พ.ศ. 2500
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2500 |
ปฏิทินเกรกอเรียน | 1957 MCMLVII |
Ab urbe condita | 2710 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1406 ԹՎ ՌՆԶ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6707 |
ปฏิทินบาไฮ | 113–114 |
ปฏิทินเบงกอล | 1364 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2907 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 5 Eliz. 2 – 6 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2501 |
ปฏิทินพม่า | 1319 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7465–7466 |
ปฏิทินจีน | 丙申年 (วอกธาตุไฟ) 4653 หรือ 4593 — ถึง — 丁酉年 (ระกาธาตุไฟ) 4654 หรือ 4594 |
ปฏิทินคอปติก | 1673–1674 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3123 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1949–1950 |
ปฏิทินฮีบรู | 5717–5718 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2013–2014 |
- ศกสมวัต | 1879–1880 |
- กลียุค | 5058–5059 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11957 |
ปฏิทินอิกโบ | 957–958 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1335–1336 |
ปฏิทินอิสลาม | 1376–1377 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 32 (昭和32年) |
ปฏิทินจูเช | 46 |
ปฏิทินจูเลียน | เกรกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4290 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 46 民國46年 |
พุทธศักราช 2500 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1957 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอังคารตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
ผู้นำประเทศไทย[แก้]
- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์[แก้]
มกราคม-มีนาคม[แก้]
- 1 มกราคม - ความผิดต่อองค์พระมหากษัตริย์ไทยเพิ่ม "ดูหมิ่น" และเปลี่ยนเป็นความผิดต่อความมั่นคงของชาติ หลังประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499 มีผลใช้บังคับ[1]:6,18
- 13 มกราคม - บริษัทของเด็กเล่น Wham-O ผลิตจานร่อนใบแรก ต่อมาใช้ชื่อว่า ฟริสบี (Frisbee)
- 4 กุมภาพันธ์ - เรือนอติลุส เรือดำน้ำลำแรกที่ติดตั้งระบบขับเคลื่อนด้วยนิวเคลียร์ เดินทางได้ไกล 60,000 ไมล์ทะเล เท่ากับเรือดำน้ำนอติลุสในนิยายวิทยาศาสตร์เรื่อง "ใต้ทะเล 20,000 โยชน์" ของชูลส์ แวร์น
- 16 กุมภาพันธ์ - ทีมฟุตบอลทีมชาติอียิปต์ชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติแอฟริกา ครั้งที่ 1 ณ ประเทศซูดาน
- 20 กุมภาพันธ์ - วันก่อตั้ง "สมาคมทนายความ" ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็นสมาคมทนายความแห่งประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2518
