับเลือกจากสมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 และสมเด็จพระราชินีคามิลลาจากกองทุน Prince's Trust, กองทุน Prince's Foundation, กองทุนของบาร์นาโด, กองทุนการรู้หนังสือแห่งชาติ และอิโบนีฮอร์สคลับ อีก 200 คนได้รับการเสนอชื่อโดยรัฐบาลในสมเด็จฯ เพื่อรับรู้ถึงการมีส่วนร่วมของพวกเขาในวันพระราชพิธีราชาภิเษกและรวมถึงผู้คนจากสมาคมลูกเสือแห่งสหราชอาณาจักร สมาคมเนตรนารีแห่งสหราชอาณาจักร องค์กรรถพยาบาลเซนต์จอห์น และโครงการบริการพลเมืองแห่งชาติ

ผู้ที่ไม่ได้ร่วมพระราชพิธีราชาภิเษก[แก้]

แหล่งข่าวจากอังกฤษรายงานว่ารัฐบาลของประเทศอัฟกานิสถาน ประเทศเบลารุส ประเทศอิหร่าน ประเทศพม่า ประเทศรัสเซีย ประเทศซีเรีย และประเทศเวเนซุเอลา ไม่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมพิธีราชาภิเษก ในทำนองเดียวกัน คำเชิญถูกส่งไปยังนักการทูตอาวุโสของประเทศเกาหลีเหนือและประเทศนิการากัวเท่านั้น แทนที่จะเป็นถึงผู้นำตามลำดับ

หมายเหตุ[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 เข้าร่วมงานเลี้ยงรับรองพระราชวงศ์ต่างประเทศและบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ณ พระราชวังบักกิงแฮม
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 พระมหากษัตริย์ที่มีรายนามดังต่อไปนี้เป็นประมุขของประเทศที่เป็นรัฐสมาชิกของเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
  3. เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของคณะผู้แทนของประเทศนิวซีแลนด์ในพระราชพิธีราชาภิเษก

อ้างอิง[แก้]

  1. Syed, Armani (5 April 2023). "Everything to Know About King Charles III's Coronation". Time. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 April 2023. สืบค้นเมื่อ 18 April 2023.
  2. "More than 2,200 guests to attend King Charles' coronation at Westminster Abbey". Reuters. 1 May 2023. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 May 2023. สืบค้นเมื่อ 1 May 2023.
  3. Stacey, Danielle (17 January 2023). "Prince Albert and Princess Charlene confirm attendance at King Charles's coronation". Hello!. สืบค้นเมื่อ 19 January 2023.
  4. "ประกาศสำนักพระราชวัง ในหลวง พระราชินี จะเสด็จฯ เยือนสหราชอาณาจักร วันที่ 4-7 พ.ค." 2023-05-02.
  5. ประกาศสำนักพระราชวัง 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2566