การรุกเวียนนา
หน้าตา
การรุกเวียนนา | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออก ใน สงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
เยอรมนี ฮังการี |
สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย ขบวนการต่อต้านออสเตรีย | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
รูดอล์ฟ ฟอน บือเนา วิลเหล์ม บิททริช |
ฟิโอดอร์ ตอลบูคิน วลาดิมีร์ สโตยเชฟ | ||||||
กำลัง | |||||||
16 มีนาคม:[1] 25 กองพล ทหาร 270,000 นาย รถถังและปืนจู่โจม 772 คัน/กระบอก รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ 957 คัน ปืน 434 กระบอก |
16 มีนาคม:[1] 77 กองพล ทหาร 1,171,800 นาย รถถังและปืนจู่โจม 1,600 คัน/กระบอก ปืน 5,425 กระบอก | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
16 มีนาคม – 15 เมษายน: เสียชีวิตประมาณ 30,000 คน ถูกจับเป็นเชลย 125,000 คน[2] |
16 มีนาคม – 15 เมษายน: เสียชีวิตรวม ๆ แล้ว 167,940 คน (รวมทั้งเสียชีวิตในขณะปฏิบัติหน้าที่กว่า 135,000 คนด้วบ) มากกว่า 38,661 คนถูกสังหาร กว่า 129,279 คนบาดเจ็บและป่วย |
การรุกเวียนนา คือการรุกที่เปิดฉากด้วยแนวรบยูเครนที่ 2 และแนวรบยูเครนที่ 3 ของสหภาพโซเวียตในคำสั่งในการเข้ายึดกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรียการรุกเริ่มขึ้นในวันที่ 16 มีนาคม และจบลงเมื่อวันที่ 15 เมษายน 1945
โซเวียตได้กำหนดเมืองไว้ภายใต้การโอบล้อม ได้เผชิญหน้ากับกองทัพน้อยยานเกราะเพียงหน่วยเดียว ภายหลังการต่อสู้บนท้องถนนไม่กี่วัน ฝ่ายป้องกันก็ได้ทำลายสะพานข้ามแม่น้ำดานูบทั้งหมดเหลือเพียงสองแห่งและหน่วยยานเกราะพันเซอร์ก็ได้หลบหนีจากการโอบล้อม การเข้ามาของโซเวียตได้ทำลายเมืองอันเก่าแก่ และกระทำการอันโหดร้ายต่อพลเรือนเป็นอย่างมาก สตาลินได้อนุมัติในการฟื้นฟูออสเตรียในฐานะประเทศเอกราช
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Frieser et al. 2007, p. 943.
- ↑ Tucker-Jones, Anthony (2016). The Battle for Budapest. Pen & Sword Books Limited. ISBN 978-1473877320.