- 26 กุมภาพันธ์ - มีการเลือกตั้งทั่วไปทั้งประเทศ ที่ได้ชื่อว่าเป็น "การเลือกตั้งที่สกปรกที่สุดในประวัติศาสตร์" โดยมีการโกงการเลือกตั้งหลายวิธี และใช้เวลานับคะแนนนานถึง 7 วัน 7 คืน
- 8 มีนาคม - ประเทศอียิปต์เปิดคลองสุเอซ
- 25 มีนาคม - เยอรมนีตะวันตก เนเธอร์แลนด์ ลักเซมเบิร์ก อิตาลี ฝรั่งเศส และเบลเยียม ลงนามในสนธิสัญญาแห่งโรม เพื่อก่อตั้งประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)
เมษายน-มิถุนายน[แก้]
- 6 เมษายน - ทีมฟุตบอลทีมชาติอาร์เจนตินาชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 25 ณ สนามกีฬานาซีโอนัล กรุงลิมา ประเทศเปรู
กรกฎาคม-กันยายน[แก้]
- 6 กรกฎาคม - แอลเทีย กิบสัน ชนะเลิศเทนนิสวิมเบิลดัน และเป็นนักกีฬาผิวดำคนแรกที่ได้แชมป์รายการนี้
- 29 กรกฎาคม - วันก่อตั้งสำนักงานพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ
- 31 สิงหาคม - สหพันธรัฐมาลายา ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร
- 4 กันยายน - ผู้ว่าการรัฐอาร์คันซอ ฝ่าฝืนคำสั่งของศาลยุติธรรมแห่งสหรัฐอเมริกา โดยไม่ยอมให้นักเรียนแอฟริกัน-อเมริกัน 9 คน ที่รู้จักกันในชื่อ "ลิตเติลร็อกไนน์" เข้าศึกษาในโรงเรียนมัธยมลิตเติลร็อก
- 16 กันยายน - รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2500 : จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก่อรัฐประหารยึดอำนาจจอมพล ป. พิบูลสงคราม และแต่งตั้งพจน์ สารสิน เป็นนายกรัฐมนตรี โดยประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2495 เพื่อเตรียมการเลือกตั้งครั้งใหม่
- 24 กันยายน - สนามกีฬากัมนอว์เปิดใช้งานเป็นครั้งแรก
- 26 กันยายน - ละครเพลง West Side Story เปิดการแสดงครั้งแรก ณ โรงละครบรอดเวย์
ตุลาคม-ธันวาคม[แก้]
- 4 ตุลาคม - สหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิค 1 ขึ้นสู่อวกาศด้วยจรวดอาร์-7 จากไบโคนูร์คอสโมโดรม คาซัคสถาน และกลายเป็นดาวเทียมดวงแรกที่โคจรรอบโลก
- 3 พฤศจิกายน - โครงการสปุตนิค : สหภาพโซเวียตส่งดาวเทียมสปุตนิก 2 ขึ้นสู่อวกาศพร้อมสุนัขไลก้า
- 6 ธันวาคม - โครงการแวนการ์ดของสหรัฐอเมริกา ประสบความล้มเหลวในการยิงจรวดส่งดาวเทียมดวงแรก เมื่อเกิดเหตุระเบิดบนฐานส่งจรวด
- 15 ธันวาคม - มีการเลือกตั้งทั่วไป นายพจน์ สารสิน ลาออกจากตำแหน่ง สภามีมติให้ พลโท ถนอม กิตติขจร ขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2501
ไม่ทราบวัน[แก้]
- เริ่มก่อสร้างวัดไทยพุทธคยา ณ เมืองคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย เพื่อร่วมฉลอง 25 พุทธศตวรรษ เช่นเดียวกับการสร้างพุทธมณฑลในประเทศไทย
- สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เข้าเป็นภาคีสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
