ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pitt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63: บรรทัด 63:
จากนั้นในวันที่ [[23 พฤศจิกายน]] ปีเดียวกัน ที่พันธมิตรประกาศชุมนุมแบบ ''ม้วนเดียวจบ'' ได้แต่งตั้งแกนนำขึ้นอีก 2 คน คือ นาง[[มาลีรัตน์ แก้วก่า]] เป็นผู้แทนของ[[ผู้หญิง]] และ นาย[[ศรัณยู วงษ์กระจ่าง]] เป็นตัวแทนของศิลปิน
จากนั้นในวันที่ [[23 พฤศจิกายน]] ปีเดียวกัน ที่พันธมิตรประกาศชุมนุมแบบ ''ม้วนเดียวจบ'' ได้แต่งตั้งแกนนำขึ้นอีก 2 คน คือ นาง[[มาลีรัตน์ แก้วก่า]] เป็นผู้แทนของ[[ผู้หญิง]] และ นาย[[ศรัณยู วงษ์กระจ่าง]] เป็นตัวแทนของศิลปิน


== เครือข่ายพันธมิตรฯ ==
== โครงสร้างพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ==
[[ไฟล์:The first PAD announcement 2006-2-11 .jpg|thumb|300px|การประกาศเปิดตัวพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเป็นครั้งแรก เมื่อเย็นวันที่ [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] ที่[[ท้องสนามหลวง]]]]
[[ไฟล์:The first PAD announcement 2006-2-11 .jpg|thumb|300px|การประกาศเปิดตัวพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเป็นครั้งแรก เมื่อเย็นวันที่ [[11 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2549]] ที่[[ท้องสนามหลวง]]]]
=== ภาคเหนือ ===
=== ภาคเหนือ ===
บรรทัด 87: บรรทัด 87:


==== แกนนำสหภาพฯ ====
==== แกนนำสหภาพฯ ====
* นาย[[ศิริชัย ไม้งาม]] ประธานสหภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
* นาย[[ศิริชัย ไม้งาม]] ประธานสหภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
* นาย [[สาวิทย์ แก้วหวาน]] เลขาธิการสมาพันธ์รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) <ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000099795 "รัฐวิสากิจ"ร่วมไล่"หุ่นเชิด"กับพันธมิตรฯ นัดหยุดงาน 26-27 ส.ค.]</ref> และอดีตแกนนำสหภาพการรถไฟแห่งประเทศไทย (สายของ [[สมศักดิ์ โกศัยสุข]] )
* นาย [[สาวิทย์ แก้วหวาน]] เลขาธิการสมาพันธ์รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) <ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000099795 "รัฐวิสากิจ"ร่วมไล่"หุ่นเชิด"กับพันธมิตรฯ นัดหยุดงาน 26-27 ส.ค.]</ref> และอดีตแกนนำสหภาพการรถไฟแห่งประเทศไทย (สายของ [[สมศักดิ์ โกศัยสุข]] )
** นายสุภิเชษฐ์ สุวรรณชาตรี ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ การรถไฟแห่งประเทศไทย สาขาหาดใหญ่<ref>[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9510000101974 รถไฟสายใต้ร่วมอารยะขัดขืนหยุดเดินรถพรุ่งนี้เช้า]</ref>
** นายสุภิเชษฐ์ สุวรรณชาตรี ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ การรถไฟแห่งประเทศไทย สาขาหาดใหญ่<ref>[http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9510000101974 รถไฟสายใต้ร่วมอารยะขัดขืนหยุดเดินรถพรุ่งนี้เช้า]</ref>
บรรทัด 190: บรรทัด 190:
{{คำพูด|เพราะทุกคนในประเทศไทยต่างมีอาชีพทั้งนั้น อาจต้องเพิ่มเติมหรือเอาตามนั้น คนที่มีอาชีพอะไรก็ไปลงทะเบียนในอาชีพนั้น แล้วเวลาเลือกก็เลือกคนกลุ่มนั้น จะได้มีผู้แทนที่หลากหลาย ทุกวันนี้ไม่ใช้ผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนกลุ่มทุนรวมตัวเป็นกระจุกๆ จึงเป็นไปไม่ได้ที่คนกลุ่มนี้จะไปทำงานเพื่อคนทุกกลุ่ม เมื่อพันธมิตรฯ ออกแบบมาเช่นนี้จะมีตัวแทนจากหลายหลาย อาชีพ ทั้งหมอ ทั้งสื่อมวลชน ทำให้เกิดความงดงามในสภาขึ้น|สมศักดิ์ โกศัยสุข}}
{{คำพูด|เพราะทุกคนในประเทศไทยต่างมีอาชีพทั้งนั้น อาจต้องเพิ่มเติมหรือเอาตามนั้น คนที่มีอาชีพอะไรก็ไปลงทะเบียนในอาชีพนั้น แล้วเวลาเลือกก็เลือกคนกลุ่มนั้น จะได้มีผู้แทนที่หลากหลาย ทุกวันนี้ไม่ใช้ผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนกลุ่มทุนรวมตัวเป็นกระจุกๆ จึงเป็นไปไม่ได้ที่คนกลุ่มนี้จะไปทำงานเพื่อคนทุกกลุ่ม เมื่อพันธมิตรฯ ออกแบบมาเช่นนี้จะมีตัวแทนจากหลายหลาย อาชีพ ทั้งหมอ ทั้งสื่อมวลชน ทำให้เกิดความงดงามในสภาขึ้น|สมศักดิ์ โกศัยสุข}}


== ปฏิกิริยาของแต่ละฝ่าย ==
=== ฝ่ายรัฐบาล ===
วันศุกร์ที่ [[30 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]] นาย[[จักรภพ เพ็ญแข]] ลาออกจากรัฐมนตรีประจำ[[สำนักนายกรัฐมนตรี]]<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000063058 “เพ็ญ” แถลงลาออกแล้ว อ้างเพื่อ “รักษาขุนให้อยู่รอด”] 30 พฤษภาคม 2551</ref> และในวันนี้พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได้ประกาศเปลี่ยนเป้าหมายในการชุมนุม เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสมัครลาออกทั้งคณะ เพื่อรับผิดชอบต่อปัญหาบ้านเมืองที่เกิดขึ้น และยังกล่าวหาด้วยว่ารัฐบาลชุดนี้เป็นรัฐบาลหุ่นเชิดของ พ.ต.ท.[[ทักษิณ ชินวัตร]] โดยที่พันธมิตรให้เหตุผลในการขับไล่อยู่ 12 ประการ<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000063338 ]</ref><ref>มติชน,[http://www.matichon.co.th/matichon/matichon_detail.php?s_tag=01p0102310551&day=2008-05-31&sectionid=0101] 31 พฤษภาคม 2551</ref> หลังจากนั้น นาย[[สมศักดิ์ โกศัยสุข]] ขึ้นเวทีปราศัยแล้วประกาศต่อสู้กับรัฐบาลสมัครขั้นแตกหัก โดยสั่งให้ผู้ชุมนุมทุกคนปักหลักชุมนุมต่อไป<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]] [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000063410 “สมศักดิ์” รัวกลองรบ! ขับไล่ “หมัก-รบ.นอมินี” ไร้ความชอบธรรม]</ref>

[[ภาพ:Samak in nbt.jpg|thumb|200px|นายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรีแถลงในรายการพิเศษทางช่อง 9 และ NBT ว่าจะสลายการชุมนุมด้วยกำลังทหารและตำรวจ แต่ท้ายสุดก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น]]
วันเสาร์ที่ [[31 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2551]] เวลาประมาณ 09.00 น. นาย[[สมัคร สุนทรเวช]] [[รายนามนายกรัฐมนตรีของไทย|นายกรัฐมนตรี]] ประกาศจะสลายการชุมนุมด้วยกำลังตำรวจและทหารผ่านทางรายการพิเศษทาง[[ช่อง 9]] และ [[NBT]] แต่ท้ายสุดก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ซึ่งบรรดาแกนนำและผู้เข้าร่วมได้เรียกร้องให้ผู้ที่อยู่ที่บ้านร่วมกันออกมาชุมนุมให้มากที่สุด<ref>เว็บบล็อกโอเคเนชั่น [http://www.oknation.net/blog/print.php?id=265302 สมัคร ปอดแหก เลิกสลายการชุมนุม]</ref>

เช้าวันที่ [[2 กันยายน]] พ.ศ. 2551 [[รัฐบาล]]ประกาศใช้ [[พระราชกำหนด]]การบริหารราชการใน[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] ในเขต[[กรุงเทพมหานคร]] หลังมีผู้ชุมนุมกลุ่ม นปช.เสียชีวิต 1 คน จากการปะทะกันที่บริเวณแยก จปร.ระหว่างกลุ่มนปช.จาก[[ท้องสนามหลวง]] กับกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนฯ]] แต่ที่[[กองบัญชาการกองทัพบก]] พล.อ.[[อนุพงษ์ เผ่าจินดา]] [[ผู้บัญชาการทหารบก]] ในฐานะประธานคณะกรรมการใน[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] ได้แถลงภายหลังการประชุมที่มีผู้บริหารหน่วยงานระดับสูงที่เกี่ยวข้อง เช่น [[ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ]] [[แม่ทัพภาคที่ 1]] รวมทั้ง[[ปลัดกระทรวงกลาโหม]]เข้าร่วม โดยที่ พล.อ.อนุพงษ์ ระบุ และย้ำว่า

{{คำพูด|สถานการณ์ในขณะนี้เกินกว่าสถานการณ์ฉุกเฉิน เพราะสังคมมีการแตกออกเป็นสองฝ่าย ดังนั้นสิ่งที่ทางฝ่ายคณะกรรมการที่พวกกระผมดูแลอยู่นี้จะป้องกันไม่ให้ทั้ง สองฝ่ายปะทะกันเท่านั้น เวลานี้ให้รัฐสภาแก้ปัญหาดีที่สุด เพราะรัฐสภาต้องรับผิดชอบประเทศให้มากกว่านี้ ขณะเดียวกัน เวลานี้กระบวนการทางศาลก็กำลังดำเนินการอยู่แล้ว|พล.อ.[[อนุพงษ์ เผ่าจินดา]]}}

{{วิกิซอร์ซ|พระราชกำหนด การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘}}
ต่อมาในวันอาทิตย์ที่ [[14 กันยายน]] พ.ศ. 2551 นาย[[สมชาย วงศ์สวัสดิ์]] [[นายกรัฐมนตรี]] พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก และ พล.ต.อ.[[พัชรวาท วงษ์สุวรรณ]] ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้ร่วมกันแถลงยกเลิกประกาศใช้[[พระราชกำหนด]]การบริหารราชการใน[[สถานการณ์ฉุกเฉิน]] พ.ศ. 2548 ในพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]]ที่[[กองบัญชาการกองทัพไทย]] พร้อมกันนี้นายสมชายยังได้เรียกร้องให้ทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน เพื่อยุติความรุนแรงความขัดแย้ง<ref>[http://hilight.kapook.com/view/28851 ยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินมีผลวันนี้ สมชาย วอนยุติความขัดแย้ง]</ref>

=== ฝ่ายที่สนับสนุน ===
วันพฤหัสบดีที่ [[28 สิงหาคม]] พ.ศ. 2551 [[สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจการรถไฟแห่งประเทศไทย]] สาขา[[นครราชสีมา]] พนักงาน[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ทุกหน่วยทุกฝ่าย ทั้งพนักงานรถจักร คนขับ ช่างเครื่อง หน่วยซ่อมบำรุง และเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานทุกสถานีใน จ.นครราชสีมา ประมาณ กว่า 100 คน ในจำนวนนี้เป็นพนักงานขับรถกว่า 40 คน ได้แจ้งขอลาป่วยหยุดทำงานตั้งแต่ 2-3 วันขึ้นไป พร้อมกันกับพนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทยทั่วประเทศ จึงทำให้ขาดแคลนพนักงานในการทำงาน ส่งผลให้ขบวนรถไฟขาขึ้นอีสานมาจากกรุงเทพฯ เที่ยวต่าง ๆ ทยอยยกเลิกการเดินทาง ตั้งแต่เวลา 15.00 น.เป็นต้นมา มีเพียงรถไฟขาล่องเข้ากรุงเทพฯ สำหรับวันที่ 28 ส.ค. เท่านั้นที่ยังเดินรถตามปกติ แต่ในวันที่ 29 ส.ค. จะส่งผลให้ต้องหยุดเดินรถไฟทั้งขาล่องและขาขึ้น เหมือนกันหมด การเคลื่อนไหวดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งตามมติของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจรถไฟแห่งประเทศไทย<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9510000101974&#Opinion สหภาพแรงงานรถไฟฯ ลาป่วย! - หยุดเดินรถพร้อมกันทั่วประเทศแล้ว], 28 สิงหาคม 2551</ref>

[[ภาพ:Injurer 29082008..JPEG|thumb|right|ประชาชนผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ที่เจ้าหน้าที่ตำรวจหลายร้อยนาย บุกเข้าใช้กำลังรื้อเวทีปราศรัยของกลุ่มพันธมิตรฯ ที่บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ เมื่อเวลาประมาณ 11.00 น.วันที่ 29 ส.ค.]]

พนักงานเดินรถไฟการรถไฟแห่งประเทศไทย พร้อมด้วยสหภาพ[[ท่าเรือ]] สหภาพ[[การบินไทย]] สหภาพ[[การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย]] สหภาพ[[การประปา]]และสหภาพ[[ขสมก]]. นัดหยุดงานเพื่อกดดัน[[รัฐบาล]]ลาออก ขณะเดียวกัน พันธมิตรฯ จังหวัด[[จังหวัดภูเก็ต|ภูเก็ต]] [[จังหวัดสงขลา|สงขลา]] และ[[จังหวัดกระบี่|กระบี่]] ร่วมกันปิดสนามบิน[[ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต|ภูเก็ต]] [[ท่าอากาศยานหาดใหญ่|หาดใหญ่]] และ[[ท่าอากาศยานนานาชาติกระบี่|กระบี่]] งดเที่ยวบินขึ้น-ลง ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ มีผลให้ผู้ที่กำลังเดินทางขึ้นเครื่องบินต้องกลับไปยังรีสอร์ท โรงแรม หรือที่พักเพื่อรอดูสถานการณ์ ขณะที่แบบสอบถามพบว่าชาวต่างชาติยืนยันที่จะไม่กลับมาท่องเที่ยวประเทศไทยอีกด้วย<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/specialreport/specialreportnews.php?id=43 สนามบิน"ดอนเมือง"สุดปั่นป่วน สั่งปิดภูเก็ตหาดใหญ่กระบี่แล้ว - กรุงเทพธุรกิจ & คม ชัด ลึก]</ref>

[[ภาพ:People's Alliance for Democracy (PAD) take cover from tear gas.jpg|thumb|right|บริเวณหน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลที่ตำรวจใช้แก๊สน้ำตายิ่งใส่ผู้ชุมนุม]]

นาวาอากาศตรีคฑาทอง สุวรรณทัต กัปตันเครื่องบินโบอิง 737-400 เที่ยวบินในประเทศ ของ บริษัท [[การบินไทย]] จำกัด (มหาชน) ได้เดินทางมาขึ้นเวทีปราศรัยของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในบริเวณทำเนียบรัฐบาล หลังจากเสร็จภาระกิจการขับ[[เครื่องบิน]]
{{คำพูด|ผมถือว่าพวกท่าน คือ วีรบุรุษวีรสตรี ขอได้รับความขอบคุณจากผมไว้ ณ ที่นี้ด้วย|น.ต.คฑาทอง สุวรรณทัต<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000101896 เซอร์ไพรส์! กัปตันการบินไทยขึ้นเวทีพันธมิตรฯ], 28 สิงหาคม 2551</ref>}}

วันพุธที่ [[8 ตุลาคม]] 2551 เวลาประมาณ 06.15 น. เที่ยวบินที่ TG1040 [[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] มุ่งตรงไปยังท่าอากาศยาน จ.ขอนแก่น กัปตันเครื่องบินปิดประตูเครื่องบินปฏิเสธรับ ส.ส.ของพรรคพลังประชาชนขึ้นเครื่อง โดย ส.ส.คนดังกล่าว คือ นางฟาริดา สุไลมาน ส.ส.[[สุรินทร์]] เขต 1 พรรคพลังประชาชนทั้งนี้ ก่อนที่กำหนดเครื่องจะออก กัปตันคนดังกล่าวได้ตรวจสอบรายชื่อผู้โดยสาร จากนั้นเมื่อพบว่ามีชื่อ ส.ส.พลังประชาชนด้วย กัปตันในเครื่องแบบจึงออกมายืนที่งวงทางเชื่อมเข้าเครื่อง พร้อมกับประกาศให้ทราบว่า “เที่ยวบินนี้ไม่รับทรราช เที่ยวบินนี้ไม่รับ ส.ส.[[พรรคพลังประชาชน]] และนักการเมืองที่ทำร้ายประชาชนขึ้นเครื่อง ผมจะไม่รับพวกคุณขึ้นเครื่องตลอดชีวิต ต่อมาในเวลาประมาณ 09.00 น. เที่ยวบินการบินไทยที่ 1002 ดอนเมือง-อุดรธานี ซึ่งจะออกเดินทางในเวลา 09.25 น. กัปตันและนักบินก็ประกาศที่จะไม่รับ ส.ส.พลังประชาชน 2 คน ประกอบไปด้วย นายไชยา พรหมมา ส.ส.หนองบัวลำภู [[พรรคพลังประชาชน]] และนางชมพู จันทาทอง ส.ส.[[หนองคาย]] เขต 1 พรรคพลังประชาชน ขึ้นเครื่องด้วยเช่นกัน อนึ่ง หลังจากที่วานนนี้ (7 ต.ค.) หลังจากรัฐบาลได้สั่งการให้ตำรวจใช้ความรุนแรงในการสลายผู้ชุมนุมกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่บริเวณรัฐสภา และลานพระบรมรูปทรงม้า โดยเริ่มต้นปฏิบัติการตั้งแต่เช้าตรู่ จนส่งผลให้มีผู้ชุมนุมได้รับบาดเจ็บเกือบ 400 คน และเสียชีวิต 3 คนนั้น มีรายงานข่าวว่า สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจทั่วประเทศ ทั้ง[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] (ร.ฟ.ท.) [[การท่าเรือแห่งประเทศไทย]] (กทท.) และสหภาพแรงงานบริษัท [[การบินไทย]] จำกัด (มหาชน) เตรียมนัดหยุดงานเพื่อเข้าร่วมการชุมนุมกับ[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] และมีมาตรการตอบโต้ หลังจาก[[รัฐบาล]]ใช้ความรุนแรงเข้าสลายการชุมนุมฯ

หลังจากเหตุการณ์ 7 ตุลาทมิฬ [[สภาทนายความ]] ได้ออกแถลงการณ์สภาทนายความ เรื่องอำนาจพนักงานสอบสวนที่ขัดรัฐธรรมนูญและขัดต่อกติการะหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง จากกรณีที่พนักงานสอบสวนได้ยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นในคดีที่กล่าวหาแกนนำ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เป็น[[กบฏ]]และข้ออื่นๆ เป็นตัวอย่างให้เห็นถึงการใช้อำนาจที่เหลื่อมล้ำและไม่ชอบธรรมกับประชาชนที่ สุจริต ซึ่งเรื่องนี้สภาทนายความไม่คัดค้านให้ความเห็นแย้งมาโดยตลอดว่ากระบวนการ ใช้อำนาจสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณความอาญาที่พนักงานสอบสวนมักอ้างเสมอว่าจะขออำนาจศาลให้คุมตัวผู้ต้องหา เป็นกรณีที่ไม่ชอบด้วยหลักนิติธรรมและขัดกับหลักกฎหมายโดยชัดแจ้ง สภาทนายความจึงขอแถลงการณ์มาเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องโปรดพิจารณาไตร่ตรอง และดำเนินการให้มีการบังคับใช้กฎหมายให้สมจริงตามหลักนิติธรรมและมาตรฐานสากลทั่วโลก 7 ข้อ<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120593 สภาทนายฯ ตั้งคณะทำงาน กม.ช่วยประชาชนถูกตำรวจทำร้าย], 10 ตุลาคม 2551</ref>

