ข้ามไปเนื้อหา

พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ (วงศ์ ลัดพลี)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์
(วงษ์ ลัดพลี)
ประธานศาลฎีกาไทย
ดำรงตำแหน่ง
17 มกราคม พ.ศ. 2484 – พ.ศ. 2495
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ก่อนหน้าพระยาวิกรมรัตนสุภาษ (ชม ศุขะวณิช)
ถัดไปพระมนูเวทย์วิมลนาท (มนูเวทน์ สุมาวงศ์)
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
ดำรงตำแหน่ง
31 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 – 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(3 ปี 233 วัน)
นายกรัฐมนตรีจอมพล แปลก พิบูลสงคราม
ก่อนหน้าพระนิติธารณ์พิเศษ (ชุบ มัธยมจันทร์)
ถัดไปเลียง ไชยกาล
เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา
ดำรงตำแหน่ง
28 กันยายน พ.ศ. 2468 – 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2469
(0 ปี 245 วัน)
ก่อนหน้าพระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา)
ถัดไปพระสารสาสน์ประพันธ์ (ชื้น จารุวัสตร์)
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จังหวัดพระนคร
ดำรงตำแหน่ง
26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 – 16 กันยายน พ.ศ. 2500
(0 ปี 202 วัน)
เขตเลือกตั้ง1
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 มีนาคม พ.ศ. 2436
เสียชีวิต19 เมษายน พ.ศ. 2511 (75 ปี 36 วัน)
พรรคการเมืองพรรคเสรีมนังคศิลา
คู่สมรสคุณหญิงทิพวรรณ ลัดพลีธรรมประคัลภ์

อำมาตย์เอก พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์(วงศ์ ลัดพลี) เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมในรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม อดีตประธานศาลฎีกา อดีตเลขาธิการคณะกรรมการกฤษษฎีกา และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร

พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์ ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ลาออกจากบรรดาศักดิ์ในวันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2485[1] ต่อมาวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2488 ได้รับพระบรมราชานุญาตให้กลับคืนมีบรรดาศักดิ์ดังเดิม[2]

การทำงาน

[แก้]

พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม[3] [4][5] ในสมัยที่จอมพล แปลก พิบูลสงคราม เป็นนายกรัฐมนตรี เริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2496 จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2500 เป็นประธานศาลฎีกา เริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเมื่อปี พ.ศ. 2495 เป็นเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เริ่มดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2468 จนกระทั่งพ้นจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2469 และเคยเป็นอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนคร 1 สมัย

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกราบถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์
  2. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกลับคืนมีบรรดาศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 62 (7 ง): 127. 30 มกราคม พ.ศ. 2488. สืบค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2561. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พระยาลัดพลีธรรมประคัลภ์)
  4. ราชกิจจานุเบกษา,พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งและแต่งตั้งรัฐมนตรี (จำนวน ๓๐ ราย) เล่ม 74 ตอน 33ก วันที่ 1 เมษายน 2500
  5. "คณะรัฐมนตรีคณะที่ 26 จากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-14. สืบค้นเมื่อ 2018-04-09.
  6. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๗๘ ง หน้า ๕๓๙๑, ๒๒ ธันวาคม ๒๔๙๖
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-05-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๗๒ ง หน้า ๔๖๕๒, ๙ ธันวาคม ๒๔๙๕
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๓๐ ง หน้า ๑๒๒๕, ๑๑ พฤษภาคม ๒๔๙๗
  9. ราชกิจจานุเบกษา, บัญชีรายนาม ผู้ที่ได้รับพระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ เก็บถาวร 2022-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๒ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๔๙๙, ๒๖ พฤษภาคม ๒๔๗๘
  10. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชทานเหรียญดุษฎีมาลา เก็บถาวร 2022-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๓๖ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๓๑๙, ๒๕ มกราคม ๒๔๖๒
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เก็บถาวร 2022-08-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๕๔ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๑๙๖๑, ๑๒ พฤศจิกายน ๒๔๘๐
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์ เก็บถาวร 2022-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๘๕ ง หน้า ๒๘๕๓, ๒๑ ธันวาคม ๒๔๙๗