- ไอบีเอ็ม ผลิตและจำหน่ายภาษาฟอร์แทรน
วันเกิด[แก้]
ดูสารนิเทศเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2500
มกราคม[แก้]
- 1 มกราคม - นัยนา เกิดวิชัย อดีตคณบดีคณะตำรวจศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ (ถึงแก่กรรม 6 ตุลาคม พ.ศ. 2562)
- 5 มกราคม - ค่อม ชวนชื่น นักแสดงตลกชาวไทย
- 11 มกราคม - ไบรอัน ร็อบสัน นักฟุตบอลชาวอังกฤษ
- 14 มกราคม - เจ้าชายเจอโรม นโปเลียน
- 15 มกราคม
- ชูกัน กุลวงษา นักการเมืองไทย
- มณตา หยกรัตนกาญ อาชญากรชาวไทย
- 17 มกราคม - กฤษฎา เจริญพานิช ทหารเรือชาวไทย
- 18 มกราคม - โยโกะ อากิโนะ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 19 มกราคม - ลีนเน ฟรานซิส นักกีฬาว่ายน้ำชาวออสเตรเลีย
- 23 มกราคม - เจ้าหญิงการอลีน เจ้าหญิงแห่งฮาโนเวอร์ ราชวงศ์กรีมัลดี
- 25 มกราคม - ชัยชาญ ช้างมงคล นักการเมืองไทย
- 27 มกราคม - คเวโต เพรทนาร์ นักฮอกกี้น้ำแข็งชาวสโลวีเนีย (ถึงแก่กรรม 25 เมษายน พ.ศ. 2561)
กุมภาพันธ์[แก้]
- 1 กุมภาพันธ์
- แจ็กกี ชรอฟฟ์ นักแสดงอินเดีย
- มารุต สาโรวาท ผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวไทย
- สนั่น สุธากุล นักการเมืองไทย (ถึงแก่กรรม 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2548)
- 4 กุมภาพันธ์ - วีระชาติ สะเทิ้นรัมย์ นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทยชุดโอลิมปิก 1976
- 5 กุมภาพันธ์ - ธีระชัย แสนแก้ว สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี
- 7 กุมภาพันธ์ - พระพรหมสุธี (เสนาะ ปญฺญาวชิโร) อดีตกรรมการมหาเถรสมาคม (ถึงแก่กรรม 25 มกราคม พ.ศ. 2559)
- 11 กุมภาพันธ์ - เจน เฟลโลวส์ บุคคลจากลอนดอน
- 14 กุมภาพันธ์ - โรลันโด นาบาร์เรเต นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์รุ่นแบนตัมเวท
- 19 กุมภาพันธ์
- พายัพ ชินวัตร นักการเมืองไทย
- เรย์ วินสตัน นักแสดงโทรทัศน์, ละครเวที และภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- 25 กุมภาพันธ์
- ธาร์แมน แชนมูการัตนม นักการเมืองและนักเศรษฐศาสตร์ชาวสิงคโปร์
- สัญชัย วงษ์สุนทร อดีตนักการเมืองไทย
- 26 กุมภาพันธ์ - ภมร อโนทัย นักจัดรายการเพลงอิสระ (ถึงแก่กรรม 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543)
- 27 กุมภาพันธ์ - อิงเงอร์บอร์ก ลอเรนต์ซัน
มีนาคม[แก้]
- มีนาคม - หยาง ลฺหวี่-อฺวี้ อดีตนักการเมืองจีน
- 9 มีนาคม - โอลีเฟอร์ ซตริทเซิล นักแสดงและนักพากย์
- 10 มีนาคม - อุซามะห์ บิน ลาดิน ผู้ก่อการร้ายชาวซาอุดีอาระเบีย (ถึงแก่กรรม 4 พถษภาคม พ.ศ. 2554)
- 11 มีนาคม
- กอเซม โซเลย์มอนี นายพลชาวอิหร่าน (ถึงแก่กรรม 3 มกราคม พ.ศ. 2563)
- พิสิทธิ์ สิทธิสาร ทหารบกชาวไทย
- 19 มีนาคม - พระเทพปฏิภาณวาที (สุนทร ญาณสุนฺทโร)