ส่วนทางด้านกลุ่ม 40 ส.ว.ได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันและลดเงื่อนไขแห่ง[[โศกนาฏกรรม]] ได้แก่ การออกคำแถลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม เรียกร้องให้รัฐบาลหลีกเลี่ยงใช้ความรุนแรงต่อประชาชน ที่ชุมนุมกันอย่างสันติ จากนั้นเรียกร้องให้เลื่อนการประชุมรัฐสภาในวันที่ 7 ตุลาคม หลังจากรัฐบาลสั่ง[[การสลายการชุมนุมหน้าอาคารรัฐสภา 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551|ให้สลายการชุมนุม]] และแสดงการประท้วงด้วยการไม่เข้าร่วมประชุมรัฐสภา เนื่องจากไม่ต้องการเป็นเครื่องมือสร้างความชอบธรรมให้กับการแถลงนโยบายของรัฐบาล ขณะที่ประชาชนนับร้อยถูกทำร้ายบาดเจ็บอย่างรุนแรงหน้ารัฐสภา รวมถึงการตั้งกระทู้ถามรัฐบาลในปัญหาความรุนแรงดังกล่าว และเรียกร้องทุกภาคส่วนทั้งในและนอกประเทศร่วมกันกดดันรัฐบาลไทย ให้ยุติการใช้ความรุนแรงต่อประชาชน รวมทั้งยื่นคำร้องต่อ[[ศาลปกครองสูงสุด]]ให้ไต่สวนฉุกเฉิน เพื่อหยุดยั้งการใช้ความรุนแรงของรัฐบาลโดยทันที ตลอดจนเรียกร้องให้สอบสวน และดำเนินการทางกฎหมายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ รับผิดชอบต่อการละเมิด[[สิทธิมนุษยชน]] และสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนไทย ฉะนั้น ในฐานะที่ OHCHR เป็นหน่วยงานสำคัญขององค์การสหประชาชาติที่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน และเป็นสำนักเลขาธิการของ[[คณะมนตรีด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ]] กลุ่ม 40 ส.ว.จึงขอเรียกร้องให้ OHCHR ใช้ความพยายามในการกระทำอย่างเหมาะสมเพื่อหยุดยั้งและป้องกันการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในประเทศไทย<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120665 ส.ว.ร้องยูเอ็น! ค้าน รบ.โจรตั้ง คกก.สอบโจรเหตุ 7 ตุลาทมิฬ ], 10 ตุลาคม 2551</ref>

=== ฝ่ายที่ต่อต้าน ===
{{ดูเพิ่มที่|แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ}}
{{ดูเพิ่มที่|รายชื่อกรณีการปะทะระหว่างกลุ่มต่อต้านพันธมิตรฯ กับกลุ่มพันธมิตรฯ}}
ในคืนวันพฤหัสบดีที่ [[19 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2551]] ขบวนของกลุ่มต่อต้านพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นำโดย[[แนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ]] ได้เคลื่อนขบวนจาก[[สนามหลวง]]มาหยุดอยู่ที่บริเวณสี่แยก จ.ป.ร. (หน้าอาคาร[[กระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]) เผชิญหน้ากับตอนท้ายขบวนของพันธมิตรฯ โดยยังไม่มีเหตุปะทะกันเกิดขึ้น ด้านตำรวจได้จับตามองสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดเหตุรุนแรง<ref>''มติชน'', [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=36877&catid=1 พันธมิตรเตรียมเคลื่อนบุกทำเนียบ'จำลอง' ย้ำห้ามพกอาวุธ ตร.ระดมกำลัง5พันรับมือ], 19 มิถุนายน 2551</ref><ref>''ประชาไท'', [http://www.prachatai.com/05web/th/home/12575 สถานการณ์การชุมนุม มัฆวาน – สนามหลวง คืนก่อนวันทุบหม้อข้าว], 19 มิถุนายน 2551</ref>

[[ภาพ:Focus the head.jpg|thumb|right|เจ้าหน้าที่ตำรวจหน่วยสลายการชุมนุม ใช้ปืนจ่อหัวแนวร่วมพันธมิตรฯ บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ ขณะเข้าสลายการชุมนุม พร้อมกับแพร่ภาพดังกล่าวไปทั่วโลก เป็นเหตุให้แนวร่วมพันธมิตรฯทั่วประเทศ พร้อมใจลุกฮือขึ้นมาต่อต้านรัฐบาลอย่างรุนแรง]]
เวลาประมาณ 18.00 น.มีนายตำรวจที่รักษาความปลอดภัย ประจำอยู่ในทำเนียบรัฐบาลกว่า 20 นาย ต่างพากันปืนรั้วออกจากทำเนียบ ทางฝั่งตรงข้าม[[สำนักงานยูเอ็น]] เชิง[[สะพานมัฆวานรังสรรค์]] โดยมีการ์ดพันธมิตรฯบางส่วนช่วยอำนวยความสะดวกในการออกจากพื้นที่ทำเนียบด้วย ในวันนี้[[ทนายความ]]ของพันธมิตรฯได้ยื่นอุทธรณ์คำสั่งศาลที่ให้ย้ายออกพ้นทำเนียบ ว่า ต้องขอโต้แย้งในทางวิชาการที่ก่อนหน้านี้เคยส่งให้[[ศาลรัฐธรรมนูญ]]และ[[ศาลปกครอง]]พิจารณาในเรื่องสิทธิ[[การชุมนุม]] แต่ครั้งนี้มีการพิจารณาออกคำสั่งเอง

วันศุกร์ที่ [[29 สิงหาคม]] พ.ศ. 2551 เกิดการปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมกลุ่มพันธมิตรฯ ที่ชุมนุมอยู่ภายในทำเนียบรัฐบาลกับเจ้าหน้าที่[[ตำรวจ]]ที่พยายามเข้าไปสลายการชุมนุม เป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บก่อนเหตุการณ์จะคลี่คลายลงในช่วงบ่าย และเกิดการกระทบกระทั่งอีกครั้งในช่วงหัวค่ำที่หน้า[[กองบัญชาการตำรวจนครบาล]]เมื่อมีการใช้[[แก๊สน้ำตา]]กับกลุ่มผู้ชุมนุม จนเป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 19 คน เป็นชาย 11 คน หญิง 7 คน และเด็ก 1 คน ในขณะที่สถานีโทรทัศน์ [[NBT]] กลับรายงานว่าไม่มีการใช้แก๊สน้ำตาและประชาชนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บแม้แต่คนเดียว<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000102134 *อำมหิตผิดมนุษย์! ตร.ตีคนแก่ สกัดห้ามเข้าสมทบพันธมิตรฯที่ทำเนียบฯ], 29 สิงหาคม 2551</ref><ref>''BBC News'', [http://news.bbc.co.uk/2/hi/in_depth/7588114.stm Pressure mounts on Thailand's PM], 29 August 2008</ref><ref>''The Bangkok Post'', [http://www.bangkokpost.com/topstories/topstories.php?id=130124 Playing the foreign card], August 29, 2008.</ref>

วันเสาร์ที่ [[30 สิงหาคม]] พ.ศ. 2551 [[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ทรงห่วงใยต่อเหตุการณ์ชุมนุมที่เกิดขึ้น โดยทรงกำชับให้หน่วยแพทย์พยาบาล[[สภากาชาดไทย]]เตรียมพร้อมบุคลากร ทีมแพทย์ ยา [[เวชภัณฑ์]]และจนรถพยาบาลฉุกเฉิน เพื่อเตรียมพร้อมรักษาพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บหากมีเหตุปะทะกันเกิดขึ้น พร้อมรถสื่อสารฉุกเฉิน ติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ดาวเทียมได้อีก 25 เลข และเพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุดได้ตั้งหน่วยแพทย์ที่เชิง[[สะพานชมัยมรุเชฐ]] และประสาน[[สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน]] หรือ [[ศูนย์นเรนทร]] วางตำแหน่งรถพยาบาลเข้าช่วยเหลือประชาชนให้ได้เร็วที่สุด<ref>ไทยรัฐ, [http://www.thairath.co.th/onlineheadnews.html?id=102444 สมเด็จพระเทพฯ ทรงห่วง สถานการณ์ชุมนุมที่เกิดขึ้น], 30 ส.ค. 51</ref>

วันอาทิตย์ที่ [[31 สิงหาคม]] พ.ศ. 2551 เวลา 10.00 น.กลุ่มผู้ชุมนุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่ได้รับบาดเจ็บจากการที่ตำรวจเข้าสลายการชุมนุม โดยใช้[[กระบอง]]ตีและใช้โล่ผลักดันกลุ่มผู้ชุมนุม และรื้อค้นเวที จำนวน 45 คน ได้เดินทางเข้าแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน สน.[[ดุสิต]] เพื่อให้ดำเนินคดีต่อเจ้าหน้าที่[[ตำรวจ]], ผู้สั่งการ และผู้ที่อยู่เบื้องหลังเหตุความรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ [[29 สิงหาคม]]ที่ผ่านมา โดย พ.ต.อ.สมชาย เชยกลิ่น ผกก.สน.ดุสิต จัดสถานที่ห้องประชุมชั้น 3 และพนักงานสอบสวนไว้รับแจ้งความ<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9510000102785 แจ้งจับตำรวจรัฐเถื่อน! รุมทำร้ายประชาชน], 31 สิงหาคม 2551</ref>

เวลาประมาณเกือบเที่ยงคืนของวันจันทร์ที่ [[1 กันยายน]] พ.ศ. 2551 ได้มีกลุ่ม[[นปก.]]จำนานหลายพันคนบุกผ่าน[[แยกจปร.]]และหน้าสถานีตำรวจนางเลิ้งเข้าปะทะกับการ์ดของฝ่ายพันธมิตร โดยที่เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ได้ห้ามปราม โดยอ้างว่าต้องการจะยึดทำเนียบคืน จึงมีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งสองฝ่าย ขณะเดียวกันทหารจาก[[กองทัพภาคที่ 1]]ได้เสริมกำลังด้วยโล่ และกระบองมากั้นระหว่างทั้ง 2 ฝ่าย

วันพฤหัสบดีที่[[ 9 ตุลาคม]] พ.ศ. 2551 ในรายการวิทยุชื่อ “''เดอะ นิวส์ โชว์ กับ คุณปลื้ม''” ดำเนินรายการโดย ม.ล.[[ณัฏฐกรณ์ เทวกุล]] ที่ออกอากาศทางคลื่น 97.0MHz ในช่วงเวลาประมาณ 13.00-14.00 น. ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ได้หยิบแถลงการณ์ของสภาเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาแห่งเอเชีย และสำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษา [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ที่ออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย กรณีอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์ 8 สถาบัน และสถาบันจิตเวชศาสตร์เจ้าพระยา ที่ออกมาประกาศว่าจะไม่รับรักษา คณะรัฐมนตรี และ ส.ส.พรรคร่วมรัฐบาล และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่แต่งเครื่องแบบ และแจ้งยศชั้น เพื่อตอบโต้การกระทำรุนแรงต่อประชาชนของตำรวจในวันอังคารที่ 7 ต.ค.จนทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บกว่า 400 คน และเสียชีวิต 2 คน ยกเว้นในกรณีฉุกเฉิน ม.ล.ณัฐกรณ์ยังกล่าวในรายการตอนหนึ่งว่า

{{คำพูด|...ก่อนอื่นเลย ฝ่ายที่รุกก่อนคือพันธมิตรฯ ฝ่ายที่รับแค่ประคองสถานการณ์ให้ผ่านช่วงนี้ให้ได้ก็คือ ฝ่ายตำรวจ สอง ต่อให้ตำรวจเป็นฝ่ายร้าย ซึ่งไม่ได้เป็นความจริง คุณก็ต้องรักษาเขาอยู่ดี คุณก็ต้องรักษาเขาอยู่ดี...

..ผมก็เป็นกำลังใจให้เจ้าหน้าที่ตำรวจต่อไปก็แล้วกัน สาเหตุที่ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ออกมาระบุว่า พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบกไม่ยืนข้างประชาชน จึงออกมาบอกว่า พล.อ.อนุพงษ์ อยู่ฝ่ายทักษิณ เนื่องจาก ผบ.ทบ.ไม่ยอมทำการปฏิวัติรัฐประหาร โดยข้อมูลดังกล่าวเขาอ้างอิงมาจากหนังสือพิมพ์บางฉบับ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ ซึ่งเป็นสื่อในระบอบทักษิณ ภายใต้เงินทุนของกลุ่มการเมืองของ นายเนวิน ชิดชอบ...|[[ณัฏฐกรณ์ เทวกุล]]}}
ช่วงท้ายรายการ ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ระบุด้วยว่า วันนี้ตนหมดศรัทธากับระบบจริงๆ แต่ก็เชื่อว่าสงครามครั้งนี้จะยาว 5 ปี 10 ปี และตนก็จะสู้ต่อไป<ref>ผู้จัดการอนนไลน์, [http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9510000120380&Keyword=%bb%c5%d7%e9%c1 “หม่อมปลื้ม” เลือกข้าง “ฆาตกรมือเปื้อนเลือด” - ด่าอาจารย์หมอ 8 สถาบัน], 10 ตุลาคม 2551</ref>

วันที่ [[12 ตุลาคม]] พ.ศ. 2551 ที่[[สนามหลวง]]ก็มีการชุมนุมของ[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) ซึ่งก็เป็นไปอย่างสงบเช่นเดียวกัน โดยก่อนหน้านี้ แกนนำ นปช.ได้ปราศรัยถึงการทำหน้าที่ของตำรวจในการสลายการชุมนุมว่าถูกต้องแล้ว ขณะเดียวกันก็ไม่เห็นด้วยกับแนวทางของ พล.ต.อ.[[สล้าง บุนนาค]] ที่จะบุกยึด[[ทำเนียบรัฐบาล]]คืนมา<ref>[http://news.mcot.net/politic/inside.php?value=bmlkPTE5ODA1Jm50eXBlPWNsaXA= พล.ต.อ.สล้าง ยืนยันยึดทำเนียบฯ คืนจากพันธมิตรฯ]</ref> ซึ่ง พล.ต.อ.สล้าง กล่าวไว้ว่า

{{คำพูด|มีตำรวจมาพูดกับผมว่าตอนนี้ตำรวจไม่กล้าทำงานเพราะผู้ใหญ่ไม่กล้า ตัดสินใจ ผมจึงคิดกับเพื่อนตำรวจนอกราชการที่อดีตเคยเป็นครูตชด. ปจ. คอมมานโด กองปราบปราบ ตั้งกองกำลังกู้ทำเนียบรัฐบาล โดยจะเสนอรัฐบาลว่าจะเข้าไปยึดทำเนียบฯคืนเอง เบื้องต้นรวบรวมตำรวจนอกราชการได้กว่า 1 พันนาย ซึ่งถ้าหากตำรวจในราชการอยากร่วมด้วยก็ขอให้ไปลาราชการมาร่วมกันทำงาน ส่วนชาวบ้านทั่วไปก็มาร่วมได้แต่ให้มาทำงานในส่วนอื่นเพราะไม่ได้รับการฝึกมา ซึ่งกองกำลังสามารถ รวบรวมได้ภายใน 5 วัน ส่วนเรื่องเงินทุนถ้าไม่มีใครบริจาคสนับสนุน จะขายทรัพย์สินส่วนตัวซึ่งเป็นเหรียญที่มีค่าที่ตนเองเก็บไว้มานาน จะมีการประมูลขายใครสนใจสนับสนุนก็ให้ติดต่อมาได้|พล.ต.อ.[[สล้าง บุนนาค]]<ref>[http://news.sanook.com/politic/politic_310356.php สล้าง แถลงตั้งกองกำลังยึดทำเนียบคืน]</ref>}}

วันที่ [[30 ตุลาคม]] พ.ศ. 2551 ความแตกแยกทางการเมืองเดินเข้าสู่จุดอันตรายอีกครั้ง โดยเมื่อเวลา 3.00 น. มีคนร้ายลอบปา[[ระเบิด]]สังหารเข้าใส่การ์ดกลุ่มพันธมิตรฯ บริเวณ[[สะพานมัฆวานรังสรรค์]] ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1 ราย และได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก นอกจากนี้ยังพบผู้ถูกยิงเสียชีวิตอีก 1 รายบริเวณใกล้จุดเกิดเหตุ คือนายสังเวียน รุจิโมระ ซึ่งเป็นการ์ดพันธมิตรฯ อายุ 46 ปี ถูกยิงท้ายทอยนอนเสียชีวิตอยู่ใต้ต้นหูกวางด้านหลังบช.น. โดยตำรวจเองยังไม่ทราบว่าฝ่ายไหนลงมือยิง ระหว่างเกิดเหตุชุลมุน คนร้ายปาระเบิดสังหารเอ็ม 87 เข้าใส่การ์ดพันธมิตรฯ ที่สะพานมัฆวานฯ ทำให้มีผู้รับบาดเจ็บนับสิบคน โดยมีอาการถึงขั้นโคม่าถึง 2 ราย

ต่อมาได้เกิดเหตุที่บริเวณข้างเต็นท์นอนของการ์ดพันธมิตรฯ พบหลุมลึกประมาณ 3 เซนติเมตร กว้างประมาณ 6 เซนติเมตร กระเดื่องระเบิดสังหารชนิดเอ็ม 87 ตกอยู่ในที่เกิดเหตุ นอกจากนี้ยังมีรถจักรยานยนต์ที่จอดอยู่บริเวณใกล้เคียงได้รับความเสียหาย อีก 2 คัน

เวลา 03.40 น. ได้เกิดเหตุระทึกขวัญขึ้นอีกครั้ง เมื่อมีชายฉกรรจ์ 2 คนขับขี่รถจักรยานยนต์มาจากแยกนางเลิ้ง มุ่งหน้าเข้ามายังสะพานชมัยมรุเชฐ พร้อมกับชักปืนยิงปืนขึ้นฟ้า 1 นัด แล้วขับรถจักรยานยนต์หลบหนีไปอย่างรวดเร็ว

ต่อมาเวลา 04.00 น.มีเสียงปืนดังขึ้นอีกประมาณ 10 นัด บริเวณแยกมิกสวันฝั่งประตูหลัง กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ตรงข้าม[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ภายหลังเกิดเหตุทางการ์ดพันธมิตรฯ ประมาณ 20 คนได้ตรึงกำลังพื้นที่บริเวณแยกมิสกวัน เพื่อรอดูสถานการณ์จนถึงช่วงเช้า

สำหรับรายชื่อของการ์ดพันธมิตรฯ ที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุถูกปาระเบิด และถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลวชิระพยาบาลจำนวน 6 ราย ประกอบด้วย
# นายราชัน จันทร์ปลูก อายุ 27 ปี มีอาการแผลฉีกขาดที่หัวเข่า, ข้อเท้าซ้าย 3 เซนติเมตร
# นายจีระศักดิ์ อินทรีย์ อายุ 16 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดที่คอด้านขวา
# นายสงกรานต์ คำด้วง อายุ 23 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดต้นขาขวา
# นายปัญญา กติกา อายุ 44 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดบริเวณศีรษะ หลัง แผลฉีกขาดที่ศีรษะ
# นายทศพร สุขอิ่มใจ อายุ 17 ปี แผลรูเจาะข้อเท้าซ้าย
# นายเสถียร ทับมะลิผล อายุ 53 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดที่คอและศีรษะด้านซ้าย<ref>แนวหน้า, [http://www.naewna.com/news.asp?ID=130976 "จำลอง"ซัดรบ.สั่งฆ่าปชช. ปาระเบิดพธม. สาหัส2-บาดเจ็บอีกนับสิบ], 30 ตุลาคม 2551</ref>

