สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7
สภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 | |||||
---|---|---|---|---|---|
| |||||
ภาพรวม | |||||
สภานิติบัญญัติ | สภาผู้แทนราษฎร | ||||
เขตอำนาจ | ประเทศไทย | ||||
ที่ประชุม | พระที่นั่งอนันตสมาคม | ||||
วาระ | 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 – 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 | ||||
การเลือกตั้ง | การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495 | ||||
รัฐบาล | คณะรัฐมนตรีแปลก 7 | ||||
สภาผู้แทนราษฎร | |||||
สมาชิก | 246 | ||||
ประธาน | พระประจนปัจจนึก | ||||
รองประธานคนที่ 1 | พระราชธรรมนิเทศ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ขุนคงฤทธิศึกษากร ตั้งแต่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2498 | ||||
รองประธานคนที่ 2 | พระยาอนุภาพไตรภพ ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 ขุนคงฤทธิศึกษากร ตั้งแต่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2497 ขุนวิวรณ์สุขวิทยา ตั้งแต่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2498 | ||||
นายกรัฐมนตรี | แปลก พิบูลสงคราม | ||||
พรรคครอง | พรรคธรรมาธิปัตย์ |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทย ชุดที่ 7 (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500) เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทย มีจำนวนสมาชิกทั้งสิ้น 246 คน โดยมาจากการเลือกตั้งแบบประเภทที่ 1 ซึ่งแบ่งเขตทั้งหมด 123 คน และแบบประเภทที่ 2 ซึ่งเป็นการแต่งตั้ง 123 คน จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2495
การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งทางตรง แบบรวมเขต ถือเกณฑ์ราษฎร 150,000 คน ต่อผู้แทนราษฎร 1 คน ได้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จำนวน 123 คน
สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรชุดนี้ สิ้นสุดตามวาระ เนื่องจากสมาชิกประเภทที่ 1 สิ้นสุดสมาชิกภาพ
รายนามสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
[แก้]ประเภทที่ 1
[แก้] ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
มีรายนามดังนี้
พระนคร
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
พระนคร | ประพัฒน์ วรรณธนะสาร | เสียชีวิต/ไม่มีเลือกตั้งใหม่ | |
ฉัตร ศรียานนท์ | |||
พลโทปลด ปลดปรปักษ์ พิบูลภานุวัธน์ | เสียชีวิต 28 เมษายน 2496 | ||
จันโนทัย ฤกษสุต | เลือกตั้งใหม่ 25 กรกฎาคม 2496 | ||
จินตะเสน ไชยาคำ | |||
เพทาย อมาตยกุล | |||
โชติ คุณะเกษม |
ธนบุรี
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
ธนบุรี | ไถง สุวรรณทัต | ||
เพทาย โชตินุชิต |
ภาคกลาง
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กำแพงเพชร | ประสิทธิ์ ชูพินิจ | ||
ชัยนาท | ไกรสร สุขสว่าง | เสียชีวิต 23 พฤศจิกายน 2496 | |
สง่า ศรีเพ็ญ | เลือกตั้งใหม่ 19 กุมภาพันธ์ 2497 | ||
นครนายก | ทองพูน ทิมฉิม | ||
นครปฐม | เรือเอกพระสาครบุรานุรักษ์ | ||
สานนท์ สายสว่าง | |||
นครสวรรค์ | สวัสดิ์ คำประกอบ | ||
สุนีรัตน์ เตลาน | |||