- 20 มีนาคม - สไปค์ ลี ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 23 มีนาคม - พัก ชัน-ฮี นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้
- 25 มีนาคม - วสันต์ โชติกุล นักร้อง
- 27 มีนาคม - ชัยยะ ศิริอำพันธ์กุล ตำรวจชาวไทย
- 29 มีนาคม
- คริสโตเฟอร์ แลมเบิร์ท นักแสดงชาวฝรั่งเศส
- สุทัศน์ จันทร์แสงศรี นักการเมืองไทย
เมษายน[แก้]
- 1 เมษายน - นิทัศน์ ศรีนนท์ นักการเมืองไทย
- 4 เมษายน - เคซุเกะ อิตะงะกิ นักเขียนการ์ตูนมังงะชาวญี่ปุ่น
- 5 เมษายน - ประสิทธิ์ วัฒนาภา ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 7 เมษายน - ยุทธพงษ์ แสงศรี นักการเมืองไทย
- 14 เมษายน - มิคาอิล เพลตเนฟ วาทยกร นักดนตรีคลาสสิก
- 15 เมษายน
- ไกรสร แสงอนันต์ นักแสดงชาวไทย
- ฮวัง กโย-อัน อดีตนายกรัฐมนตรีเกาหลีใต้
- 17 เมษายน - นิก ฮอร์นบี นักเขียนชาวอังกฤษ
- 19 เมษายน - ณรงค์น้อย เกียรติบัณฑิต นักมวยไทยชาวไทย
- 21 เมษายน -
- บรูตัส บีฟเค้ก นักมวยปล้ำอาชีพกึ่งเกษียณอายุชาวอเมริกัน
- โฟสแต็ง-อาร์ก็องฌ์ ตัวเดรา นักการเมืองและนักวิชาการจากสาธารณรัฐแอฟริกากลาง
- วินัย ทองสอง ตำรวจชาวไทย
- 22 เมษายน
- ดาเนียล แชตโท นักแสดง ชาวอังกฤษ
- ดอนัลต์ ตุสก์ นายกรัฐมนตรีโปแลนด์
- วีระ ธีรภัทร พิธีกรไทย
- 24 เมษายน - ไกรฤกษ์ นานา อาจารย์/นักวิชาการ/คอลัมนิสต์
- 25 เมษายน - รอช มาร์ก คริสเตียน คาบอเร นักการเมืองและนายธนาคารบูร์กินาฟาโซ
- 29 เมษายน - แดเนียล เดย์ ลูอิส นักแสดงชาวอังกฤษ
- 30 เมษายน - นิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ นักการเมืองไทย
พฤษภาคม[แก้]
- 2 พฤษภาคม - สุรพงษ์ สืบวงศ์ลี อดีตแพทย์ชาวไทย
- 3 พฤษภาคม - ลักษณ์ วจนานวัช นักการเมืองไทย
- 8 พฤษภาคม - ริโนะ คะตะเซะ นักแสดงภาพยนตร์หญิงชาวญี่ปุ่น
- 10 พฤษภาคม
- ซิด วิเชียส นักดนตรีชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522)
- พระไพศาล วิสาโล ภิกษุชาวไทย
- จิระวดี อิศรางกูร ณ อยุธยา นักแสดงหญิงชาวไทย
- 13 พฤษภาคม - หลิน เจิ้ง เยฺว่เอ๋อ นักการเมืองชาวฮ่องกง
- 15 พฤษภาคม
- เควิน วอน เอริช อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- เจ้าหญิงมาร์กาเรธาแห่งลิกเตนสไตน์ เจ้าหญิงลักเซมเบิร์ก
- เจ้าชายฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก
- 17 พฤษภาคม - สมบัติ ขจรไชยกุล นักแสดงชาย/นักดนตรี
- 19 พฤษภาคม - จันทนีย์ อูนากูล นักร้อง/นักแต่งเพลง
- 20 พฤษภาคม - โยะชิฮิโกะ โนะดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น
- 22 พฤษภาคม - ลี จ็อง-กุล บุคคลจากโซล
- 25 พฤษภาคม - กิตติคุณ เชียรสงค์ นักดนตรีชาวไทย (ถึงแก่กรรม 28 กันยายน พ.ศ. 2550)
- 26 พฤษภาคม - โอลิเวีย พัสคัล นักแสดงเยอรมัน
- 28 พฤษภาคม