== ผลกระทบจากการชุมนุม ==

เวลาประมาณ 13.00 น. กลุ่มอาจารย์ คณะกรรมการนักเรียน และผู้ปกครองโรงเรียนราชวินิตมัธยม ได้เดินทางมายื่นคำร้องต่อ[[ศาลแพ่ง]] [[ถนนรัชดาภิเษก]] ต่อพลตรีจำลอง ศรีเมือง กับพวกรวม 6 คน กรณีได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตย ที่ปิด[[ถนนพระราม 5]] บริเวณแยก[[เบญจมบพิตร]] [[ถนนพิษณุโลก]] ตั้งแต่แยกนางเลิ้งจนถึงแยกพาณิชยการ โดยนักเรียนได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก ทั้งจากการจราจรที่ติดขัด เสียงดังจากการปราศรัยด้วยถ้อยคำหยาบคาย การตรวจค้นกระเป๋าของนักเรียนที่เดินทางมาเรียนเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มผู้ชุมนุม รวมถึงกลิ่นเหม็นจากขยะจำนวนมาก และการอุจจาระ ปัสสาวะ ไม่เป็นที่เป็นทาง ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายแก่ร่างกาย อนามัยเสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นการทำละเมิด จึงขอให้ทางกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ย้ายสถานที่ชุมนุม โดยคิดถึงเยาวชนของชาติเป็นหลัก ยืนยันว่าไม่มีพรรคการเมืองใดอยู่เบื้องหลังการยื่นคำร้องต่อศาลครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ศาลได้มีการนัดพร้อมคู่ความในวันที่ [[18 กันยายน]] เวลา 13.00 น.<ref>''ไทยรัฐ'', [http://www.thairath.co.th/online.php?section=newsthairathonline&content=95060 ศาลนัดฟังคำสั่ง30มิย. ครู-นร.ฟ้องพันธมิตรปิดถนน], 27 มิถุนายน 2551</ref>

นาย[[พิภพ ธงไชย]] แกนนำกลุ่ม[[พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย]] กล่าวถึง กรณีที่[[โรงเรียนราชวินิตมัธยม]]ยื่นฟ้องต่อ[[ศาลแพ่ง]] ขอให้รื้อถอนเวทีและงดการใช้เครื่องขยายเสียง รวมทั้ง เปิดช่องทางจราจรว่า ได้รับมอบหมายจากแกนนำพันธมิตรฯ ให้ไปพบกับอาจารย์ของ[[มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร]] และรักษาราชการแทนผอ.โรงเรียนราชวินิตมัธยม เพื่อหารือเกี่ยวกับเสียงที่รบกวนการเรียน การสอน และได้แก้ไขแล้ว โดยงดการใช้เสียงในช่วงที่มีการเรียนการสอน ส่วนการเปิดเส้นทางการจราจร ได้เชิญอาจารย์จากทั้ง 2 โรงเรียนมาดูพื้นที่แล้ว และทำความเข้าใจกันว่า จะเปิดเส้นทางที่ไม่กระทบต่อการชุมนุม ในชั่วโมงเร่งด่วน เพราะหากเปิดการจราจรทั้งหมด อาจทำให้กลุ่ม[[แนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ]] (นปช.) เข้ามาก่อความวุ่นวายได้ นอกจากนี้ ยังให้ชุดรักษาความปลอดภัยพันธมิตรฯ ขยายเขตจัดระเบียบการขายสินค้า ออกไปนอกพื้นที่โรงเรียน เพื่อรักษาความสะอาด ขณะเดียวกัน จะชดใช้ค่าเสียหายให้กับโรงเรียนราชวินิตมัธยม จากการที่ทำให้ต้นไม้ที่นักเรียนปลูกไว้เสียหาย และจะไม่มีการพูดคำหยาบคายบนเวที อย่างไรก็ตาม หากศาลแพ่งมีคำสั่งออกมาอย่างไร พันธมิตรก็พร้อมปฏิบัติตามโดยไม่มีเงื่อนไข แต่ขณะนี้ยังไม่ต้องการแสดงความเห็น เพราะเกรงว่าจะเป็นการละเมิดอำนาจศาล<ref>''Daily News Online'', [http://www.dailynews.co.th/web/html/popup_news/Default.aspx?Newsid=168500&NewsType=1&Template=1 พันธมิตรฯ พร้อมทำตามคำสั่งศาล หลังถูกนร.ฟ้อง], 28 มิถุนายน 2551</ref>

;'''ปฏิกิริยาของตลาดการเงิน'''
* วันศุกร์ที่ [[12 กันยายน]] พ.ศ. 2551 ดัชนี[[ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] (ตลท.) ปิดตลาดที่ระดับ 654.34 จุด เพิ่มขึ้น 7.54 จุด หรือ 1.17% ระหว่างวันปรับตัวสูงสุดที่ 654.34 จุด ต่ำสุดที่ 647.19 จุด มูลค่าการซื้อชาย 8,164.77 ล้านบาท นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิ 1,886.74 บ้านบาท นักลงทุนรายย่อยซื้อสุทธิ 1,294.05 ล้านบาท นักลงทุนสถาบันซื้อสุทธิ 592.69 ล้านบาท สำหรับดัชนีที่ปิดตัวในวันเดียวกันนี้ เกิดขึ้นหลังจากที่ประชุม[[สภาผู้แทนราษฎร]]เพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีมีอันต้องล่ม เพราะไม่ครบองค์ประชุม เนื่องจากพรรคร่วมรัฐบาลไม่เห็นด้วยกับการเสนอชื่อนาย[[สมัคร สุนทรเวช]] กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง จึงไม่เข้าร่วมประชุม ต้องเลื่อนการประชุมเลือกนายกฯ ไปเป็นวันที่ [[17 กันยายน]] พ.ศ. 2551<ref>ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, [http://marketdata.set.or.th/mkt/sectorialindices.do?language=th&country=TH ราคาดัชนีตลาดหลักทรัพย์], เข้าถึงข้อมูลวันที่ 12 กันยายน 2551</ref>

* การซื้อขายหลักทรัพย์ภาคเช้าวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ดัชนีปิดที่ระดับ 391.28 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 0.36 จุด เปลี่ยนแปลง 0.09% มูลค่าการซื้อ-ขายทั้งสิ้น 6,386.18 ล้านบาท สำหรับ5 อันดับ หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูง คือPTTEP ปิดที่ 93.00 บาท เพิ่มขึ้น 2.00 บาทPTT ปิดที่ 145.00 บาท เพิ่มขึ้น 1.00 บาท BANPU ปิดที่ 183.00 บาท เพิ่มขึ้น 2.00 บาท ADVANC ปิดที่ 73.00 บาท ลดลง -2.00 บาท<ref>[[กรุงเทพธุรกิจ]], [http://www.bangkokbiznews.com/2008/12/02/news_316771.php หุ้นไทยภาคเช้าปิดที่391.28จุดบวก0.36จุด], เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551</ref>

* สำหรับตลาดหุ้นไทย ดัชนีหุ้นปรับตัวลดลง -56.7% ในสกุลเงินเหรียญสหรัฐ หรือลดลงมากกว่าตลาดสหรัฐประมาณ 20% มีเหตุผลมากมายหลายประการที่จะอธิบาย ไล่มาตั้งแต่การขายสุทธิของกองทุนต่างชาติ จนถึงการถูกบังคับขาย หรือ Forced Selling โดยโบรกเกอร์ เพื่อรักษามูลค่าหลักประกันของลูกค้าไว้ จะได้ไม่ต้องเรียกหลักประกันเพิ่ม หรือ Margin Call และแน่นอนว่าอีกเหตุผลหนึ่งคือความตึงเครียดทางการเมืองที่กำลังเดือดพล่าน ระหว่างกองกำลังเสื้อเหลืองและเสื้อแดง<ref>โพสต์ทูเดย์, [http://www.posttoday.com/stockmarket.php?id=20504 เราใกล้ถึงจุดต่ำสุดหรือยัง?], เรียกข้อมูลวันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]]</ref>

;'''ระดับความน่าเชื่อถือ'''
* นายเจริญ วังอนานนท์ โฆษกสหพันธ์สมาคมท่องเที่ยวไทย (เฟสต้า) กล่าวว่า นายสมัคร สุนทรเวช ไม่ควรจะกลับเข้ามานั่งตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีก เพราะน่าจะขาดจริยธรรมไปแล้วจากผลการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และหากมีการเลือกกลับมารับตำแหน่งใหม่ก็เท่ากับว่าผู้ลงคะแนนเสียงให้นั้น ไม่มีจริยธรรม เพราะผู้ที่จะเข้ามาบริหารประเทศควรเข้ามาสร้างประโยชน์ให้กับสังคม ไม่ใช่สร้างความแตกแยกให้ส่วนรวมเพิ่มขึ้น จนอาจถึงขั้นสงครามกลางเมือง สำหรับแนวทางการเลือกนายกรัฐมนตรี อยากเสนอให้นำรายชื่อผู้ที่ได้รับเสนอชื่อ 4-5 คน แสดงวิสัยทัศน์แนวทางการบริหารจัดการประเทศต่อสาธารณะชนเพื่อให้สังคมมีส่วน รับรู้ว่าใครเป็นอย่างไร ก่อนที่จะมีการลงคะแนนเสียงคัดเลือก ส่วนการแก้ปัญหาด้วยการยุบสภาควรใช้เป็นวิธีสุดท้าย เพราะจะทำให้ชาติเสียโอกาสมาก และควรปล่อยให้การเมืองแก้ไขกันเองไปให้ถึงที่สุด<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/StockMarket/ViewNews.aspx?NewsID=9510000107914 ภาคธุรกิจรุมค้าน "หอกหัก" รีเทิร์นฯ สับเละ พปช. ขาดต่อมจริยธรรม], 11 กันยายน 2551</ref>

* นายพงษ์ศักดิ์ อัสสกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย กล่าวถึงคุณสมบัตินายกรัฐมนตรีคนใหม่ ต้องสามารถแก้ไขปัญหาวิกฤตของประเทศให้ได้ ซึ่งหอการค้าไทย และสภาหอการค้า เห็นพ้องกันว่า นายกฯ คนใหม่ควรจะมีคุณสมบัติ 5 ข้อ คือ ซื่อสัตย์ มีจริยธรรม เป็นผู้นำที่ดี มีความรู้ความสามารถ บริหารงานด้วยความโปร่งใส และต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องง่ายหรือเรื่องยาก ส่วนสิ่งที่ต้องเร่งรีบแก้ไข ภาคเอกชนเห็นว่า รัฐบาลชุดใหม่ต้องเลิกความแตกแยกทางความคิด และยกเลิก พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินในทันที หากสถานการณ์ยืดเยื้อจะไม่เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจในประเทศ เพราะจะทำให้ขาดความมั่นใจในการบริโภคในประเทศ กระทบการค้า การลงทุน ท่องเที่ยว ซึ่งได้มีการประเมินว่าหากยืดเยื้อถึงสิ้นปี ผลกระทบจะมีมากกว่า 1 แสนล้านบาท ซึ่งถือว่าสูงมาก หากเป็นเช่นนี้ผู้ประกอบการจะต้องปิดกิจการ และนั่งไหว้เจ้าเพื่อขอพรว่า พวกเราจะดำเนินธุรกิจต่อไปอย่างไร ซึ่งคงไม่มีใครอยากเห็น<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]], [http://www.manager.co.th/StockMarket/ViewNews.aspx?NewsID=9510000108292 เอกชนตะเพิด “หอกหัก” พ้นการเมือง-ชี้คุณสมบัติ 5 ข้อผู้นำใหม่], 12 กันยายน 2551</ref>

* นายอรุณศักดิ์ จรูญวงศ์นิลมล ผู้อำนวยการสายงานจัดการกองทุน บลจ. เอสซีบี ควอนท์ กล่าวว่า สำหรับ จีดีพีของประเทศทั้งปีน่าจะอยู่ที่ไม่เกิน 5% แต่ไม่น่าที่จะปรับตัวไปถึง 6%ได้ เนื่องจากปัญหาภายในประเทศที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองที่ยังหาข้อยุติไม่ได้ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้มองว่า หากมีการเปลี่ยนนายกฯจะสามารถเรียกความมั่นใจจากนักลงทุนได้ ซึ่งหากมีการเลือกนายกฯคนเก่ากลับมา จะทำให้การเมืองที่กำลังจะยุติยิ่งยืดเยื้อขึ้นไปอีก<ref>[[เอเอสทีวีผู้จัดการ]],[http://www.manager.co.th/StockMarket/ViewNews.aspx?NewsID=9510000108033 "บลจ."เชื่อไทยน่าลงทุน เหนือเพื่อนบ้านทุกด้าน], 12 กันยายน 2551</ref>

* นาย เสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ว่า ขอวิงวอนให้กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยุติการชุมนุมทั้งที่ท่า อากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า เพื่อลดความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงในปัจจุบัน เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญได้อ่านคำวินิจฉัยในส่วนของพรรคพลังประชาชน ด้วยมติเอกฉันท์ให้ยุบพรรคพลังประชาชน และตัดสิทธิทางการเมืองหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรค 5 ปี เท่ากับว่า นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าพรรคพลังประชาชน ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยปริยาย ซึ่งเป็นไปตามข้อเรียกร้องของกลุ่มพันธมิตรฯ ที่ต้องการให้นายกรัฐมนตรีลาออกแล้ว นายเสรีรัตน์ กล่าวด้วยว่า หากกลุ่มพันธมิตรฯ ยังต้องการชุมนุมกันต่อ ตนก็ยินดีจะจัดสถานที่ที่ไม่กระทบต่อการให้บริการของทั้ง 2 ท่าอากาศยานให้ชุมนุมกันต่อไปได้<ref>มติชน, [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1228209862&grpid=03&catid=01 ผอ.สุวรรณภูมิวอน พธม.เลิกชุมนุมหลังพปช.ถูกยุบ], เรียกข้อมูลวันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]]</ref>

* นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) เปิดเผยเมื่อวันที่ 2 ธันวาคมว่า ตั้งแต่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ต้องปิดให้บริการท่าอากาศยานตั้งแต่วันที่ 25 พ.ย.จนถึง 1 ธ.ค.51 รวม 7 วันทำให้ ทสภ. ต้องสูญเสียรายได้ไปกว่า 350ล้านบาท ซึ่งการสูญเสียนี้ยังไม่รวมความเสียหายของผู้ประกอบการการขนส่งสินค้าทาง อากาศที่ไม่สามารถส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศได้อีกประมาณกว่า 25,000 ล้านบาทและยังไม่รวมความเสียหายของสายการบินต่างๆอีกจำนวนหนึ่ง แม้ ทสภ. ต้องประสบปัญหาการสูญเสียรายได้ดังกล่าว ทาง ทสภ. ก็พยายามช่วยเหลือผู้โดยสารต่างประเทศที่ตกค้างอยู่ในประเทศให้สามารถ บินกลับบ้านโดยใช้สนามบิน อู่ตะเภาได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น โดย ทสภ. ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปให้บริการที่ศูนย์เช็คอินไบเทคบางนาซึ่งได้เปิดให้ บริการตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค.ที่ผ่านมา ซึ่งมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมาใช้บริการร่วม 1,300 คน คิดเป็น 17 เที่ยวบิน สำหรับวันนี้ได้รับรายงานว่า จะมีเที่ยวบิน 27เที่ยวบิน ทั้งนี้มีสายการบินที่ไปให้บริการที่ศูนย์ฯ นี้มีหลาย สายการบิน เช่น การบินไทย แอร์เอเชีย นกแอร์ ไชน่าเซาท์เทริน์ ครุ๊คแอร์ อีว่าแอร์ เป็นต้น นอกจากนี้เพื่อให้ผู้โดยสารระหว่างประเทศที่ไปใช้บริการที่สนามบินอู่ตะเภา ได้รับความสะดวกขึ้น ผู้อำนวยการ ทสภ. ยังได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ขนย้ายเครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระไปให้บริการที่ สนามบินอู่ตะเภาที่มีอุปกรณ์ค่อนข้างจำกัด โดย เครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระประกอบด้วยเครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระผู้โดยสารที่จะนำ ขึ้นเครื่อง (Baggage X-Ray) 2 เครื่อง เครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระผู้โดยสารที่จะถือขึ้นเครื่องบิน (Carry-on Baggage X-Ray) 2 เครื่องและเครื่องเอ็กซเรย์ตรวจวัตถุระเบิดแบบให้ผู้โดยสารเดินผ่าน (Walk-Through) 2 เครื่อง ซึ่งสามารถให้บริการได้ตั้งแต่เมื่อคืนวันที่ 1 ธ.ค. ที่ผ่านมา<ref>มติชน, [http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1228204409 ทอท.สูญรายได้แล้วกว่า 350 ล้านบาท], เรียกข้อมูลวันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]]</ref>

* ปัญหาทางการเมืองในประเทศที่ยังคงยืดเยื้อ และเพิ่มระดับความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้น เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ทั้ง S&P และ Fitch ประกาศปรับลดแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของไทยลง โดยเมื่อวันที่ [[1 ธันวาคม]] 2551 Standard & Poor’s (S&P) ได้ประกาศทบทวนแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของไทยลงสู่ 'เชิงลบ' จากเดิม 'มีเสถียรภาพ' อย่างไรก็ตาม S&P ยังคงอันดับความน่าเชื่อถือสำหรับตราสารหนี้สกุลเงินต่างประเทศ (Foreign Currency Credit Ratings) และสำหรับตราสารหนี้สกุลเงินในประเทศ (Local Currency Credit Ratings) ไว้ที่ระดับเดิม 'BBB+/A-2' และ 'A/A-1' ตามลำดับ โดย S&P มองว่า การยึดครองสนามบินนานาชาติทั้ง 2 แห่งในกรุงเทพฯ โดยกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนั้น ได้เพิ่มความเสี่ยงต่อการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของไทย ซึ่งได้ส่งผลกระทบที่ร้ายแรงต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ และเพิ่มความเป็นไปได้ที่ความรุนแรงจะลุกลามออกไปอย่างเห็นได้ชัด และพัฒนาการเหล่านี้อาจย้อนกลับไปสร้างแรงกดดันในทางลบต่อเศรษฐกิจไทยเพิ่ม ขึ้นไปจากผลกระทบจากภาวะชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก<ref>[[กรุงเทพธุรกิจ]], [http://www.bangkokbiznews.com/2008/12/02/news_316827.php หุ้นไทยภาคเช้าปิดที่391.28จุดบวก0.36จุด], เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551</ref>

* นายวิวัฒน์ กิตติพงศ์โกศล ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ กล่าวว่า ธนาคารจะช่วยเหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากการปิดท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งกลุ่มลูกค้าส่งออกทางเครื่องบินและธุรกิจโรงแรม ซึ่งจะพิจารณาเป็นรายๆ ไป ทั้งนี้ ธนาคารอาจพิจารณาปรับลดดอกเบี้ยตั๋วพีเอ็น ที่ใช้สั่งซื้อ วัตถุดิบให้กับลูกค้าที่ได้รับความเสียหาย เพื่อลดภาระด้านดอกเบี้ย ขณะเดียวกันก็อาจพิจารณายืดระยะเวลาการผ่อนชำระหนี้ออกไป ซึ่งขณะนี้ธนาคารก็เริ่มช่วยให้ลูกค้าบางรายผ่อนชำระน้อยลง เพราะธนาคารก็เข้าใจว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดปัญหาจากตัวลูกค้า <ref>โพสต์ทูเดย์, [http://www.posttoday.com/finance.php?id=20464 เอกชนเซ็งหมดทางพึ่งรัฐ], เรียกข้อมูลวันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2551]]</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:22, 1 มีนาคม 2552