ขุนวิวรณ์สุขวิทยา | |||
นนทบุรี | พันตรีหลวงราชเวชชพิศาล | ||
ปทุมธานี | พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) | ||
พระนครศรีอยุธยา | พันตรีหลวงจบกระบวนยุทธ | ||
ฟื้น สุพรรณสาร | |||
พิจิตร | เผด็จ จิราภรณ์ | ||
แก้ว สิงหคะเชนทร์ | |||
พิษณุโลก | ร้อยโทจงกล ไกรฤกษ์ | ||
เพชรบูรณ์ | พันตำรวจตรีสงกรานต์ อุดมสิทธิ์ | ||
ลพบุรี | ศิริ ภักดีวงศ์ | ||
สมุทรปราการ | เผด็จ ศิวะทัต | ||
สมุทรสงคราม | เทพ สุวงศ์สินธุ์ | ||
สมุทรสาคร | พร มลิทอง | ||
สระบุรี | พันเอกประมาณ อดิเรกสาร | ||
สิงห์บุรี | เพียรศักดิ์ นิสสัยสุข | ||
สุโขทัย | ธวัช ทานสัมฤทธิ์ | ||
สุพรรณบุรี | ถวิล วัฎฎานนท์ | ||
สะอาด จันทร์ผา | |||
อ่างทอง | พลตรีหลวงวิสิษฐยุทธศาสตร์ | ||
อุทัยธานี | พันตำรวจตรีหลวงเจริญตำรวจการ |
ภาคเหนือ
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
เชียงราย | บุญช่วย ศรีสวัสดิ์ | ||
บุณยฟาง ทองสวัสดิ์ | |||
นายวรการบัญชา (บุญเกิด สุตันตานนท์) | |||
เชียงใหม่ | พิรุณ อินทราวุธ | ||
สงวน ศิริสว่าง | |||
เจ้าไชยณรงค์ ณ เชียงใหม่ | |||
เมธ รัตนประสิทธิ์ | |||
น่าน | เจ้าประดิษฐ์ ณ น่าน | ||
แพร่ | วัง ศศิบุตร | ||
แม่ฮ่องสอน | เสมอ กัณฑาธัญ | ||
ลำปาง | บุญเท่ง ทองสวัสดิ์ | ||
วิชัย โลจายะ | |||
ลำพูน | ชัยวัธน์ อินทะพันธ์ | ||
อุตรดิตถ์ | ชิ้น อยู่ถาวร | เสียชีวิต 31 มีนาคม 2499 | |
เทพ เกตุพันธุ์ | เลือกตั้งใหม่ 1 กรกฎาคม 2499 |
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
[แก้]ภาคใต้
[แก้]ภาคตะวันออก
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
จันทบุรี | สุรพงษ์ ตรีรัตน์ | ||
ฉะเชิงเทรา | จวน กุลละวณิชย์ | ||
ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ | |||
ชลบุรี | ชาย สุอังคะ | ||
ตราด | หลวงอรรถพรพิศาล (อัมพร สูตะบุตร) | ||
ปราจีนบุรี | พันตรีวิเชียร ศรีมันตร | ||
ร้อยโทพัฒน์ ณ ถลาง | |||
ระยอง | เสวตร เปี่ยมพงศ์สานต์ |
ภาคตะวันตก
[แก้]จังหวัด | รายนาม | สมาชิกภาพ | หมายเหตุ |
กาญจนบุรี | ฉาย วิโรจน์ศิริ | ||
ตาก | เทียม ไชยนันทน์ | ||
ประจวบคีรีขันธ์ | ทองสืบ ศุภมาร์ค | ||
เพชรบุรี | ขุนวิเทศดรุณการ (ชด มหาขันธ์) | ||
ราชบุรี | สมศักดิ์ สมบูรณ์ทรัพย์ | ||
เทียม ณ สงขลา |
ประเภทที่ 2
[แก้]แต่งตั้ง เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494[1]
ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ ออกจากตำแหน่ง |
ผู้ดำรงตำแหน่ง
[แก้]ประธานสภาผู้แทนราษฎร พลเอกพระประจนปัจจนึก
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2498) ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) ดำรงตำแหน่งแทน
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง พลตรีพระยาอนุภาพไตรภพ (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2496) ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) ดำรงตำแหน่งแทน (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2498) ขุนวิวรณ์สุขวิทยา ดำรงตำแหน่งแทน (ออกจากตำแหน่ง พ.ศ. 2498)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
- ↑ ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