- ซิลเวนา โทมาเซลลี นักวิชาการ, นักประวัติศาสตร์ประจำมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
- วัฒนา เมืองสุข อดีตรัฐมนตรี
มิถุนายน[แก้]
- 5 มิถุนายน - อนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ นักการเมืองไทย
- 6 มิถุนายน - ไพรวัลย์ ดาเกลี้ยง จิตรกรชาวไทย
- 8 มิถุนายน - สกอตต์ แอดัมส์ นักเขียนการ์ตูนชาวอเมริกัน ("ดิลเบิร์ต")
- 10 มิถุนายน - ลินด์เซย์ ฮอยล์ นักการเมืองชาวอังกฤษ
- 13 มิถุนายน - ณรงค์ บุญเฟื้อง นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย
- 14 มิถุนายน
- ทนุศักดิ์ เล็กอุทัย อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
- สำราญ ศรีแปงวงค์ อดีตนักการเมืองไทย
- 17 มิถุนายน
- ฟิลลิดา ลอยด์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอังกฤษ
- อารีเฟน ฮะซานี นักวาดการ์ตูนไทย
- 18 มิถุนายน -
- ฐิติวัจน์ กำลังเอก อดีตราชองครักษ์พิเศษ อดีตผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษ
- มีเกล อังเคล โลตีนา นักฟุตบอลชาวสเปน
- 20 มิถุนายน
- โคโค บี.แวร์ นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- หม่อมราชวงศ์พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไทย
- 23 มิถุนายน - ฟรานเซส แม็คดอร์มานด์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- 28 มิถุนายน - วิชาวัฒน์ อิศรภักดี นักการเมืองและนักการทูตชาวไทย
- 29 มิถุนายน - กูร์บันกูลืย เบียร์ดีมูฮาเมดอฟ นักการเมืองเติร์กเมนิสถาน
กรกฎาคม[แก้]
- 1 กรกฎาคม - วุฒิ ลิปตพัลลภ ผู้ตรวจราชการพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี อดีตรองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- 2 กรกฎาคม -
- เบรต ฮาร์ต นักมวยปล้ำอาชีพชาวแคนาดา
- พระเทพบัณฑิต (ธรณิศ ชาคโร) เจ้าอาวาสวัดเฉลิมกาญจนาภิเษก
- 3 กรกฎาคม - ลอรา แบรนิแกน นักร้องอเมริกัน นักดนตรีชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 26 สิงหาคม พ.ศ. 2547)
- 4 กรกฎาคม - สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี
- 5 กรกฎาคม - กฤษฎา บุญราช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- 10 กรกฎาคม - มานะ โลหะวณิชย์ นักการเมืองไทย
- 13 กรกฎาคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
- 15 กรกฎาคม - สาคร พรหมภักดี อดีตนักการเมืองไทย
- 17 กรกฎาคม - สุชาติ โชคชัยวัฒนากร อดีตนักการเมืองไทย
- 20 กรกฎาคม - อารีพงศ์ ภู่ชอุ่ม ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 21 กรกฎาคม - สเตฟัน เลอเวน ผู้นำประเทศในปัจจุบัน
- 24 กรกฎาคม - ชัฟคัต มีร์ซีโยเยฟ ชาวอุซเบกิสถาน
- 25 กรกฎาคม - ว่าน จื่อเหลียง นักแสดงฮ่องกง
- 26 กรกฎาคม
- หยวนเปียว (Yuen Biao) นักแสดงชาวฮ่องกง
- ยฺเหวียน เปียว นักแสดงฮ่องกง
- 28 กรกฎาคม