สัญลักษณ์พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
ไฟล์:5 leader of people's alliance for democracy.jpg
5 แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (จากซ้าย) สนธิ ลิ้มทองกุล, สมศักดิ์ โกศัยสุข, สมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์, พล.ต.จำลอง ศรีเมือง, พิภพ ธงไชย

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย (People's Alliance for Democracy: PAD) เป็นกลุ่มการเคลื่อนไหวทางการเมืองในประเทศไทยช่วง พ.ศ. 2548 - 2551 โดยเป็นการรวมตัวจากหลายองค์กร จากสื่อมวลชน นักวิชาการ ศิลปิน รวมถึงองค์กรอิสระจากภูมิภาคทั่วประเทศ โดยมีจุดประสงค์ในการขับไล่นายกรัฐมนตรีประเทศไทยสามคนออกจากตำแหน่ง ได้แก่ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร, นายสมัคร สุนทรเวช และนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ เริ่มต้นจากเหตุการณ์ขับไล่ นายกรัฐมนตรี พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรจากคำอ้างที่ว่ามีผลประโยชน์ทับซ้อนกับธุรกิจส่วนตัว รวมไปถึงทฤษฎีสมคบคิดเรื่องแผนฟินแลนด์

พันธมิตรมีแกนนำหลักแบ่งออกเป็น 2 รุ่น คือ รุ่นที่ 1 ได้แก่ พล.ต.จำลอง ศรีเมือง , นายสนธิ ลิ้มทองกุล , นายสมศักดิ์ โกศัยสุข , นายพิภพ ธงไชย และนายสมเกียรติ พงษ์ไพบูลย์ และรุ่นที่ 2 ได้แก่ นายสำราญ รอดเพชร, นายศิริชัย ไม้งาม, นายสาวิทย์ แก้วหวาน, นายศรัณยู วงศ์กระจ่าง และนางมาลีรัตน์ แก้วก่า

ในเดือนพฤศจิกายน 2551 พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้เข้ายึดท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมืองเพื่อต่อรองกับนายกรัฐมนตรีสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ให้ลาออกจากตำแหน่ง ซึ่งส่งผลให้เที่ยวบินทุกเที่ยวหยุดทำการ [1] โดยนักเศรษฐศาสตร์เกษม พันธ์รัตนมาลา คาดการว่าประเทศจะสูญเสียกว่า 4,200 ล้านเหรียญสหรัฐจากการปิดสนามบินครั้งนี้[2] โดยก่อนหน้าในเดือนสิงหาคม ผู้สนับสนุนพันธมิตรประชาธิปไตยได้ทำการปิดท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานกระบี่ และปิดการเดินทางทางรถไฟสายใต้เพื่อกดดันให้นายกรัฐมนตรี สมัคร สุนทรเวช ลาออก[3]

สัญลักษณ์หลักของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จะมีการใช้สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์หลัก และมีการใส่เสื้อสีเหลืองพร้อมผ้าโพกศีรษะที่มีข้อความว่า "กู้ชาติ" และผ้าพันคอสีฟ้า [4]ซึ่งเป็นผ้าพันคอพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 12 ส.ค. 2549 [5] และมีมือตบเป็นเครื่องมือสัญลักษณ์

Asian Human Rights Commission ได้ระบุถึงเจตนาของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยว่ามีลักษณะของลัทธิฟาสซิสต์ และการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรไม่ใช่การเรียกร้องอย่างสันติ[6]

สาเหตุที่นำมาสู่การชุมนุม

ไฟล์:20080323 samesky21.jpg
นิตยสาร ฟ้าเดียวกัน ที่นำพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ขึ้นหน้าปก
  • เมื่อพรรคพลังประชาชนได้รับเลือกตั้งเข้ามาเป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล ได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภาอย่างชัดเจนว่า จะต้องแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 237 และ มาตรา 309 ทำให้ทางกลุ่มพันธมิตรฯ เกิดความเคลือบแคลงสงสัยว่าจะเป็นการช่วยให้ ทักษิณ ชินวัตร พ้นผิดจากคดีทุจริตต่างๆ จึงแสดงท่าทีคัดค้านอย่างชัดเจน
  • ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เคยทำเอาไว้ เช่น การใช้ความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ประชาชนในพื้นที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม ผู้ที่ถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้ต้องหาบางคนไม่ได้ถูกนำตัวไปขึ้นศาล เพราะเจ้าหน้าที่ของรัฐใช้ความเป็นศาลเตี้ยมาตัดสินปัญหา ส่งผลให้ญาติพี่น้องของผู้ตายเกิดความโกรธแค้น เพราะไม่ได้รับความเป็นธรรม และได้ส่งลูกหลานของตนไปฝึกฝนการก่อการร้าย จึงเป็นสาเหตุหลักที่นำไปสู่ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย, นโยบายการปราบปรามยาเสพติดแบบฆ่าตัดตอน ที่มีผู้เสียชีวิตแบบปริศนาประมาณ 2,700 กว่าศพ ฯลฯ[7]
  • อีกสาเหตุหนึ่งคือคณะกรรมการการเลือกตั้ง มีมติตัดสินให้ นายยงยุทธ ติยะไพรัช ได้ใบแดงเนื่องมาจากการซื้อเสียง มีโทษสูงสุดคือยุบพรรคและตัดสิทธิ์ทางการเมืองของกรรมการบริหารพรรค 5 ปี พร้อมทั้งส่งเรื่องขึ้นไปยังอัยการสูงสุด และอัยการสูงสุดสั่งฟ้องเนื่องจากคดีมีมูล ขณะนี้คดีอยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญซึ่งยังไม่มีคำวินิจฉัยออกมา[10]
ไฟล์:Mass of PAD.JPEG
พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เคลื่อนขบวนไปที่กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา
  • ส่วนประเด็นใหญ่ของการชุมนุมอีกประเด็นหนึ่งคือ เมื่อครั้งที่นายนพดล ปัทมะ ยังดำรงตำแหน่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ อยู่นั้น ได้ไปแอบตกลงร่วมกับประเทศกัมพูชา ทั้งๆที่ไม่ยอมเปิดเผยแผนที่ทับซ้อนบริเวณ เขาพระวิหารให้กับประชาชนคนไทยได้รับรู้ อย่างเพียงพอจึงทำให้ประชาชนทั่วประเทศเกิดความเคลือบแคลงใจ ต่างเดินทางเข้ากรุงเทพฯ ดังนั้น พันธมิตรฯ จึงเคลื่อนขบวนไปชุมนุมหน้ากระทรวงการต่างประเทศ เพื่อยื่นหนังสือทวงถามกรณีข้อพิพาทเรื่องเขาพระวิหาร เนื่องจากและหวงแหนแผ่นดินไทย เพราะเป็นเรื่องละเอียดอ่อนที่กระทบต่อหัวใจคนไทยทั้งประเทศ ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2551 เวลา 10.00 น.[14][15][16]
  • ในเวลา 14.00 น. ของวันเดียวกันนั้น นายนพดล ปัทมะ ได้แอบไปลงนามยินยอมให้กัมพูชาขึ้นทะเบียนปราสาทเขาพระวิหารเป็นมรดกโลกแต่เพียงฝ่ายเดียว ร่วมกับ นายอึง เซียน เอกอัครราชทูตกัมพูชา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง[17] และเป็นที่น่าสังเกตว่า พอหลังจากที่นายนพดลลงลงนามเพียงไม่กี่วัน นายนพดลรีบลาออกทันที
  • ต่อมานายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี (คนที่ 25) ได้ประกาศ "พรก.ฉุกเฉิน" เพื่อหวังที่จะสลายการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรฯ แต่ผลที่ตามมากลับยิ่งทำให้ประชาชนหลั่งไหลจากทั่วภูมิภาคของประเทศ และชาวไทยในต่างประเทศ ยิ่งเข้ามาร่วมชุมนุม ให้กำลังใจและบริจาคเงินช่วยเหลือพันธมิตรฯ มากกว่าเดิมเสียอีก

ก่อนและหลังการปฏิรูปโดย คปค.

นายสนธิ ลิ้มทองกุล และกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได้ให้สัมภาษณ์ข่าวเกี่ยวกับทฤษฎี "แผนฟินแลนด์" และกล่าวหาว่า พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ได้สมคบคิดกับอดีตผู้นำพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย เพื่อล้มล้างราชวงศ์จักรี ยึดอำนาจการปกครองราชอาณาจักรไทย และก่อตั้งรัฐคอมมิวนิสต์ ซึ่ง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร และอดีตผู้นำและผู้ร่วมพคท. ได้ปฏิเสธว่า แผนสมคบคิดนี้ไม่ได้มีอยู่จริง แต่มีประชาชนบางส่วนปักใจเชื่อว่าเป็นสิ่งที่เคยเกิดขึ้นจริงและกำลังถูกดำเนินการอยู่ ซึ่งเป็นสาเหตุให้คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ภายหลังรัฐประหารสำเร็จได้เปลี่ยนชื่อเป็นคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ) ก่อการปฏิวัติยึดอำนาจการปกครองจากรัฐบาลเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตย[18][19][20]

หลังจากเกิดการปฏิรูปโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทางกลุ่มพันธมิตรฯ ซึ่งแผนการเดิม จะมีการเคลื่อนไหวครั้งใหญ่ เพื่อขับไล่รัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ออกจากตำแหน่ง ก็ได้ยุติการชุมนุม ทางแกนนำกลุ่มพันธมิตรทั้ง 5 คน ก็ได้ตัดสินใจแยกทางกันตามปกติ ยุติการเคลื่อนไหวแล้ว แต่ก็ยังมีการจับตาทางฝ่ายของอดีตนายกรัฐมนตรีอยู่ เพื่อไม่ให้อดีตนายกรัฐมนตรีรวมทั้งคณะรัฐมนตรีในพรรคไทยรักไทย ที่ได้จัดตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้งปลายปี พ.ศ. 2550 แทรกแซงกระบวนการยุติธรรมหรือแทรกแซงระบบราชการ

การกลับมาเคลื่อนไหวของพันธมิตรฯ ในช่วงรัฐบาลสมัครและสมชาย

ไฟล์:พันธมิตร.jpg
กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ชุมนุมใหญ่บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ เพื่อคัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญ โดยมีประชาชนมาร่วมฟังการปราศรัยนับหมื่นคน เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2551

กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้กลับมารวมตัวกันอีกครั้ง ภายหลังการจัดตั้งรัฐบาลผสมของนายสมัคร สุนทรเวช โดยมีพรรคพลังประชาชนเป็นแกนนำ และ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เดินทางกลับมายังประเทศไทย พร้อมกับมีคำสั่งโยกย้าย อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ (ปชส.) ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ (ผบ.สตช.) อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งอาจมีลักษณะเป็นการแทรกแซงกระบวนการยุติธรรม และโยกย้ายข้าราชการอย่างไม่เป็นธรรม [21]

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จัดสัมมนาทางวิชาการโดยนักวิชาการ นักศึกษา และบุคคลที่สนใจในการเมืองที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ ในวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2551 [22]และจัดสัมมนาอีกครั้งในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2551

ในวันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได้กลับมาชุมนุมใหญ่เป็นครั้งแรกในรอบ 2 ปี นับตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 โดยเริ่มต้นชุมนุมกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยเพื่อคัดค้านการแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 รวมทั้งมีการรวบรวมรายชื่อประชาชนเพื่อถอดถอน ส.ส. ส.ว. ที่เข้าชื่อเสนอญัตติแก้ไขรัฐธรรมนูญ ในเวลาค่ำได้เคลื่อนขบวนไปยังหน้าทำเนียบรัฐบาล แต่ถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจสกัดกั้นไว้ที่บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ จึงได้ปักหลักปิดถนนราชดำเนินนอก ตั้งแต่บริเวณหน้าสำนักงานสหประชาชาติ จนถึงแยก จ.ป.ร. บริเวณหน้ากระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อย่างต่อเนื่อง

การชุมนุมดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง พร่อมกับการเข้าร่วมของสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจ [23][24] และในวันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2551 จึงได้เคลื่อนขบวนไปปิดล้อมทำเนียบรัฐบาล และชุมนุมต่อบนถนนพิษณุโลก [25]

26 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ตอนเช้ามืด มีกลุ่มชายฉกรรจ์แต่งกายด้วยชุดและโพกผ้าสีดำอำพรางใบหน้า พร้อมด้วยอาวุธบุกยึดสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT โดยที่พวกเขาอ้างตัวว่าเป็นนักรบศรีวิชัย ซึ่งเป็นผู้รักษาความปลอดภัยกลุ่มพันธมิตรฯ แต่ในที่สุดก็ถูกควบคุมตัวไปยังกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 1 จ.ปทุมธานี และเวลาประมาณ 8.30 น. กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้บุกรุกเข้าไปในสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT โดยมีวัตถุประสงค์ "เพื่อทวงสมบัติชาติคืนจากรัฐบาล เนื่องจากที่ผ่านมารัฐบาลใช้สถานีโทรทัศน์ดังกล่าวเป็นเครื่องมือในการโจมตีกลุ่มพันธมิตรฯ อย่างต่อเนื่อง" และต้องการปรับสัญญาณของ NBT เข้ากับ ASTV แต่ไม่สำเร็จ เพราะไม่สามารถถอดรหัสได้[26] แต่การเข้าบุกรุกครั้งนี้ได้รับการประณามจากสมาคมนักข่าวและหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย ว่า "ถือว่าเป็นการกระทำที่ละเมิดสิทธิเสรีภาพสื่อมวลชนอย่างรุนแรงและอุกอาจที่สุดครั้งหนึ่ง เพราะมีการคุกคาม ข่มขู่และขัดขวางการทำหน้าที่ของสื่อมวลชน"[27] และยังถูกประณามจากสมาคมผู้สื่อข่าวแห่งประเทศไทย และสมาพันธ์ผู้สื่อข่าวแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่า "การกระทำของผู้ชุมนุมในนามกลุ่มพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตย เป็นหนึ่งในเหตุการณ์ที่รุนแรงที่สุด และโจมตีเสรีภาพของสื่ออย่างโจ่งแจ่งที่สุด ขณะนี้สื่อมวลชนถูกคุกคาม ข่มขู่ และไม่ได้ทำหน้า ที่ของตนเอง และการบุก NBT ครั้งนี้ ถือเป็นสิ่งที่ไม่สามารถยอมรับได้"[28]

แกนนำชุดที่สอง

หลังจากปฏิบัติการเป่านกหวีดวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2551 พันธมิตรฯ ได้เข้าบุกยึด NBT และสถานที่ราชการหลายแห่งจนสุดท้ายเข้ายึดและชุมนุมที่หน้าทำเนียบรัฐบาล ส่งผลให้รัฐบาลยื่นเรื่องฟ้องศาลเพื่อออกหมายจับแกนนำ รวมทั้งนาย สุริยะใส กตะศิลา,นายเทิดภูมิ ใจดี,นายอมร อมรรัตนานนท์ และนายไชยวัฒน์ สินสุวงศ์[29] ต่อมาพันธมิตรฯ จึงได้มีการประกาศแกนนำชุดที่สองประกอบด้วย นายสาวิทย์ แก้วหวาน เลขาธิการสมาพันธ์แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) นายศิริชัย ไม้งาม ประธานสหภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย และนายสำราญ รอดเพชร อดีตผู้สมัคร ส.ส.พรรคประชาธิปัตย์ อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และพิธีกรช่อง ASTV มานำการเคลื่อนไหวของกลุ่มพันธมิตรต่อไป หากแกนนำทั้ง 5 คนถูกเจ้าหน้าที่ตำรวจจับกุม[30]

จากนั้นในวันที่ 23 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน ที่พันธมิตรประกาศชุมนุมแบบ ม้วนเดียวจบ ได้แต่งตั้งแกนนำขึ้นอีก 2 คน คือ นางมาลีรัตน์ แก้วก่า เป็นผู้แทนของผู้หญิง และ นายศรัณยู วงษ์กระจ่าง เป็นตัวแทนของศิลปิน

เครือข่ายพันธมิตรฯ

การประกาศเปิดตัวพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเป็นครั้งแรก เมื่อเย็นวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 ที่ท้องสนามหลวง

ภาคเหนือ

  1. กลุ่มพันธมิตรพิษณุโลก มีนายภูริทัต สุธาธรรม เป็นแกนนำ[31]
  2. ชุมนุมลุ่มน้ำภาคเหนือตอนล่าง ประกอบด้วยประชาชนจากกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง อาทิเช่น ตาก สุโขทัย พิจิตร กำแพงเพชร นครสวรรค์ อุทัยธานี ฯลฯ[31]

ภาคตะวันออก

  1. กลุ่มพันธมิตรภาคตะวันออก มีนายสุทธิ อัชฌาศัย เป็นประธานเครือข่าย ประกอบด้วยประชาชนจากอำเภอต่างๆ ในเขตจังหวัดชลบุรี อาทิเช่น อ.เมือง อ.พนัสนิคม อ.ศรีราชา อ.บ้านบึง อ.สัตหีบ อ.บางละมุง อ.บ่อทอง อ.หนองใหญ่ อ.พานทอง อ.เกาะสีชัง รวมถึงประชาชนจากจังหวัด ระยอง ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา สระแก้ว จันทบุรี ตราด[32]
  2. กลุ่มพันธมิตรฯ พัทยา-นาเกลือ-บ้านบึง-พนัส มีนายยงยุทธ เมธาสมภพ เป็นประธานเครือข่าย[33]
  3. คณะทำงานพันธมิตรเพื่อประชาธิปไตยจังหวัดเลย มี นายหินชนวน อโศกตระกูล เป็นแกนนำ[34]

ภาคอีสาน

  1. สมัชชาประชาชนเพื่อประชาธิปไตยแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น มีนางเครือมาศ นพรัตน์ เป็นประธานสมัชชาประชาชนฯ และนายเธียรชัย นนยะโส เป็นรองประธานฯ[35]
  2. สมัชชาประชาชนภาคอีสานจังหวัดบุรีรัมย์ มีนางสำเนียง สุภัณพจน์ เป็นประธาน มีแนวร่วมเป็นองค์กรเครือข่าย 18 องค์กร[36]

ภาคใต้

  1. พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยสตูล มี นางอุดมศรี จันทร์รัศมี[37]และ อ.ประโมทย์ สังหาร[38] เป็นแกนนำ
  2. สมัชชาภาคใต้ 7 จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง (กำลังก่อตั้ง) [38]

สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์

  • ประกอบด้วยกลุ่มสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจจำนวน 43 แห่ง กลุ่มหลักอยู่ที่ สหภาพ รสก. การไฟฟ้า, สหภาพ รสก. การรถไฟ[39]
  • ดูเพิ่มเติม สมาพันธ์รัฐวิสาหกิจแรงงานสัมพันธ์ (สรส.) ประกอบด้วย สร.กสท. (การสื่อสารแห่งประเทศไทย) , สร.ท. (ทศท.) , สร.กปน. (การประปานครหลวง) , สร.กฟผ. (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) , สร.กบท. (การบินไทย)