- 29 กรกฎาคม - เอนรีเก เซียร์รา นักกีตาร์ชาวสเปน (ถึงแก่กรรม 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555)
สิงหาคม[แก้]
- 1 สิงหาคม - โยะชิโอะ คะโต นักฟุตบอลชาวญี่ปุ่น
- 7 สิงหาคม - สมชาย หาญหิรัญ นักการเมืองไทย
- 8 สิงหาคม - ประสิทธิ์ วุฒินันชัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่ เขต 5
- 9 สิงหาคม
- ธีระ ไตรสรณกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ
- เมลานี กริฟฟิท นักแสดงอเมริกัน
- 14 สิงหาคม
- เจมส์ ฮอร์เนอร์ นักประพันธ์ทำนองเพลง วาทยากร (ถึงแก่กรรม 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558)
- พันธุ์ศักดิ์ เกตุวัตถา นักการเมืองไทย
- 15 สิงหาคม - ถัน ตุ้น นักแต่งเพลงชาวจีน
- 19 สิงหาคม
- มาร์ติน โดโนแวน นักแสดงชาวอเมริกัน
- ระวี หิรัญโชติ นักการเมืองไทย
- 20 สิงหาคม - ปานปรีย์ พหิทธานุกร นักการเมืองไทย
- 21 สิงหาคม - จอห์น ฮาว ศิลปินชาวแคนาดา
- 22 สิงหาคม - สตีฟ เดวิส นักสนุกเกอร์ชาวอังกฤษ
- 23 สิงหาคม - ศักดิ์ศิริ มีสมสืบ นักเขียนชาวไทย
- 26 สิงหาคม
- เคอิจิ นัมบะ นักพากย์ชาวญี่ปุ่น
- ดร. อัลบัน นักดนตรีชาวสวีเดน
- 27 สิงหาคม
- เบิร์นฮาร์ด ลังเกอร์ นักกอล์ฟชาวเยอรมัน
- เค็นจิ นางาอิ นักข่าวชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 27 กันยายน พ.ศ. 2550)
- 28 สิงหาคม - ไอ้ เว่ยเว่ย สถาปนิกชาวจีน
- 29 สิงหาคม
- พงษ์เทพ หนูเทพ ทหารเรือชาวไทย
- ชิโร ซะงิซุ นักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น
- 31 สิงหาคม - ประเสริฐ ชัยกิจเด่นนภาลัย นักธุรกิจชาวไทย
กันยายน[แก้]
- 1 กันยายน - กลอเรีย เอสตาฟาน นักร้องหญิงชาวคิวบา
- 3 กันยายน - สมชาย เบญจรงคกุล อดีตนักธุรกิจชาวไทย
- 4 กันยายน
- ทัศนีย์ คล้ายกัน นักเขียนชาวไทย นามปากกา
- อิสมาแอล เบญอิบรอฮีม นักการเมืองไทย
- 6 กันยายน - ฌูแซ ซอกราตึช นักการเมืองชาวโปรตุเกส
- 7 กันยายน - จารุพงษ์ ทองสินธุ์ บุคคลจากจังหวัดสุราษฎร์ธานี
- 9 กันยายน
- เจิ้งอวี้หลิง นักแสดงชาวฮ่องกง
- เดือนเต็ม สาลิตุล นักแสดงหญิงชาวไทย
- 12 กันยายน
- โรดวอริเออร์ฮอว์ก นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546)
- ฮันส์ ซิมเมอร์ นักแต่งเพลงชาวเยอรมัน
- 13 กันยายน
- บองบอง มาร์กอส นักการเมืองชาวฟิลิปปินส์
- วินนี แอพไพซ์ ชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี
- ฮวาง ชอลซุน นักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้
- 15 กันยายน - แบรด เบิร์ด ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 21 กันยายน
- เควิน รัดด์ นายกรัฐมนตรีของออสเตรเลีย
- เจ้าชายฟรันซ์-โจเซฟแห่งบาวาเรีย
- 27 กันยายน - บรันโก สมิลยานิช นักฟุตบอลชาวเซอร์เบีย
- 29 กันยายน - เลส ซีลีย์ ผู้รักษาประตูฟุตบอล (ถึงแก่กรรม 19 สิงหาคม พ.ศ. 2544)