แกนนำสหภาพฯ

  • นายศิริชัย ไม้งาม ประธานสหภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • นาย สาวิทย์ แก้วหวาน เลขาธิการสมาพันธ์รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ (สรส.) [40] และอดีตแกนนำสหภาพการรถไฟแห่งประเทศไทย (สายของ สมศักดิ์ โกศัยสุข )
    • นายสุภิเชษฐ์ สุวรรณชาตรี ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ การรถไฟแห่งประเทศไทย สาขาหาดใหญ่[41]
    • นายสาทร สินปรุ ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจการรถไฟแห่งประเทศไทย สาขานครราชสีมา[42]
    • นายพงษ์ฐิติ พงษ์ศิลามณี ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจบริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) [43]
    • นายสนาน บุญงอก ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ (ขสมก.) กำลังคน : สหภาพมีพนักงานขับรถและกระเป๋ารถเมล์รวม 9 พันคน แต่หากรวมกับพนักงานในส่วนอื่น ๆ ด้วยจะมีถึง 1.5 หมื่นคน[44]
    • สหภาพการบินไทย[45]
    • นายสมชาย ศรีนิเวศ ประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจ การประปานครหลวง ขึ้นกล่าวปราศรัยบนเวทีพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย บริเวณทำเนียบรัฐบาลว่า ต่อจากนี้ไปทางสหภาพฯ กปน.จะปฏิบัติการเชิงรุกตามแนวคิดของ พล.อ.พัลลภ ปิ่นมณี[46]
    • นายไพโรจน์ กระจ่างโพธิ์ เลขาธิการสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เปิดเผยว่า ในช่วงบ่ายวันที่ 1 ก.ย. นี้ จะมีแถลงชี้แจงภายหลังการประชุมร่วมกับสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจธนาคารของรัฐ ทั้งธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) และธ.ก.ส. เพื่อแสดงจุดยืนหรือแนวทางการเคลื่อนไหว [47]
  • นายอำนาจ พละมี คณะกรรมการฝ่ายการเมือง สรส.
  • นายคมสันต์ ทองศิริ รองประธานสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจการไฟฟ้านครหลวง

เครือข่ายสันติอโศก

เครือข่ายสันติอโศก มีพุทธสถานสันติอโศกและสาขาอีก 8 สาขา ดังต่อไปนี้[ต้องการอ้างอิง]

  1. พุทธสถานสันติอโศก ตั้งอยู่ถนนสุขาภิบาล 1 เขตบึงกุ่ม กรุงเทพฯ
  2. พุทธสถานปฐมอโศก จังหวัดนครปฐม
  3. พุทธสถานศีรษะอโศก จังหวัดศรีสะเกษ
  4. พุทธสถานศาลีอโศก จังหวัดนครสวรรค์
  5. พุทธสถานสีมาอโศก จังหวัดนครราชสีมา
  6. พุทธสถานราชธานีอโศก จังหวัดอุบลราชธานี
  7. พุทธสถานภูผาฟ้าน้ำ จังหวัดเชียงใหม่
  8. สังฆสถานทักษิณอโศก จังหวัดตรัง
  9. สังฆสถานหินผาฟ้าน้ำ จังหวัดชัยภูมิ

เครือข่าย NGO

  1. NGO ภาคใต้ มีแกนนำโดย นายบรรจง นะแส
  2. NGO ภาคเหนือ มีแกนนำโดย นายสุริยันต์ ทองหนูเอียด
  3. คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย (ครป.)

กลุ่มนักวิชาการ

  1. กลุ่มรัฐศาสตร์จุฬาฯ: ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา, ดร.สุริชัย หวันแก้ว, ดร.ไชยันต์ ไชยพร, ดร.วีระ สมบูรณ์, ดร.นฤมล ทับจุมพล[ต้องการอ้างอิง]
  2. กลุ่มนักวิชาการที่ใกล้ชิดกับเครือข่ายผู้จัดการ (อาทิ ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวานิช, ดร.ปราโมทย์ นาครทรรพ)
  3. กลุ่มนักวิชาการอื่นๆ อาทิ ดร.สุวินัย ภรณวลัย, ศ.ระพี สาคริก, นายไพศาล พืชมงคล, ศ.ดร.ภูวดล ทรงประเสริฐ

กลุ่มสว.

  • 20 สว. อาทิ น.ส.รสนา โตสิตระกูล ส.ว.กทม. น.ส.สุมล สุตะวิริยะวัฒน์ ส.ว.เพชรบุรี นายคำนูณ สิทธิสมาน ส.ว.สรรหา เข้าให้กำลังใจพันธมิตร ที่ทำเนียบรัฐบาล เมื่อเวลา 13.30 น. โดยประกาศขอเข้าร่วมกับพันธมิตรเป็นทัพหน้า เพราะหลายคนเกิดจากเวทีพันธมิตร โดยนายสนธิ ได้ขึ้นบนเวทีประกาศแนะนำตัวกลุ่ม ส.ว.แต่ละคน รวมถึง พล.อ.อ.ณพฤกษ์ มัณฑะจิตร อดีตรองผู้บัญชาการทหารอากาศที่เข้าให้กำลังใจด้วย[48]

กลุ่มศิลปิน

กลุ่มสื่อมวลชน

กลุ่มแนวร่วมอื่นๆ

  • แนวร่วมประชาชนเพื่อประชาธิปไตยเขตเยาวราช เขตสัมพันธวงศ์, เขตวงเวียน 22 กรกฎา[49]
  • เว็บพันธมิตร Puntamit.com พันธมัตรพิทักษ์ชาติและราชบัลลังก์ [50] หรือ นักรบออนไลน์

ทนายความ

สหรัฐอเมริกา

Young PAD เครือข่ายเยาวชนกู้ชาติ

สัญลักษณ์ของกลุ่ม Young PAD

หลังจากเกิดเหตุการณ์ปะทะกันระหว่าง นปช.กับ พันธมิตรฯที่แยกจปร. ทำให้นักศึกษากลุ่มหนึ่งนำโดย นายวสันต์ วานิชย์ ตัดสินใจรวมพลังกันจัดตั้งกลุ่ม เครือข่ายเยาวชนกู้ชาติ หรือ Young People"s Alliance For Democracy (Young PAD) โดยในวันเสาร์ที่ 6 กันยายน เวลาประมาณ 20.00 น. ได้เดินขบวนจากที่ชุมนุมที่สะพานมัฆวานฯไปอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ประกาศต่อต้านการดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของนายสมัคร สุนทรเวช และยังประกาศยุทธศาสตร์ป่าล้อมเมืองอารยะขัดขืนหยุดเรียนเป็นเวลา 3 วัน ตั้งแต่วันอังคารที่ 9 กันยายนเป็นต้นไป และหยุดติดต่อกันไปจนกว่ารัฐบาลจะลาออก การเคลื่อนไหวครั้งนี้มีนิสิตและนักศึกษาจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เข้าร่วมกว่า 80 สถาบัน ซึ่งก่อตั้งโดยการ์ดอาสาของพันธมิตรฯ คือ[51]

หลังจากนี้ทางกลุ่ม Young PAD ก็ได้มีเวทีจัดกิจกรรมของตัวเอง โดยใช้เวทีที่สะพานมัฆวานรังสรรค์เป็นหลัก

เหตุการณ์ วันที่ 7 ตุลาคม 2551 มีคณะทำงานและสมาชิก Young PAD ที่ได้เข้าร่วมกิจกรรมขยายพื้นที่ชุมนุมตั้งแต่คืนวันที่ 6 ไปจนถึงเช้าวันที่ 7 ตุลาคม ตลอดทั้งเหตุการณ์ คณะทำงานได้เปลี่ยนเป็นการ์ดเยาวชน ด้านหน้าถนนอู่ทอง และหน้า บชน. ทำให้มีสมาชิกบาดเจ็บสาหัส 1 คน และบาดเจ็บจากสะเก็ดระเบิดอีก 5 คน ที่เหลือโดนแก๊สน้ำตา

ทั้งนี้คณะทำงานทั้งหมดเลื่อนกิจกรรมที่ไม่เร่งด่วนออกไป เช่นกิจกรรมการเปิด Young PAD ภูเก็ต จากเดิมวันที่ 10 ไปเป็นวันที่ 13 แทน และในระยะเวลาช่วงหลังจากวันที่ 7 ไปจนถึงช่วงอาทิตย์นี้ คณะทำงานทั้งหมดจะออกไปแจกใบปลิว และให้ความรู้ประชาชน ในกรณีที่ตำรวจทำร้ายประชาชน ตามสถานที่สำคัญเช่น สีลม สยาม เป็นต้น เนื่องจากเห็นว่าสื่อมวลชนไม่ได้ให้ข้อเท็จจริงเท่าที่ควร

การเมืองใหม่  : ประชาภิวัฒน์

ในวันที่ 23 มิถุนายน 2551 นายสุริยะใส กตะศิลา ได้กล่าวต่อสื่อมวลชนว่าทางกลุ่มพันธมิตรฯ นั้นมีแนวคิดใหม่โดยหวังเพื่อลดจำนวนนักการเมืองหน้าเดิมคือ การจัดให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) 70% มาจากการคัดสรรจากภาคและส่วนอื่น แทนการเลือกตั้ง โดยได้ให้สาเหตุว่าการดำเนินงานรัฐสภาปัจจุบันไม่สามารถแก้ไขปัญหาการเมืองได้[52] โดยมีจุดประสงค์ที่จะพยายามให้ประชาชนส่วนใหญ่ได้มีส่วนร่วม และพยายามให้มีตัวแทนสาขาอาชีพที่มาจากการเลือกสรรค์ของกลุ่มอาชีพแต่ละอาชีพโดยตรง จึงเสนอสูตร 30/70 ดังต่อไปนี้

1. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 500 คนถ้วน
2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตัวแทนจังหวัดมาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั้งจังหวัดๆละ 2 คนเท่าๆกันรวมเป็น 152 คน
3. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรสาขาอาชีพ ที่ประชาชนในแต่ละสาขาอาชีพเลือกมาโดยตรงจำนวน 348 คน
4. ยกเลิกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อและสัดส่วนออกไปทั้งหมด เพราะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มนี้เป็นที่มาของนักธุรกิจนายทุนที่มาลงทุนทา งการเมืองโดยตรง มิได้ผ่านการเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง ดูเหมือนว่าส.ส.เหล่านี้ส่วนใหญ่ได้ตำแหน่งเพราะจ่ายเงินให้พรรคมากกว่าที่ป ระชาชนจะเลือกโดยตรง
5. การเลือกตัวแทนของจังหวัดจะต้องทำสองรอบ คือ รอบแรกให้ประชาชนแต่ละอำเภอเลือกตัวแทนเข้าไปสมัครผู้แทนในระดับจังหวัด ด้วยคะแนนอย่างน้อย 40 เปอร์เซ็นต์ของผู้มีสิทธิ์ลงคะแนนในแต่ละอำเภอ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้รู้จักประชาชนอย่างทั่วถึง และลดการซื้อเสียงได้ เพราะหากใครจะซื้อเสียงต้องซื้อเสียงจากคนทั้งจังหวัด ถึงสองครั้งสองคราเป็นเรื่องน่าหนักใจสำหรับนักซื้อเสียงไม่น้อย
6. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระดับจังหวัดผู้รับเลือกต้องได้คะแนน 70 เปอร์เซ็นต์ของผู้มีสิทธ์เลือกตั้ง หากจังหวัดใดผู้ที่ได้รับเลือกตั้งมีคะแนนไม่ถึง 70เปอร์เซ็นต์ต้องเลือกตั้งจนกระทั่งได้คะแนน 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการซักฟอกจนได้คนที่ประชาชนพอใจที่สุด จะได้ชื่อว่าเป็นตัวแทนปวงชนที่แท้จริง
7. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจากสาขาอาชีพ ต้องพยายามออกแบบการเลือกตั้งให้สาขาอาชีพต่างๆ ได้มีส่วนร่วมให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้ วิธีการหนึ่งที่ทำได้ง่ายคือ การจดทะเบียนจัดตั้งสมาคม หรือสภาของแต่ละสาขาอาชีพขึ้นมา เช่น สภาทนายความ สมาคมแพทย์ สมาคมแพทย์แผนโบราณ สมาคมครู สหภาพแรงงาน สมาคมชาวสวน สมาคมชาวนา สมาคมนักศึกษา สมาคมผู้ค้าปลีก สมาคมหาบแร่แผงลอย หอการค้า สมาคมชาวไร่ สมาชิกที่ลงทะเบียนไว้ในสมาคมนั้นจะเลือกผู้ที่เสนอตัวสมัครเข้ามา
8. จำนวนส.ส.ของแต่ละอาชีพแบ่งตามสัดส่วนจำนวนประชากรของแต่ละสาขาอาชีพ โดยคิดจำนวนผู้แทนราษฎรจำนวน 348 คนเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ แล้วเฉลี่ยไปตามจำนวนประชากร โดยพยายามกระจายให้กว้างขวางที่สุด
9. คุณสมบัติสำคัญของผู้ที่จะสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของแต่ละสาขาอาชีพ ต้องประกอบอาชีพนั้นๆจริงๆ เช่น ทนายความก็ต้องประกอบอาชีพอยู่จริงๆ ชาวสวนก็ต้องทำสวนจริงๆ ชาวนาต้องทำนาจริงๆ ต้องตรวจสอบคุณสมบัติทั้งของผู้สมัครรับเลือกตั้งและผู้ลงคะแนนให้ถูกต้อง[53]

อาจารย์ธีรยุทธ บุญมี ได้แสดงความเห็นเอาไว้ตอนหนึ่งว่า

พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ซึ่งยกระดับมาเป็นการต่อสู้เพื่อเปลี่ยนความคิดและโครงสร้างอำนาจการเมือง ซึ่งเป็นเรื่องระยะยาวมาก จึงควรปรับวิธีการต่อสู้ของตน คือมีทั้งการเคลื่อนไหวทางความคิด สลับกับการเคลื่อนไหวมวลชน ทั้งผ่อนสลับกับรุก และเนื่องจากพันธมิตรเริ่มต้นจากการเรียกร้องลงโทษนักการเมืองโกงกินบ้านเมือง เป็นพลังทางคุณธรรมและพลังต่อต้านการใช้อำนาจบาตรใหญ่ให้สังคม จึงยิ่งต้องจำแนกวิธีการต่อสู้ให้ชัดเจนว่าเป็นแนวสันติวิธี หลีกเลี่ยงการดึงดันที่อาจดูคล้ายแนวอำนาจนิยม ไม่ควรเป็นการรุกไปข้างหน้าตลอด จนดูคล้ายการตะลุมบอนกับฝ่ายโกงกินบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้คนแยกแยะและเลือกฝ่ายสนับสนุนได้ลำบาก ที่สำคัญในการเสนอความคิดใหม่ทางการเมือง ไม่ควรสวนทางประชาธิปไตย ควรเคารพประวัติศาสตร์ประชาธิปไตยที่ต่อสู้กันมานาน ควรหาวิธีเปิดกว้างขวางสร้างเวทีความคิดสำหรับทุกฝ่าย ซึ่งต้องมีเวลา ขั้นตอน จังหวะก้าวที่เหมาะสม

— ธีรยุทธ บุญมี[54]

อนึ่ง สำหรับการชุมนุมครั้งนี้ของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได้ประกาศว่าเป็น สงครามครั้งสุดท้าย และเรียกที่ชุมนุมของตนว่า มหาวิทยาลัยราชดำเนิน ซึ่งมีกิจกรรมที่ให้ความรู้ต่าง ๆ มากมายแก่ผู้เข้าร่วมชุมนุม เสมือนการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา

และเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย จึงเห็นว่าเป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมี การเมืองใหม่ ในราชอาณาจักรไทย ซึ่งเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขอย่างแท้จริง โดยมีเป้าหมายดังนี้

  • ปกป้องเทิดทูนราชวงศ์จักรีให้เข้มแข็งและปลอดภัย เนื่องจากพระมหากษัตริย์ทรงทศพิศราชธรรม
  • สนับสนุนให้คนดีมาปกครองบ้านเมือง ป้องกันไม่ให้คนไม่ดีมีอำนาจ เพื่อสร้างความเป็นธรรมในสังคมทุกภาคส่วน ทั้งในด้าน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
  • ประชาชนมีส่วนร่วมในทางการเมือง การเมืองใหม่จะไม่จำกัดอยู่เพียงนักการเมืองที่มาจากการเลือกตั้งในพื้นที่เท่านั้น แต่จะยังเปิดกว้างให้ภาคประชาชนที่หลากหลาย ได้มีส่วนร่วมทางการเมืองทุกระดับ เช่น ผู้แทนจากกลุ่มวิชาชีพต่าง ๆ ผู้แทนจากภาคประชาชนที่หลากหลาย ผู้แทนจากภาคสังคมที่แตกต่าง ฯลฯ
  • พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เห็นว่าต้องขับไล่รัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช ให้พ้นจากตำแหน่งโดยเร็วที่สุด และไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะเจรจากับกลุ่มใดก็ตามที่ไม่ยืนอยู่บนหลักการดังกล่าว
  • พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยพร้อมสนับสนุนการเปลี่ยนแปลงอำนาจทางการเมืองในปัจจุบัน บนเงื่อนไขที่จะต้องปฏิรูปการเมืองโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง

ในวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2551 แกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย แถลงข่าวถึงแนวคิดเรื่องการเมืองใหม่ ที่ห้องผู้สื่อข่าวทำเนียบรัฐบาล พล.ต.จำลอง ศรีเมืองกล่าวว่า การเลือกตั้งแบบ 100 เปอร์เซ็นต์จะให้มีการเลือกตั้งได้ 2 ทาง คือ ผู้แทนพื้นที่เขต และผู้สมัครนามกลุ่มอาชีพ หากคนหนึ่งมีหลายอาชีพ จะให้ลงสมัครได้เพียงอาชีพเดียว เรื่องดังกล่าวทำไม่ยาก เมื่อแบ่งคนทั้งประเทศออก 2 กลุ่มดังที่กล่าวไปแล้ว จึงไม่ยากอย่างที่คิดจะทำ แต่อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงได้ ส่วนในทางปฏิบัตินั้นคงเป็นไปได้ยากจริงยอมรับ แต่หากทำเรื่องยากดีกว่าการเมืองเก่าก็ต้องทำ มันเป็นไปได้ แม้อาจจะไม่ได้เลิศเลอทุกอย่างก็ตาม ส่วนนายสมศักดิ์ โกศัยสุข กล่าวเสริมอีกว่า[55]

เพราะทุกคนในประเทศไทยต่างมีอาชีพทั้งนั้น อาจต้องเพิ่มเติมหรือเอาตามนั้น คนที่มีอาชีพอะไรก็ไปลงทะเบียนในอาชีพนั้น แล้วเวลาเลือกก็เลือกคนกลุ่มนั้น จะได้มีผู้แทนที่หลากหลาย ทุกวันนี้ไม่ใช้ผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนกลุ่มทุนรวมตัวเป็นกระจุกๆ จึงเป็นไปไม่ได้ที่คนกลุ่มนี้จะไปทำงานเพื่อคนทุกกลุ่ม เมื่อพันธมิตรฯ ออกแบบมาเช่นนี้จะมีตัวแทนจากหลายหลาย อาชีพ ทั้งหมอ ทั้งสื่อมวลชน ทำให้เกิดความงดงามในสภาขึ้น