ตุลาคม[แก้]
- 2 ตุลาคม - เจ้า เปิ่นชาน นักแสดงจีน
- 3 ตุลาคม - คว็อน คับ-ยง นักหมากล้อมชาวเกาหลีใต้
- 5 ตุลาคม
- เบอร์นี แมค นักแสดงและนักแสดงตลกชาวอเมริกิน (ถึงแก่กรรม 9 สิงหาคม พ.ศ. 2551)
- เพชรวรรต วัฒนพงศ์ศิริกุล สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ
- 6 ตุลาคม - บรูซ โครบเบอลาร์ นักฟุตบอลชาวซิมบับเว
- 7 ตุลาคม
- วสันต์ สิทธิเขตต์ ศิลปินชาวไทย
- ศักดา เตชะเกรียงไกร ตำรวจชาวไทย
- 8 ตุลาคม - วิภาดา จตุยศพร นักพากย์ชาวไทย
- 10 ตุลาคม
- รูมิโกะ ทากาฮาชิ นักวาดการ์ตูนญี่ปุ่น
- เอก ธณากร นักแสดงไทย
- 11 ตุลาคม
- แคธารีน เฟรเซอร์ มิสเตรสส์แห่งซอลเทิน
- นกน้อย อุไรพร นักร้องไทย หมอลำ
- 13 ตุลาคม - เฉลิมชัย เอียสกุล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดหนองคาย
- 15 ตุลาคม - วันชัย ปริญญาศิริ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา
- 17 ตุลาคม
- สตีฟ แม็กไมเคิล นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- สุวิทย์ คุณกิตติ อดีตรองนายกรัฐมนตรีไทย
- 20 ตุลาคม - เฉลิมชัย สิทธิสาท อดีตผู้บัญชาการทหารบกและองคมนตรี
- 23 ตุลาคม - พอล คากาเม ประธานาธิบดีรวันดา
- 27 ตุลาคม - วีรศักดิ์ นิลกลัด ผู้ประกาศข่าวชาวไทย
- 29 ตุลาคม - เจ้าหญิงโซเฟียแห่งโรมาเนีย
พฤศจิกายน[แก้]
- 1 พฤศจิกายน - อุทุมพร ศิลาพันธ์ นักแสดงไทย
- 2 พฤศจิกายน -
- ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข วิศวกรชาวไทย
- ลูว์เซียง ฟาฟวร์ อดีตนักฟุตบอลชาวสวิส
- 4 พฤศจิกายน
- โทนี แอบบ็อตต์ นายกรัฐมนตรีออสเตรเลีย
- ธัญญรัตน์ โลหะนันท์ นักแสดงไทย
- 5 พฤศจิกายน
- ธีรยุทธ ปรัชญาบำรุง นักแสดงไทย
- แก็บบี้ ธณากร นักแสดงชายชาวไทย
- 6 พฤศจิกายน - ศุภมิตร จันทร์แจ่ม นักวาดการ์ตูนไทย
- 7 พฤศจิกายน - คิงคองบันดี นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- 9 พฤศจิกายน
- อังสนา บุณโยภาส หัวหน้าภาควิชาภูมิสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ธีระ สลักเพชร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด
- 10 พฤศจิกายน - ชำนาญ จันทร์เรือง อดีตรองหัวหน้าพรรคอนาคตใหม่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
- 12 พฤศจิกายน - เซซิลียา ซิกาเนร์-อัลเบนิซ อดีตสุภาพสตรีหมายเลขหนึ่งของประเทศฝรั่งเศส
- 13 พฤศจิกายน - ดลชัย บุณยะรัตเวช นักแสดงชาวไทย
- 19 พฤศจิกายน - โอฟรา ฮาซา นักร้องอิสราเอล (ถึงแก่กรรม 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2543)
- 20 พฤศจิกายน - กู๊ดลัก โจนาธาน นักการเมืองชาวไนจีเรีย
- 21 พฤศจิกายน - จอร์จ อเล็กซานดรูว นักแสดงภาพยนตร์และละครชาวโรมาเนีย (ถึงแก่กรรม 1 มกราคม พ.ศ. 2559)