— สมศักดิ์ โกศัยสุข

ปฏิกิริยาของแต่ละฝ่าย

ฝ่ายรัฐบาล

วันศุกร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 นายจักรภพ เพ็ญแข ลาออกจากรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี[56] และในวันนี้พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ได้ประกาศเปลี่ยนเป้าหมายในการชุมนุม เพื่อเรียกร้องให้รัฐบาลสมัครลาออกทั้งคณะ เพื่อรับผิดชอบต่อปัญหาบ้านเมืองที่เกิดขึ้น และยังกล่าวหาด้วยว่ารัฐบาลชุดนี้เป็นรัฐบาลหุ่นเชิดของ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร โดยที่พันธมิตรให้เหตุผลในการขับไล่อยู่ 12 ประการ[57][58] หลังจากนั้น นายสมศักดิ์ โกศัยสุข ขึ้นเวทีปราศัยแล้วประกาศต่อสู้กับรัฐบาลสมัครขั้นแตกหัก โดยสั่งให้ผู้ชุมนุมทุกคนปักหลักชุมนุมต่อไป[59]

ไฟล์:Samak in nbt.jpg
นายสมัคร สุนทรเวช อดีตนายกรัฐมนตรีแถลงในรายการพิเศษทางช่อง 9 และ NBT ว่าจะสลายการชุมนุมด้วยกำลังทหารและตำรวจ แต่ท้ายสุดก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น

วันเสาร์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 เวลาประมาณ 09.00 น. นายสมัคร สุนทรเวช นายกรัฐมนตรี ประกาศจะสลายการชุมนุมด้วยกำลังตำรวจและทหารผ่านทางรายการพิเศษทางช่อง 9 และ NBT แต่ท้ายสุดก็ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ซึ่งบรรดาแกนนำและผู้เข้าร่วมได้เรียกร้องให้ผู้ที่อยู่ที่บ้านร่วมกันออกมาชุมนุมให้มากที่สุด[60]

เช้าวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2551 รัฐบาลประกาศใช้ พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ในเขตกรุงเทพมหานคร หลังมีผู้ชุมนุมกลุ่ม นปช.เสียชีวิต 1 คน จากการปะทะกันที่บริเวณแยก จปร.ระหว่างกลุ่มนปช.จากท้องสนามหลวง กับกลุ่มพันธมิตรประชาชนฯ แต่ที่กองบัญชาการกองทัพบก พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก ในฐานะประธานคณะกรรมการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ได้แถลงภายหลังการประชุมที่มีผู้บริหารหน่วยงานระดับสูงที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ แม่ทัพภาคที่ 1 รวมทั้งปลัดกระทรวงกลาโหมเข้าร่วม โดยที่ พล.อ.อนุพงษ์ ระบุ และย้ำว่า

สถานการณ์ในขณะนี้เกินกว่าสถานการณ์ฉุกเฉิน เพราะสังคมมีการแตกออกเป็นสองฝ่าย ดังนั้นสิ่งที่ทางฝ่ายคณะกรรมการที่พวกกระผมดูแลอยู่นี้จะป้องกันไม่ให้ทั้ง สองฝ่ายปะทะกันเท่านั้น เวลานี้ให้รัฐสภาแก้ปัญหาดีที่สุด เพราะรัฐสภาต้องรับผิดชอบประเทศให้มากกว่านี้ ขณะเดียวกัน เวลานี้กระบวนการทางศาลก็กำลังดำเนินการอยู่แล้ว

ต่อมาในวันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2551 นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบก และ พล.ต.อ.พัชรวาท วงษ์สุวรรณ ผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ได้ร่วมกันแถลงยกเลิกประกาศใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่กองบัญชาการกองทัพไทย พร้อมกันนี้นายสมชายยังได้เรียกร้องให้ทุกฝ่ายหันหน้าเข้าหากัน เพื่อยุติความรุนแรงความขัดแย้ง[61]

ฝ่ายที่สนับสนุน

วันพฤหัสบดีที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2551 สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจการรถไฟแห่งประเทศไทย สาขานครราชสีมา พนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทย ทุกหน่วยทุกฝ่าย ทั้งพนักงานรถจักร คนขับ ช่างเครื่อง หน่วยซ่อมบำรุง และเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานทุกสถานีใน จ.นครราชสีมา ประมาณ กว่า 100 คน ในจำนวนนี้เป็นพนักงานขับรถกว่า 40 คน ได้แจ้งขอลาป่วยหยุดทำงานตั้งแต่ 2-3 วันขึ้นไป พร้อมกันกับพนักงานการรถไฟแห่งประเทศไทยทั่วประเทศ จึงทำให้ขาดแคลนพนักงานในการทำงาน ส่งผลให้ขบวนรถไฟขาขึ้นอีสานมาจากกรุงเทพฯ เที่ยวต่าง ๆ ทยอยยกเลิกการเดินทาง ตั้งแต่เวลา 15.00 น.เป็นต้นมา มีเพียงรถไฟขาล่องเข้ากรุงเทพฯ สำหรับวันที่ 28 ส.ค. เท่านั้นที่ยังเดินรถตามปกติ แต่ในวันที่ 29 ส.ค. จะส่งผลให้ต้องหยุดเดินรถไฟทั้งขาล่องและขาขึ้น เหมือนกันหมด การเคลื่อนไหวดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งตามมติของสหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจรถไฟแห่งประเทศไทย[62]

ไฟล์:Injurer 29082008..JPEG
ประชาชนผู้ได้รับบาดเจ็บจากเหตุการณ์ที่เจ้าหน้าที่ตำรวจหลายร้อยนาย บุกเข้าใช้กำลังรื้อเวทีปราศรัยของกลุ่มพันธมิตรฯ ที่บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ เมื่อเวลาประมาณ 11.00 น.วันที่ 29 ส.ค.

พนักงานเดินรถไฟการรถไฟแห่งประเทศไทย พร้อมด้วยสหภาพท่าเรือ สหภาพการบินไทย สหภาพการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สหภาพการประปาและสหภาพขสมก. นัดหยุดงานเพื่อกดดันรัฐบาลลาออก ขณะเดียวกัน พันธมิตรฯ จังหวัดภูเก็ต สงขลา และกระบี่ ร่วมกันปิดสนามบินภูเก็ต หาดใหญ่ และกระบี่ งดเที่ยวบินขึ้น-ลง ทั้งในประเทศ และระหว่างประเทศ มีผลให้ผู้ที่กำลังเดินทางขึ้นเครื่องบินต้องกลับไปยังรีสอร์ท โรงแรม หรือที่พักเพื่อรอดูสถานการณ์ ขณะที่แบบสอบถามพบว่าชาวต่างชาติยืนยันที่จะไม่กลับมาท่องเที่ยวประเทศไทยอีกด้วย[63]

ไฟล์:People's Alliance for Democracy (PAD) take cover from tear gas.jpg
บริเวณหน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลที่ตำรวจใช้แก๊สน้ำตายิ่งใส่ผู้ชุมนุม

นาวาอากาศตรีคฑาทอง สุวรรณทัต กัปตันเครื่องบินโบอิง 737-400 เที่ยวบินในประเทศ ของ บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) ได้เดินทางมาขึ้นเวทีปราศรัยของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ในบริเวณทำเนียบรัฐบาล หลังจากเสร็จภาระกิจการขับเครื่องบิน

ผมถือว่าพวกท่าน คือ วีรบุรุษวีรสตรี ขอได้รับความขอบคุณจากผมไว้ ณ ที่นี้ด้วย

— น.ต.คฑาทอง สุวรรณทัต[64]

วันพุธที่ 8 ตุลาคม 2551 เวลาประมาณ 06.15 น. เที่ยวบินที่ TG1040 ท่าอากาศยานดอนเมือง มุ่งตรงไปยังท่าอากาศยาน จ.ขอนแก่น กัปตันเครื่องบินปิดประตูเครื่องบินปฏิเสธรับ ส.ส.ของพรรคพลังประชาชนขึ้นเครื่อง โดย ส.ส.คนดังกล่าว คือ นางฟาริดา สุไลมาน ส.ส.สุรินทร์ เขต 1 พรรคพลังประชาชนทั้งนี้ ก่อนที่กำหนดเครื่องจะออก กัปตันคนดังกล่าวได้ตรวจสอบรายชื่อผู้โดยสาร จากนั้นเมื่อพบว่ามีชื่อ ส.ส.พลังประชาชนด้วย กัปตันในเครื่องแบบจึงออกมายืนที่งวงทางเชื่อมเข้าเครื่อง พร้อมกับประกาศให้ทราบว่า “เที่ยวบินนี้ไม่รับทรราช เที่ยวบินนี้ไม่รับ ส.ส.พรรคพลังประชาชน และนักการเมืองที่ทำร้ายประชาชนขึ้นเครื่อง ผมจะไม่รับพวกคุณขึ้นเครื่องตลอดชีวิต ต่อมาในเวลาประมาณ 09.00 น. เที่ยวบินการบินไทยที่ 1002 ดอนเมือง-อุดรธานี ซึ่งจะออกเดินทางในเวลา 09.25 น. กัปตันและนักบินก็ประกาศที่จะไม่รับ ส.ส.พลังประชาชน 2 คน ประกอบไปด้วย นายไชยา พรหมมา ส.ส.หนองบัวลำภู พรรคพลังประชาชน และนางชมพู จันทาทอง ส.ส.หนองคาย เขต 1 พรรคพลังประชาชน ขึ้นเครื่องด้วยเช่นกัน อนึ่ง หลังจากที่วานนนี้ (7 ต.ค.) หลังจากรัฐบาลได้สั่งการให้ตำรวจใช้ความรุนแรงในการสลายผู้ชุมนุมกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่บริเวณรัฐสภา และลานพระบรมรูปทรงม้า โดยเริ่มต้นปฏิบัติการตั้งแต่เช้าตรู่ จนส่งผลให้มีผู้ชุมนุมได้รับบาดเจ็บเกือบ 400 คน และเสียชีวิต 3 คนนั้น มีรายงานข่าวว่า สหภาพแรงงานรัฐวิสาหกิจทั่วประเทศ ทั้งการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) และสหภาพแรงงานบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) เตรียมนัดหยุดงานเพื่อเข้าร่วมการชุมนุมกับพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย และมีมาตรการตอบโต้ หลังจากรัฐบาลใช้ความรุนแรงเข้าสลายการชุมนุมฯ

หลังจากเหตุการณ์ 7 ตุลาทมิฬ สภาทนายความ ได้ออกแถลงการณ์สภาทนายความ เรื่องอำนาจพนักงานสอบสวนที่ขัดรัฐธรรมนูญและขัดต่อกติการะหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง จากกรณีที่พนักงานสอบสวนได้ยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นในคดีที่กล่าวหาแกนนำ พันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย เป็นกบฏและข้ออื่นๆ เป็นตัวอย่างให้เห็นถึงการใช้อำนาจที่เหลื่อมล้ำและไม่ชอบธรรมกับประชาชนที่ สุจริต ซึ่งเรื่องนี้สภาทนายความไม่คัดค้านให้ความเห็นแย้งมาโดยตลอดว่ากระบวนการ ใช้อำนาจสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณความอาญาที่พนักงานสอบสวนมักอ้างเสมอว่าจะขออำนาจศาลให้คุมตัวผู้ต้องหา เป็นกรณีที่ไม่ชอบด้วยหลักนิติธรรมและขัดกับหลักกฎหมายโดยชัดแจ้ง สภาทนายความจึงขอแถลงการณ์มาเพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องโปรดพิจารณาไตร่ตรอง และดำเนินการให้มีการบังคับใช้กฎหมายให้สมจริงตามหลักนิติธรรมและมาตรฐานสากลทั่วโลก 7 ข้อ[65]

ส่วนทางด้านกลุ่ม 40 ส.ว.ได้ใช้ความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อป้องกันและลดเงื่อนไขแห่งโศกนาฏกรรม ได้แก่ การออกคำแถลงเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม เรียกร้องให้รัฐบาลหลีกเลี่ยงใช้ความรุนแรงต่อประชาชน ที่ชุมนุมกันอย่างสันติ จากนั้นเรียกร้องให้เลื่อนการประชุมรัฐสภาในวันที่ 7 ตุลาคม หลังจากรัฐบาลสั่งให้สลายการชุมนุม และแสดงการประท้วงด้วยการไม่เข้าร่วมประชุมรัฐสภา เนื่องจากไม่ต้องการเป็นเครื่องมือสร้างความชอบธรรมให้กับการแถลงนโยบายของรัฐบาล ขณะที่ประชาชนนับร้อยถูกทำร้ายบาดเจ็บอย่างรุนแรงหน้ารัฐสภา รวมถึงการตั้งกระทู้ถามรัฐบาลในปัญหาความรุนแรงดังกล่าว และเรียกร้องทุกภาคส่วนทั้งในและนอกประเทศร่วมกันกดดันรัฐบาลไทย ให้ยุติการใช้ความรุนแรงต่อประชาชน รวมทั้งยื่นคำร้องต่อศาลปกครองสูงสุดให้ไต่สวนฉุกเฉิน เพื่อหยุดยั้งการใช้ความรุนแรงของรัฐบาลโดยทันที ตลอดจนเรียกร้องให้สอบสวน และดำเนินการทางกฎหมายต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ รับผิดชอบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน และสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชนไทย ฉะนั้น ในฐานะที่ OHCHR เป็นหน่วยงานสำคัญขององค์การสหประชาชาติที่ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน และเป็นสำนักเลขาธิการของคณะมนตรีด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ กลุ่ม 40 ส.ว.จึงขอเรียกร้องให้ OHCHR ใช้ความพยายามในการกระทำอย่างเหมาะสมเพื่อหยุดยั้งและป้องกันการละเมิดสิทธิ มนุษยชนในประเทศไทย[66]

ฝ่ายที่ต่อต้าน

ในคืนวันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2551 ขบวนของกลุ่มต่อต้านพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นำโดยแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการ ได้เคลื่อนขบวนจากสนามหลวงมาหยุดอยู่ที่บริเวณสี่แยก จ.ป.ร. (หน้าอาคารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์) เผชิญหน้ากับตอนท้ายขบวนของพันธมิตรฯ โดยยังไม่มีเหตุปะทะกันเกิดขึ้น ด้านตำรวจได้จับตามองสถานการณ์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดเหตุรุนแรง[67][68]

ไฟล์:Focus the head.jpg
เจ้าหน้าที่ตำรวจหน่วยสลายการชุมนุม ใช้ปืนจ่อหัวแนวร่วมพันธมิตรฯ บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ ขณะเข้าสลายการชุมนุม พร้อมกับแพร่ภาพดังกล่าวไปทั่วโลก เป็นเหตุให้แนวร่วมพันธมิตรฯทั่วประเทศ พร้อมใจลุกฮือขึ้นมาต่อต้านรัฐบาลอย่างรุนแรง

เวลาประมาณ 18.00 น.มีนายตำรวจที่รักษาความปลอดภัย ประจำอยู่ในทำเนียบรัฐบาลกว่า 20 นาย ต่างพากันปืนรั้วออกจากทำเนียบ ทางฝั่งตรงข้ามสำนักงานยูเอ็น เชิงสะพานมัฆวานรังสรรค์ โดยมีการ์ดพันธมิตรฯบางส่วนช่วยอำนวยความสะดวกในการออกจากพื้นที่ทำเนียบด้วย ในวันนี้ทนายความของพันธมิตรฯได้ยื่นอุทธรณ์คำสั่งศาลที่ให้ย้ายออกพ้นทำเนียบ ว่า ต้องขอโต้แย้งในทางวิชาการที่ก่อนหน้านี้เคยส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครองพิจารณาในเรื่องสิทธิการชุมนุม แต่ครั้งนี้มีการพิจารณาออกคำสั่งเอง

วันศุกร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เกิดการปะทะกันระหว่างผู้ชุมนุมกลุ่มพันธมิตรฯ ที่ชุมนุมอยู่ภายในทำเนียบรัฐบาลกับเจ้าหน้าที่ตำรวจที่พยายามเข้าไปสลายการชุมนุม เป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บก่อนเหตุการณ์จะคลี่คลายลงในช่วงบ่าย และเกิดการกระทบกระทั่งอีกครั้งในช่วงหัวค่ำที่หน้ากองบัญชาการตำรวจนครบาลเมื่อมีการใช้แก๊สน้ำตากับกลุ่มผู้ชุมนุม จนเป็นเหตุให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 19 คน เป็นชาย 11 คน หญิง 7 คน และเด็ก 1 คน ในขณะที่สถานีโทรทัศน์ NBT กลับรายงานว่าไม่มีการใช้แก๊สน้ำตาและประชาชนผู้ที่ได้รับบาดเจ็บแม้แต่คนเดียว[69][70][71]

วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2551 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงห่วงใยต่อเหตุการณ์ชุมนุมที่เกิดขึ้น โดยทรงกำชับให้หน่วยแพทย์พยาบาลสภากาชาดไทยเตรียมพร้อมบุคลากร ทีมแพทย์ ยา เวชภัณฑ์และจนรถพยาบาลฉุกเฉิน เพื่อเตรียมพร้อมรักษาพยาบาลผู้ได้รับบาดเจ็บหากมีเหตุปะทะกันเกิดขึ้น พร้อมรถสื่อสารฉุกเฉิน ติดต่อผ่านทางโทรศัพท์ดาวเทียมได้อีก 25 เลข และเพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุดได้ตั้งหน่วยแพทย์ที่เชิงสะพานชมัยมรุเชฐ และประสานสถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน หรือ ศูนย์นเรนทร วางตำแหน่งรถพยาบาลเข้าช่วยเหลือประชาชนให้ได้เร็วที่สุด[72]

วันอาทิตย์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2551 เวลา 10.00 น.กลุ่มผู้ชุมนุมพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ที่ได้รับบาดเจ็บจากการที่ตำรวจเข้าสลายการชุมนุม โดยใช้กระบองตีและใช้โล่ผลักดันกลุ่มผู้ชุมนุม และรื้อค้นเวที จำนวน 45 คน ได้เดินทางเข้าแจ้งความต่อพนักงานสอบสวน สน.ดุสิต เพื่อให้ดำเนินคดีต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจ, ผู้สั่งการ และผู้ที่อยู่เบื้องหลังเหตุความรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 29 สิงหาคมที่ผ่านมา โดย พ.ต.อ.สมชาย เชยกลิ่น ผกก.สน.ดุสิต จัดสถานที่ห้องประชุมชั้น 3 และพนักงานสอบสวนไว้รับแจ้งความ[73]

เวลาประมาณเกือบเที่ยงคืนของวันจันทร์ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2551 ได้มีกลุ่มนปก.จำนานหลายพันคนบุกผ่านแยกจปร.และหน้าสถานีตำรวจนางเลิ้งเข้าปะทะกับการ์ดของฝ่ายพันธมิตร โดยที่เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ได้ห้ามปราม โดยอ้างว่าต้องการจะยึดทำเนียบคืน จึงมีผู้ได้รับบาดเจ็บทั้งสองฝ่าย ขณะเดียวกันทหารจากกองทัพภาคที่ 1ได้เสริมกำลังด้วยโล่ และกระบองมากั้นระหว่างทั้ง 2 ฝ่าย

วันพฤหัสบดีที่9 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ในรายการวิทยุชื่อ “เดอะ นิวส์ โชว์ กับ คุณปลื้ม” ดำเนินรายการโดย ม.ล.ณัฏฐกรณ์ เทวกุล ที่ออกอากาศทางคลื่น 97.0MHz ในช่วงเวลาประมาณ 13.00-14.00 น. ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ได้หยิบแถลงการณ์ของสภาเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนาแห่งเอเชีย และสำนักงานสิทธิมนุษยชนศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ออกมาแสดงความไม่เห็นด้วย กรณีอาจารย์ในโรงเรียนแพทย์ 8 สถาบัน และสถาบันจิตเวชศาสตร์เจ้าพระยา ที่ออกมาประกาศว่าจะไม่รับรักษา คณะรัฐมนตรี และ ส.ส.พรรคร่วมรัฐบาล และเจ้าหน้าที่ตำรวจที่แต่งเครื่องแบบ และแจ้งยศชั้น เพื่อตอบโต้การกระทำรุนแรงต่อประชาชนของตำรวจในวันอังคารที่ 7 ต.ค.จนทำให้มีผู้ได้รับบาดเจ็บกว่า 400 คน และเสียชีวิต 2 คน ยกเว้นในกรณีฉุกเฉิน ม.ล.ณัฐกรณ์ยังกล่าวในรายการตอนหนึ่งว่า

...ก่อนอื่นเลย ฝ่ายที่รุกก่อนคือพันธมิตรฯ ฝ่ายที่รับแค่ประคองสถานการณ์ให้ผ่านช่วงนี้ให้ได้ก็คือ ฝ่ายตำรวจ สอง ต่อให้ตำรวจเป็นฝ่ายร้าย ซึ่งไม่ได้เป็นความจริง คุณก็ต้องรักษาเขาอยู่ดี คุณก็ต้องรักษาเขาอยู่ดี... ..ผมก็เป็นกำลังใจให้เจ้าหน้าที่ตำรวจต่อไปก็แล้วกัน สาเหตุที่ นายสนธิ ลิ้มทองกุล ออกมาระบุว่า พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา ผู้บัญชาการทหารบกไม่ยืนข้างประชาชน จึงออกมาบอกว่า พล.อ.อนุพงษ์ อยู่ฝ่ายทักษิณ เนื่องจาก ผบ.ทบ.ไม่ยอมทำการปฏิวัติรัฐประหาร โดยข้อมูลดังกล่าวเขาอ้างอิงมาจากหนังสือพิมพ์บางฉบับ โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ประชาทรรศน์ ซึ่งเป็นสื่อในระบอบทักษิณ ภายใต้เงินทุนของกลุ่มการเมืองของ นายเนวิน ชิดชอบ...

ช่วงท้ายรายการ ม.ล.ณัฏฐกรณ์ ระบุด้วยว่า วันนี้ตนหมดศรัทธากับระบบจริงๆ แต่ก็เชื่อว่าสงครามครั้งนี้จะยาว 5 ปี 10 ปี และตนก็จะสู้ต่อไป[74]

วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ที่สนามหลวงก็มีการชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) ซึ่งก็เป็นไปอย่างสงบเช่นเดียวกัน โดยก่อนหน้านี้ แกนนำ นปช.ได้ปราศรัยถึงการทำหน้าที่ของตำรวจในการสลายการชุมนุมว่าถูกต้องแล้ว ขณะเดียวกันก็ไม่เห็นด้วยกับแนวทางของ พล.ต.อ.สล้าง บุนนาค ที่จะบุกยึดทำเนียบรัฐบาลคืนมา[75] ซึ่ง พล.ต.อ.สล้าง กล่าวไว้ว่า

มีตำรวจมาพูดกับผมว่าตอนนี้ตำรวจไม่กล้าทำงานเพราะผู้ใหญ่ไม่กล้า ตัดสินใจ ผมจึงคิดกับเพื่อนตำรวจนอกราชการที่อดีตเคยเป็นครูตชด. ปจ. คอมมานโด กองปราบปราบ ตั้งกองกำลังกู้ทำเนียบรัฐบาล โดยจะเสนอรัฐบาลว่าจะเข้าไปยึดทำเนียบฯคืนเอง เบื้องต้นรวบรวมตำรวจนอกราชการได้กว่า 1 พันนาย ซึ่งถ้าหากตำรวจในราชการอยากร่วมด้วยก็ขอให้ไปลาราชการมาร่วมกันทำงาน ส่วนชาวบ้านทั่วไปก็มาร่วมได้แต่ให้มาทำงานในส่วนอื่นเพราะไม่ได้รับการฝึกมา ซึ่งกองกำลังสามารถ รวบรวมได้ภายใน 5 วัน ส่วนเรื่องเงินทุนถ้าไม่มีใครบริจาคสนับสนุน จะขายทรัพย์สินส่วนตัวซึ่งเป็นเหรียญที่มีค่าที่ตนเองเก็บไว้มานาน จะมีการประมูลขายใครสนใจสนับสนุนก็ให้ติดต่อมาได้

วันที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551 ความแตกแยกทางการเมืองเดินเข้าสู่จุดอันตรายอีกครั้ง โดยเมื่อเวลา 3.00 น. มีคนร้ายลอบปาระเบิดสังหารเข้าใส่การ์ดกลุ่มพันธมิตรฯ บริเวณสะพานมัฆวานรังสรรค์ ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1 ราย และได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก นอกจากนี้ยังพบผู้ถูกยิงเสียชีวิตอีก 1 รายบริเวณใกล้จุดเกิดเหตุ คือนายสังเวียน รุจิโมระ ซึ่งเป็นการ์ดพันธมิตรฯ อายุ 46 ปี ถูกยิงท้ายทอยนอนเสียชีวิตอยู่ใต้ต้นหูกวางด้านหลังบช.น. โดยตำรวจเองยังไม่ทราบว่าฝ่ายไหนลงมือยิง ระหว่างเกิดเหตุชุลมุน คนร้ายปาระเบิดสังหารเอ็ม 87 เข้าใส่การ์ดพันธมิตรฯ ที่สะพานมัฆวานฯ ทำให้มีผู้รับบาดเจ็บนับสิบคน โดยมีอาการถึงขั้นโคม่าถึง 2 ราย

ต่อมาได้เกิดเหตุที่บริเวณข้างเต็นท์นอนของการ์ดพันธมิตรฯ พบหลุมลึกประมาณ 3 เซนติเมตร กว้างประมาณ 6 เซนติเมตร กระเดื่องระเบิดสังหารชนิดเอ็ม 87 ตกอยู่ในที่เกิดเหตุ นอกจากนี้ยังมีรถจักรยานยนต์ที่จอดอยู่บริเวณใกล้เคียงได้รับความเสียหาย อีก 2 คัน

เวลา 03.40 น. ได้เกิดเหตุระทึกขวัญขึ้นอีกครั้ง เมื่อมีชายฉกรรจ์ 2 คนขับขี่รถจักรยานยนต์มาจากแยกนางเลิ้ง มุ่งหน้าเข้ามายังสะพานชมัยมรุเชฐ พร้อมกับชักปืนยิงปืนขึ้นฟ้า 1 นัด แล้วขับรถจักรยานยนต์หลบหนีไปอย่างรวดเร็ว

ต่อมาเวลา 04.00 น.มีเสียงปืนดังขึ้นอีกประมาณ 10 นัด บริเวณแยกมิกสวันฝั่งประตูหลัง กองบัญชาการตำรวจนครบาล (บช.น.) ตรงข้ามกระทรวงศึกษาธิการ ภายหลังเกิดเหตุทางการ์ดพันธมิตรฯ ประมาณ 20 คนได้ตรึงกำลังพื้นที่บริเวณแยกมิสกวัน เพื่อรอดูสถานการณ์จนถึงช่วงเช้า

สำหรับรายชื่อของการ์ดพันธมิตรฯ ที่ได้รับบาดเจ็บจากเหตุถูกปาระเบิด และถูกนำตัวส่งโรงพยาบาลวชิระพยาบาลจำนวน 6 ราย ประกอบด้วย

  1. นายราชัน จันทร์ปลูก อายุ 27 ปี มีอาการแผลฉีกขาดที่หัวเข่า, ข้อเท้าซ้าย 3 เซนติเมตร
  2. นายจีระศักดิ์ อินทรีย์ อายุ 16 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดที่คอด้านขวา
  3. นายสงกรานต์ คำด้วง อายุ 23 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดต้นขาขวา
  4. นายปัญญา กติกา อายุ 44 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดบริเวณศีรษะ หลัง แผลฉีกขาดที่ศีรษะ
  5. นายทศพร สุขอิ่มใจ อายุ 17 ปี แผลรูเจาะข้อเท้าซ้าย
  6. นายเสถียร ทับมะลิผล อายุ 53 ปี แผลถูกสะเก็ดระเบิดที่คอและศีรษะด้านซ้าย[77]

ผลกระทบจากการชุมนุม

เวลาประมาณ 13.00 น. กลุ่มอาจารย์ คณะกรรมการนักเรียน และผู้ปกครองโรงเรียนราชวินิตมัธยม ได้เดินทางมายื่นคำร้องต่อศาลแพ่ง ถนนรัชดาภิเษก ต่อพลตรีจำลอง ศรีเมือง กับพวกรวม 6 คน กรณีได้รับความเดือดร้อนเสียหายจากการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อ ประชาธิปไตย ที่ปิดถนนพระราม 5 บริเวณแยกเบญจมบพิตร ถนนพิษณุโลก ตั้งแต่แยกนางเลิ้งจนถึงแยกพาณิชยการ โดยนักเรียนได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก ทั้งจากการจราจรที่ติดขัด เสียงดังจากการปราศรัยด้วยถ้อยคำหยาบคาย การตรวจค้นกระเป๋าของนักเรียนที่เดินทางมาเรียนเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มผู้ชุมนุม รวมถึงกลิ่นเหม็นจากขยะจำนวนมาก และการอุจจาระ ปัสสาวะ ไม่เป็นที่เป็นทาง ทำให้โจทก์ได้รับความเสียหายแก่ร่างกาย อนามัยเสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นการทำละเมิด จึงขอให้ทางกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย ย้ายสถานที่ชุมนุม โดยคิดถึงเยาวชนของชาติเป็นหลัก ยืนยันว่าไม่มีพรรคการเมืองใดอยู่เบื้องหลังการยื่นคำร้องต่อศาลครั้งนี้ อย่างไรก็ตาม ศาลได้มีการนัดพร้อมคู่ความในวันที่ 18 กันยายน เวลา 13.00 น.[78]

นายพิภพ ธงไชย แกนนำกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย กล่าวถึง กรณีที่โรงเรียนราชวินิตมัธยมยื่นฟ้องต่อศาลแพ่ง ขอให้รื้อถอนเวทีและงดการใช้เครื่องขยายเสียง รวมทั้ง เปิดช่องทางจราจรว่า ได้รับมอบหมายจากแกนนำพันธมิตรฯ ให้ไปพบกับอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร และรักษาราชการแทนผอ.โรงเรียนราชวินิตมัธยม เพื่อหารือเกี่ยวกับเสียงที่รบกวนการเรียน การสอน และได้แก้ไขแล้ว โดยงดการใช้เสียงในช่วงที่มีการเรียนการสอน ส่วนการเปิดเส้นทางการจราจร ได้เชิญอาจารย์จากทั้ง 2 โรงเรียนมาดูพื้นที่แล้ว และทำความเข้าใจกันว่า จะเปิดเส้นทางที่ไม่กระทบต่อการชุมนุม ในชั่วโมงเร่งด่วน เพราะหากเปิดการจราจรทั้งหมด อาจทำให้กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เข้ามาก่อความวุ่นวายได้ นอกจากนี้ ยังให้ชุดรักษาความปลอดภัยพันธมิตรฯ ขยายเขตจัดระเบียบการขายสินค้า ออกไปนอกพื้นที่โรงเรียน เพื่อรักษาความสะอาด ขณะเดียวกัน จะชดใช้ค่าเสียหายให้กับโรงเรียนราชวินิตมัธยม จากการที่ทำให้ต้นไม้ที่นักเรียนปลูกไว้เสียหาย และจะไม่มีการพูดคำหยาบคายบนเวที อย่างไรก็ตาม หากศาลแพ่งมีคำสั่งออกมาอย่างไร พันธมิตรก็พร้อมปฏิบัติตามโดยไม่มีเงื่อนไข แต่ขณะนี้ยังไม่ต้องการแสดงความเห็น เพราะเกรงว่าจะเป็นการละเมิดอำนาจศาล[79]

ปฏิกิริยาของตลาดการเงิน
  • วันศุกร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2551 ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ปิดตลาดที่ระดับ 654.34 จุด เพิ่มขึ้น 7.54 จุด หรือ 1.17% ระหว่างวันปรับตัวสูงสุดที่ 654.34 จุด ต่ำสุดที่ 647.19 จุด มูลค่าการซื้อชาย 8,164.77 ล้านบาท นักลงทุนต่างชาติขายสุทธิ 1,886.74 บ้านบาท นักลงทุนรายย่อยซื้อสุทธิ 1,294.05 ล้านบาท นักลงทุนสถาบันซื้อสุทธิ 592.69 ล้านบาท สำหรับดัชนีที่ปิดตัวในวันเดียวกันนี้ เกิดขึ้นหลังจากที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีมีอันต้องล่ม เพราะไม่ครบองค์ประชุม เนื่องจากพรรคร่วมรัฐบาลไม่เห็นด้วยกับการเสนอชื่อนายสมัคร สุนทรเวช กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีอีกครั้ง จึงไม่เข้าร่วมประชุม ต้องเลื่อนการประชุมเลือกนายกฯ ไปเป็นวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2551[80]
  • การซื้อขายหลักทรัพย์ภาคเช้าวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ดัชนีปิดที่ระดับ 391.28 จุด ปรับเพิ่มขึ้น 0.36 จุด เปลี่ยนแปลง 0.09% มูลค่าการซื้อ-ขายทั้งสิ้น 6,386.18 ล้านบาท สำหรับ5 อันดับ หลักทรัพย์ที่มีการซื้อขายสูง คือPTTEP ปิดที่ 93.00 บาท เพิ่มขึ้น 2.00 บาทPTT ปิดที่ 145.00 บาท เพิ่มขึ้น 1.00 บาท BANPU ปิดที่ 183.00 บาท เพิ่มขึ้น 2.00 บาท ADVANC ปิดที่ 73.00 บาท ลดลง -2.00 บาท[81]
  • สำหรับตลาดหุ้นไทย ดัชนีหุ้นปรับตัวลดลง -56.7% ในสกุลเงินเหรียญสหรัฐ หรือลดลงมากกว่าตลาดสหรัฐประมาณ 20% มีเหตุผลมากมายหลายประการที่จะอธิบาย ไล่มาตั้งแต่การขายสุทธิของกองทุนต่างชาติ จนถึงการถูกบังคับขาย หรือ Forced Selling โดยโบรกเกอร์ เพื่อรักษามูลค่าหลักประกันของลูกค้าไว้ จะได้ไม่ต้องเรียกหลักประกันเพิ่ม หรือ Margin Call และแน่นอนว่าอีกเหตุผลหนึ่งคือความตึงเครียดทางการเมืองที่กำลังเดือดพล่าน ระหว่างกองกำลังเสื้อเหลืองและเสื้อแดง[82]
ระดับความน่าเชื่อถือ
  • นายเจริญ วังอนานนท์ โฆษกสหพันธ์สมาคมท่องเที่ยวไทย (เฟสต้า) กล่าวว่า นายสมัคร สุนทรเวช ไม่ควรจะกลับเข้ามานั่งตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอีก เพราะน่าจะขาดจริยธรรมไปแล้วจากผลการวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ และหากมีการเลือกกลับมารับตำแหน่งใหม่ก็เท่ากับว่าผู้ลงคะแนนเสียงให้นั้น ไม่มีจริยธรรม เพราะผู้ที่จะเข้ามาบริหารประเทศควรเข้ามาสร้างประโยชน์ให้กับสังคม ไม่ใช่สร้างความแตกแยกให้ส่วนรวมเพิ่มขึ้น จนอาจถึงขั้นสงครามกลางเมือง สำหรับแนวทางการเลือกนายกรัฐมนตรี อยากเสนอให้นำรายชื่อผู้ที่ได้รับเสนอชื่อ 4-5 คน แสดงวิสัยทัศน์แนวทางการบริหารจัดการประเทศต่อสาธารณะชนเพื่อให้สังคมมีส่วน รับรู้ว่าใครเป็นอย่างไร ก่อนที่จะมีการลงคะแนนเสียงคัดเลือก ส่วนการแก้ปัญหาด้วยการยุบสภาควรใช้เป็นวิธีสุดท้าย เพราะจะทำให้ชาติเสียโอกาสมาก และควรปล่อยให้การเมืองแก้ไขกันเองไปให้ถึงที่สุด[83]
  • นายพงษ์ศักดิ์ อัสสกุล รองประธานกรรมการหอการค้าไทย กล่าวถึงคุณสมบัตินายกรัฐมนตรีคนใหม่ ต้องสามารถแก้ไขปัญหาวิกฤตของประเทศให้ได้ ซึ่งหอการค้าไทย และสภาหอการค้า เห็นพ้องกันว่า นายกฯ คนใหม่ควรจะมีคุณสมบัติ 5 ข้อ คือ ซื่อสัตย์ มีจริยธรรม เป็นผู้นำที่ดี มีความรู้ความสามารถ บริหารงานด้วยความโปร่งใส และต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องง่ายหรือเรื่องยาก ส่วนสิ่งที่ต้องเร่งรีบแก้ไข ภาคเอกชนเห็นว่า รัฐบาลชุดใหม่ต้องเลิกความแตกแยกทางความคิด และยกเลิก พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินในทันที หากสถานการณ์ยืดเยื้อจะไม่เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจในประเทศ เพราะจะทำให้ขาดความมั่นใจในการบริโภคในประเทศ กระทบการค้า การลงทุน ท่องเที่ยว ซึ่งได้มีการประเมินว่าหากยืดเยื้อถึงสิ้นปี ผลกระทบจะมีมากกว่า 1 แสนล้านบาท ซึ่งถือว่าสูงมาก หากเป็นเช่นนี้ผู้ประกอบการจะต้องปิดกิจการ และนั่งไหว้เจ้าเพื่อขอพรว่า พวกเราจะดำเนินธุรกิจต่อไปอย่างไร ซึ่งคงไม่มีใครอยากเห็น[84]
  • นายอรุณศักดิ์ จรูญวงศ์นิลมล ผู้อำนวยการสายงานจัดการกองทุน บลจ. เอสซีบี ควอนท์ กล่าวว่า สำหรับ จีดีพีของประเทศทั้งปีน่าจะอยู่ที่ไม่เกิน 5% แต่ไม่น่าที่จะปรับตัวไปถึง 6%ได้ เนื่องจากปัญหาภายในประเทศที่กำลังเกิดขึ้นอยู่ในขณะนี้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางการเมืองที่ยังหาข้อยุติไม่ได้ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้มองว่า หากมีการเปลี่ยนนายกฯจะสามารถเรียกความมั่นใจจากนักลงทุนได้ ซึ่งหากมีการเลือกนายกฯคนเก่ากลับมา จะทำให้การเมืองที่กำลังจะยุติยิ่งยืดเยื้อขึ้นไปอีก[85]
  • นาย เสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ และรักษาการ กรรมการผู้อำนวยการใหญ่ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) กล่าวเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ว่า ขอวิงวอนให้กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยยุติการชุมนุมทั้งที่ท่า อากาศยานสุวรรณภูมิ และท่าอากาศยานดอนเมือง ซึ่งเป็นท่าอากาศยานหลักในการให้บริการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า เพื่อลดความเสียหายที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรงในปัจจุบัน เนื่องจากศาลรัฐธรรมนูญได้อ่านคำวินิจฉัยในส่วนของพรรคพลังประชาชน ด้วยมติเอกฉันท์ให้ยุบพรรคพลังประชาชน และตัดสิทธิทางการเมืองหัวหน้าพรรคและกรรมการบริหารพรรค 5 ปี เท่ากับว่า นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายกรัฐมนตรี ในฐานะหัวหน้าพรรคพลังประชาชน ต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยปริยาย ซึ่งเป็นไปตามข้อเรียกร้องของกลุ่มพันธมิตรฯ ที่ต้องการให้นายกรัฐมนตรีลาออกแล้ว นายเสรีรัตน์ กล่าวด้วยว่า หากกลุ่มพันธมิตรฯ ยังต้องการชุมนุมกันต่อ ตนก็ยินดีจะจัดสถานที่ที่ไม่กระทบต่อการให้บริการของทั้ง 2 ท่าอากาศยานให้ชุมนุมกันต่อไปได้[86]
  • นายเสรีรัตน์ ประสุตานนท์ ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รักษาการกรรมการผู้อำนวยการใหญ่บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) (ทอท.) เปิดเผยเมื่อวันที่ 2 ธันวาคมว่า ตั้งแต่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (ทสภ.) ต้องปิดให้บริการท่าอากาศยานตั้งแต่วันที่ 25 พ.ย.จนถึง 1 ธ.ค.51 รวม 7 วันทำให้ ทสภ. ต้องสูญเสียรายได้ไปกว่า 350ล้านบาท ซึ่งการสูญเสียนี้ยังไม่รวมความเสียหายของผู้ประกอบการการขนส่งสินค้าทาง อากาศที่ไม่สามารถส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศได้อีกประมาณกว่า 25,000 ล้านบาทและยังไม่รวมความเสียหายของสายการบินต่างๆอีกจำนวนหนึ่ง แม้ ทสภ. ต้องประสบปัญหาการสูญเสียรายได้ดังกล่าว ทาง ทสภ. ก็พยายามช่วยเหลือผู้โดยสารต่างประเทศที่ตกค้างอยู่ในประเทศให้สามารถ บินกลับบ้านโดยใช้สนามบิน อู่ตะเภาได้สะดวกและรวดเร็วขึ้น โดย ทสภ. ได้ส่งเจ้าหน้าที่ไปให้บริการที่ศูนย์เช็คอินไบเทคบางนาซึ่งได้เปิดให้ บริการตั้งแต่วันที่ 1 ธ.ค.ที่ผ่านมา ซึ่งมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมาใช้บริการร่วม 1,300 คน คิดเป็น 17 เที่ยวบิน สำหรับวันนี้ได้รับรายงานว่า จะมีเที่ยวบิน 27เที่ยวบิน ทั้งนี้มีสายการบินที่ไปให้บริการที่ศูนย์ฯ นี้มีหลาย สายการบิน เช่น การบินไทย แอร์เอเชีย นกแอร์ ไชน่าเซาท์เทริน์ ครุ๊คแอร์ อีว่าแอร์ เป็นต้น นอกจากนี้เพื่อให้ผู้โดยสารระหว่างประเทศที่ไปใช้บริการที่สนามบินอู่ตะเภา ได้รับความสะดวกขึ้น ผู้อำนวยการ ทสภ. ยังได้สั่งการให้เจ้าหน้าที่ขนย้ายเครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระไปให้บริการที่ สนามบินอู่ตะเภาที่มีอุปกรณ์ค่อนข้างจำกัด โดย เครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระประกอบด้วยเครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระผู้โดยสารที่จะนำ ขึ้นเครื่อง (Baggage X-Ray) 2 เครื่อง เครื่องเอ็กซเรย์สัมภาระผู้โดยสารที่จะถือขึ้นเครื่องบิน (Carry-on Baggage X-Ray) 2 เครื่องและเครื่องเอ็กซเรย์ตรวจวัตถุระเบิดแบบให้ผู้โดยสารเดินผ่าน (Walk-Through) 2 เครื่อง ซึ่งสามารถให้บริการได้ตั้งแต่เมื่อคืนวันที่ 1 ธ.ค. ที่ผ่านมา[87]
  • ปัญหาทางการเมืองในประเทศที่ยังคงยืดเยื้อ และเพิ่มระดับความรุนแรงมากขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้น เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ทั้ง S&P และ Fitch ประกาศปรับลดแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของไทยลง โดยเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2551 Standard & Poor’s (S&P) ได้ประกาศทบทวนแนวโน้มอันดับความน่าเชื่อถือของไทยลงสู่ 'เชิงลบ' จากเดิม 'มีเสถียรภาพ' อย่างไรก็ตาม S&P ยังคงอันดับความน่าเชื่อถือสำหรับตราสารหนี้สกุลเงินต่างประเทศ (Foreign Currency Credit Ratings) และสำหรับตราสารหนี้สกุลเงินในประเทศ (Local Currency Credit Ratings) ไว้ที่ระดับเดิม 'BBB+/A-2' และ 'A/A-1' ตามลำดับ โดย S&P มองว่า การยึดครองสนามบินนานาชาติทั้ง 2 แห่งในกรุงเทพฯ โดยกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยนั้น ได้เพิ่มความเสี่ยงต่อการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของไทย ซึ่งได้ส่งผลกระทบที่ร้ายแรงต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ และเพิ่มความเป็นไปได้ที่ความรุนแรงจะลุกลามออกไปอย่างเห็นได้ชัด และพัฒนาการเหล่านี้อาจย้อนกลับไปสร้างแรงกดดันในทางลบต่อเศรษฐกิจไทยเพิ่ม ขึ้นไปจากผลกระทบจากภาวะชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก[88]
  • นายวิวัฒน์ กิตติพงศ์โกศล ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ ธนาคารไทยพาณิชย์ กล่าวว่า ธนาคารจะช่วยเหลือลูกค้าที่ได้รับผลกระทบจากการปิดท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ทั้งกลุ่มลูกค้าส่งออกทางเครื่องบินและธุรกิจโรงแรม ซึ่งจะพิจารณาเป็นรายๆ ไป ทั้งนี้ ธนาคารอาจพิจารณาปรับลดดอกเบี้ยตั๋วพีเอ็น ที่ใช้สั่งซื้อ วัตถุดิบให้กับลูกค้าที่ได้รับความเสียหาย เพื่อลดภาระด้านดอกเบี้ย ขณะเดียวกันก็อาจพิจารณายืดระยะเวลาการผ่อนชำระหนี้ออกไป ซึ่งขณะนี้ธนาคารก็เริ่มช่วยให้ลูกค้าบางรายผ่อนชำระน้อยลง เพราะธนาคารก็เข้าใจว่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดปัญหาจากตัวลูกค้า [89]