- 22 พฤศจิกายน - ศกรณ์ มงคลสุข นักวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ
- 23 พฤศจิกายน
- นรินท์พงศ์ จินาภักดิ์ นายกสมาคมทนายความแห่งประเทศไทย
- ภิญโญ รู้ธรรม ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวไทย
- 25 พฤศจิกายน
- เจินเจิน บุญสูงเนิน นักร้องไทย
- วัชรา ณ วังขนาย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดนครราชสีมา 2 สมัย
- 27 พฤศจิกายน - อรสม สุทธิสาคร ศิลปินชาวไทย
- 28 พฤศจิกายน - วีระ สมความคิด การเมืองภาคประชาชน
ธันวาคม[แก้]
- 9 ธันวาคม - ดอนนี ออสมอนด์ นักร้อง นักแสดง พิธีกร
- 10 ธันวาคม - ไมเคิล คลาร์ก ดันแคน นักแสดงอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 3 กันยายน พ.ศ. 2555)
- 13 ธันวาคม - สตีฟ บูเซมี นักแสดงอเมริกัน
- 17 ธันวาคม - สุรพงษ์ อึ้งอัมพรวิไล นักการเมืองไทย
- 21 ธันวาคม - เรย์ โรมาโน่ นักแสดงสหรัฐอเมริกา
- 22 ธันวาคม - ไช่ ฉิน นักร้องหญิงชาวไต้หวัน
- 23 ธันวาคม - เกษียร เตชะพีระ ศาสตราจารย์
- 24 ธันวาคม - ฮามิด การ์ไซ อดีตประธานาธิบดีอัฟกานิสถาน
- 25 ธันวาคม - อนันต์ ทรัพย์วารี ข้าราชการพลเรือนชาวไทย
- 29 ธันวาคม - คะซุกิ ยะโนะ ชาวญี่ปุ่นเชื้อสายเกาหลี
ไม่ทราบวัน[แก้]
- จินี (เด็กป่าเถื่อน) เด็กป่าเถื่อน
- ดร.วรฑา วัฒนะชยังกูร (นามเดิม ดร.อภิวัฒน์ วัฒนางกูร) พิธีกร/อดีตรองผู้จัดการ บริษัท เจเอสแอล (ถึงแก่กรรม 27 มิถุนายน พ.ศ. 2549)
- มอริส ก็อตลา นักมีนวิทยาชาวสวิส
- โซลตัน ชปีรันเดิลลี นักแสดง/ผู้กำกับภาพยนตร์
- แดนอรัญ แสงทอง นักเขียนชาวไทย
- โทมัส เฟลมันน์ นักดนตรีชาวสวิส
- ธงชัย วินิจจะกูล นักประวัติศาสตร์ชาวไทย
- มูลาตู เตโชเม นักการเมืองชาวเอธิโอเปีย
- มอริส ก็อตลา นักมีนวิทยาชาวสวิส
- วลีพร หวังซื่อกุล นักแปลชาวไทย
- แอนดรูว์ เวคฟิลด์ ข้อถกเถียงเรื่องวัคซีน MMR
วันถึงแก่กรรม[แก้]
ดูสารนิเทศเพิ่มเติมที่: หมวดหมู่:บุคคลที่เสียชีวิตในปี พ.ศ. 2500
- 23 มกราคม - พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าเฉลิมเขตรมงคล (ประสูติ 10 มีนาคม พ.ศ. 2435)
- 8 กุมภาพันธ์ - จอห์น ฟอน นอยมันน์ นักคณิตศาสตร์ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี (เกิด 28 ธันวาคม พ.ศ. 2446)
- 17 มีนาคม - รามอน แมกไซไซ ประธานาธิบดีคนที่ 3 ของฟิลิปปินส์ (เกิด 31 สิงหาคม พ.ศ. 2450)
- 24 ตุลาคม - คริสเตียน ดิออร์ นักออกแบบเสื้อผ้าชาวฝรั่งเศส (เกิด 21 มกราคม พ.ศ. 2447)
รางวัล[แก้]
รางวัลโนเบล[แก้]
- สาขาเคมี – Alexander R. Todd, Baron Todd
- สาขาวรรณกรรม – อัลแบร์ กามู
- สาขาสันติภาพ – เลสเตอร์ โบวส์ เพียร์สัน
- สาขาฟิสิกส์ – Chen Ning Yang, Tsung-Dao Lee
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – ดาเนียล โบเวท
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: พ.ศ. 2500 |