อ้างอิง

  1. พธม.ยอมปล่อยผู้โดยสารติดค้าง 3 พันคน ในอาคารสุวรรณภูมิ หลังขาดแคลนน้ำ-อาหาร เหตุร้านปิดบริการ ข่าวจากมติชน
  2. Thai economy braces for fresh blow
  3. Airports still shut, trains not running Bangkok Post. August 31, 2008.
  4. หนังสือ ปรากฏการณ์สนธิ จากเสื้อสีเหลืองถึงผ้าพันคอสีฟ้า โดย คำนูณ สิทธิสมาน สำนักพิมพ์ บ้านพระอาทิตย์ พิมพ์รวมเล่ม ครั้งที่ 3 : พฤศจิกายน 2549, 328 หน้า ราคา 320 บาท ISBN 974-94609-7-9
  5. http://www.thainewsland.com/?l=th&a=28346
  6. Asian Human Rights Committee, THAILAND: Watershed moment for democracy and rule of law, 26 November 2008
  7. ป๋าหมากบอก ฆ่าตัดตอน 2,500 ศพ ยุคแม้วนั้นชอบธรรมแล้ว ..... !! , oknation.net
  8. Thai Visa.com, People's Alliance for Democracy to Renew Movement, Febuary 25, 2008.
  9. “พันธมิตรฯ” กวักมือเรียก “แม้ว” เตือนอย่าแทรกแซงศาล
  10. MCOT news,ศาลฎีกาให้ใบแดง ยงยุทธ เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี, เข้าถึงข้อมูลวันที่ 8 กรกฎาคม 2551
  11. คมชัดลึก, "เสรีพิศุทธ์"ประชุมนครบาล จี้ออกหมายจับแกนนำนปก.เพิ่ม, เข้าถึงข้อมูลวันที่ 23 กรกฎาคม 2550
  12. เอเอสทีวีผู้จัดการ, “เจ๊เพ็ญ” ดิ้นหนีตายหมิ่นสถาบัน โหยหาขอสอบพยานเพิ่ม 18 ปาก!, 16 กันยายน 2551
  13. PUBLIC HOT COMMUNITY,เปิดโปง “ดา ตอร์ปิโด”จอมด่าแห่งนรกป่วนกรุง เข้าถึงข้อมูลวันที่ 22 กรกฎาคม 2551
  14. The Nation , PAD begins rallying in front of MFA building to protest Preah Vihear Temple map, June 18, 2008.
  15. Saritdet Marukatat, The Bangkok Post,This land is my land! June 18, 2008.
  16. เอเอสทีวีผู้จัดการ, พันธมิตรฯ ทั่ว ปท.บุกกรุง!ฮือขับไล่“นพดล”ย่ำยีหัวใจไทย!! 18 มิถุนายน 2551
  17. ผู้จัดการออนไลน, เสร็จมันแล้วพี่น้อง! “นพดล” ลงนามมอบเขาพระวิหารให้เขมรแล้ว, 18 มิถุนายน 2551
  18. The Nation,"'Finland plot' on dangerous ground", 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 (อังกฤษ)
  19. The Nation, "Burning Issue: Finland, monarchy: a dangerous mix", 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 (อังกฤษ)
  20. The Bangkok Post, "Manager sued for articles on 'Finland plot'", 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 (อังกฤษ)
  21. Thai Visa.com, People's Alliance for Democracy to Renew Movement, Febuary 25, 2008.
  22. ผู้จัดการออนไลน์หน้าพิเศษ
  23. ผู้จัดการออนไลน์, รัฐวิสาหกิจลั่นเคียงข้างพันธมิตรฯร่วมศึกใหญ่ 17 พฤษภาคม 2551
  24. The Nation, State Enterprise workers joins PAD protest, June 18, 2008.
  25. Wassana Nanuam & Penchan Charoensuthipan, The Bangkok Post, PAD targets major rally on Friday to oust the govt, June 18, 2008.
  26. พันธมิตรฯบุกยึด NBT dailynews.co.th
  27. ส.นักข่าวฯ ประณามม็อบไอ้โม่งบุกยึดเอ็นบีที dailynews.co.th
  28. มุมมองสื่อทั่วโลกกับการประท้วงของพันธมิตร komchadluek.net
  29. ศาลอาญาอนุมัติหมายจับกุม 9 แกนนำพันธมิตรฯ
  30. "จำลอง"โยนแกนนำรุ่น 2 ตัดสินหลีกทางเสด็จฯหรือไม่ ก่อนโดดนั่งกลางวงม็อบอาศัยฝูงชนเป็นกำแพงอีกแล้ว!
  31. 31.0 31.1 พันธมิตรฯสองแควพร้อมเคลื่อนพลสมทบชุมนุมใหญ่พรุ่งนี้
  32. "พันธมิตรฯต.อ." นับพันพร้อมแล้ว! เดินหน้าเข้ากทม.ร่วมชุมนุม
  33. พันธมิตรฯ พัทยา-นาเกลือ-บ้านบึง–พนัส แถลงเชิญชวนร่วมชุมนุม 25 พ.ค.
  34. พันธมิตรฯเมืองเลยเดินทางคืนนี้ ลั่นพร้อมต้านหุ่นเชิดแม้วแก้รธน.
  35. สมัชชาฯ ขอนแก่นพร้อมร่วมชุมนุม 25 พ.ค. ปลุกสำนึกคนไทยร่วมปกป้องชาติ
  36. เครือข่าย 18 องค์กรบุรีรัมย์เคลื่อนพลเข้ากรุงคืนนี้ -ร่วมชุมนุมต้านแก้“รธน.”
  37. พันธมิตรฯสตูล รับบริจาคค่ารถหวังสมทบพันธมิตรฯกทม.
  38. 38.0 38.1 “หมอศุภผล” ชี้มะเร็งระบอบทรราชย์กำลังลุกลาม หนุนสมัชชาใต้ล่างจับมืออีสานสู้
  39. "ชี้ขาดที่ขนาดของ “หัวใจ”"
  40. "รัฐวิสากิจ"ร่วมไล่"หุ่นเชิด"กับพันธมิตรฯ นัดหยุดงาน 26-27 ส.ค.
  41. รถไฟสายใต้ร่วมอารยะขัดขืนหยุดเดินรถพรุ่งนี้เช้า
  42. สหภาพแรงงานรถไฟฯ ลาป่วย! - หยุดเดินรถพร้อมกันทั่วประเทศแล้ว
  43. "ทีโอที" ชวนพนักงานลาพักร้อน
  44. ปธ.สหภาพแรงงาน ขสมก. เตรียมถกด่วน หลัง "สมัคร" ประณามนัดหยุดงาน
  45. "บินไทย"เผยสหภาพฯให้ลางาน15,000คนไม่กระทบนักบิน
  46. สหภาพกปน.-กปภ.นัดหยุดงานทั่วประเทศพรุ่งนี้ ขู่ตัดน้ำหากปชช.ถูกรังแก
  47. จับตา!แถลงจุดยืนสหภาพฯ 3 แบงก์รัฐ บ่ายนี้
  48. 20 ส.ว.เข้าให้กำลังใจม็อบถึงทำเนียบ
  49. แนวร่วมพันธมิตรฯ ลุกฮือสู้ ตร.เถื่อนสลายผู้ชุมนุม
  50. เปิดตัว www.puntamit.com ณ เวทีพันธมิตรฯ ทำเนียบรัฐบาล
  51. Sanook.com, ใครเป็นใครใน Young PAD, เข้าถึงวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551
  52. ไทยรัฐ, แนวคิดการเมืองใหม่ เลือกส.ส.30%- สรรหา70%
  53. การเมืองใหม่, กลุ่มคนจุดตะเกียง + PAD N.E.
  54. เอเอสทีวีผู้จัดการ, “ธีรยุทธ” ชี้ พปช.รุกหนัก-ใช้อามิสสินจ้าง-ส่อเกิดสงครามกลางเมือง, 26 กรกฎาคม 2551
  55. เอเอสทีวีผู้จัดการ, “พันธมิตร” ภูมิใจ ปชช.เป็นเจ้าภาพร่วม คลอดการเมืองใหม่, 23 กันยายน 2551
  56. เอเอสทีวีผู้จัดการ, “เพ็ญ” แถลงลาออกแล้ว อ้างเพื่อ “รักษาขุนให้อยู่รอด” 30 พฤษภาคม 2551
  57. [1]
  58. มติชน,[2] 31 พฤษภาคม 2551
  59. เอเอสทีวีผู้จัดการ “สมศักดิ์” รัวกลองรบ! ขับไล่ “หมัก-รบ.นอมินี” ไร้ความชอบธรรม
  60. เว็บบล็อกโอเคเนชั่น สมัคร ปอดแหก เลิกสลายการชุมนุม
  61. ยกเลิกพ.ร.ก.ฉุกเฉินมีผลวันนี้ สมชาย วอนยุติความขัดแย้ง
  62. เอเอสทีวีผู้จัดการ, สหภาพแรงงานรถไฟฯ ลาป่วย! - หยุดเดินรถพร้อมกันทั่วประเทศแล้ว, 28 สิงหาคม 2551
  63. สนามบิน"ดอนเมือง"สุดปั่นป่วน สั่งปิดภูเก็ตหาดใหญ่กระบี่แล้ว - กรุงเทพธุรกิจ & คม ชัด ลึก
  64. เอเอสทีวีผู้จัดการ, เซอร์ไพรส์! กัปตันการบินไทยขึ้นเวทีพันธมิตรฯ, 28 สิงหาคม 2551
  65. เอเอสทีวีผู้จัดการ, สภาทนายฯ ตั้งคณะทำงาน กม.ช่วยประชาชนถูกตำรวจทำร้าย, 10 ตุลาคม 2551
  66. เอเอสทีวีผู้จัดการ, ส.ว.ร้องยูเอ็น! ค้าน รบ.โจรตั้ง คกก.สอบโจรเหตุ 7 ตุลาทมิฬ , 10 ตุลาคม 2551
  67. มติชน, พันธมิตรเตรียมเคลื่อนบุกทำเนียบ'จำลอง' ย้ำห้ามพกอาวุธ ตร.ระดมกำลัง5พันรับมือ, 19 มิถุนายน 2551
  68. ประชาไท, สถานการณ์การชุมนุม มัฆวาน – สนามหลวง คืนก่อนวันทุบหม้อข้าว, 19 มิถุนายน 2551
  69. เอเอสทีวีผู้จัดการ, *อำมหิตผิดมนุษย์! ตร.ตีคนแก่ สกัดห้ามเข้าสมทบพันธมิตรฯที่ทำเนียบฯ, 29 สิงหาคม 2551
  70. BBC News, Pressure mounts on Thailand's PM, 29 August 2008
  71. The Bangkok Post, Playing the foreign card, August 29, 2008.
  72. ไทยรัฐ, สมเด็จพระเทพฯ ทรงห่วง สถานการณ์ชุมนุมที่เกิดขึ้น, 30 ส.ค. 51
  73. เอเอสทีวีผู้จัดการ, แจ้งจับตำรวจรัฐเถื่อน! รุมทำร้ายประชาชน, 31 สิงหาคม 2551
  74. ผู้จัดการอนนไลน์, “หม่อมปลื้ม” เลือกข้าง “ฆาตกรมือเปื้อนเลือด” - ด่าอาจารย์หมอ 8 สถาบัน, 10 ตุลาคม 2551
  75. พล.ต.อ.สล้าง ยืนยันยึดทำเนียบฯ คืนจากพันธมิตรฯ
  76. สล้าง แถลงตั้งกองกำลังยึดทำเนียบคืน
  77. แนวหน้า, "จำลอง"ซัดรบ.สั่งฆ่าปชช. ปาระเบิดพธม. สาหัส2-บาดเจ็บอีกนับสิบ, 30 ตุลาคม 2551
  78. ไทยรัฐ, ศาลนัดฟังคำสั่ง30มิย. ครู-นร.ฟ้องพันธมิตรปิดถนน, 27 มิถุนายน 2551
  79. Daily News Online, พันธมิตรฯ พร้อมทำตามคำสั่งศาล หลังถูกนร.ฟ้อง, 28 มิถุนายน 2551
  80. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, ราคาดัชนีตลาดหลักทรัพย์, เข้าถึงข้อมูลวันที่ 12 กันยายน 2551
  81. กรุงเทพธุรกิจ, หุ้นไทยภาคเช้าปิดที่391.28จุดบวก0.36จุด, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  82. โพสต์ทูเดย์, เราใกล้ถึงจุดต่ำสุดหรือยัง?, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  83. เอเอสทีวีผู้จัดการ, ภาคธุรกิจรุมค้าน "หอกหัก" รีเทิร์นฯ สับเละ พปช. ขาดต่อมจริยธรรม, 11 กันยายน 2551
  84. เอเอสทีวีผู้จัดการ, เอกชนตะเพิด “หอกหัก” พ้นการเมือง-ชี้คุณสมบัติ 5 ข้อผู้นำใหม่, 12 กันยายน 2551
  85. เอเอสทีวีผู้จัดการ,"บลจ."เชื่อไทยน่าลงทุน เหนือเพื่อนบ้านทุกด้าน, 12 กันยายน 2551
  86. มติชน, ผอ.สุวรรณภูมิวอน พธม.เลิกชุมนุมหลังพปช.ถูกยุบ, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  87. มติชน, ทอท.สูญรายได้แล้วกว่า 350 ล้านบาท, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  88. กรุงเทพธุรกิจ, หุ้นไทยภาคเช้าปิดที่391.28จุดบวก0.36จุด, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
  89. โพสต์ทูเดย์, เอกชนเซ็งหมดทางพึ่งรัฐ, เรียกข้อมูลวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น


ภาพสรุปเหตุการณ์วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย
ภาพสรุปเหตุการณ์วิกฤตการณ์การเมืองในประเทศไทย

บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งหรือเกี่ยวข้องกับ
วิกฤตการณ์การเมืองไทย พ.ศ. 2548–2553

การเมืองไทยประวัติศาสตร์ไทย