การรุกไครเมีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การรุกไครเมีย
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง

ทหารโซเวียตกำลังข้ามอ่าวซิวัชเข้าสู่ไครเมีย
วันที่8 เมษายน-12 พฤษภาคม ค.ศ. 1944
สถานที่
ผล โซเวียตชนะ
คู่สงคราม
 สหภาพโซเวียต  ไรช์เยอรมัน
 โรมาเนีย
 บัลแกเรีย[1]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
สหภาพโซเวียต ฟิโอดอร์ ตอลบูคิน
สหภาพโซเวียต ฟีลิปป์ ออคเตียบร์สกี
นาซีเยอรมนี Erwin Jaenecke
Horia Macellariu
กำลัง
462,400 men[2][3]
560 tanks and assault guns
6,000 guns
1,200 aircraft

230,000–255,970 men[4][3]

นาซีเยอรมนี 165,000
ราชอาณาจักรโรมาเนีย 65,000
1,815 guns
ความสูญเสีย
84,819
17,754 killed or missing
67,065 wounded or sick
171 tanks
521 guns
179 aircraft[2][3]

Losses at sea:
1 submarine
1 motor torpedo boat
12+ aircraft
96,700[5]
นาซีเยอรมนี
31,700 killed or missing
33,400 wounded
ราชอาณาจักรโรมาเนีย
25,800 killed or missing
5,800 wounded

Losses at sea:
นาซีเยอรมนี
4 submarine hunters
5 cargo ships
1 tanker
3 tugs
3 lighters
3 motorboats
โรมาเนีย 3 cargo ships

แม่แบบ:Campaignbox Crimea and Caucasus แม่แบบ:Campaignbox Stalin's ten blows

แม่แบบ:Romanian military actions in World War II

การรุกไครเมีย (8 เมษายน-12 พฤษภาคม ค.ศ. 1944) เป็นที่รู้จักกันในแหล่งข้อมูลเยอรมันว่า ยุทธการที่ไครเมีย เป็นหนึ่งในการรุกโดยกองทัพแดงซึ่งได้เคลื่อนทัพเข้าสู่ไครเมียที่เยอรมันยึดครอง แนวรบยูเครนที่ 4 ของกองทัพแดงได้เข้าปะทะกับกองทัพที่ 17 ของกองทัพกลุ่มเอของเยอรมัน ซึ่งประกอบไปด้วยกองทัพเวร์มัคท์และกองทัพโรมาเนียที่ก่อตั้งขึ้น การสู้รบครั้งนี้ได้ยุติลงด้วยการอพยพออกจากไครเมียโดยเยอรมัน กองทัพเยอรมันและโรมาเนียต้องประสบความสูญเสียอย่างมากในช่วงการอพยพ

อ้างอิง[แก้]

  1. Hayward 1998, pp. 50–51: Allowed German and Italian warships to use Bulgarian ports for operations in the Black Sea.
  2. 2.0 2.1 Glantz (1995), p. 298
  3. 3.0 3.1 3.2 Clodfelter 2017, p. 459.
  4. Frieser et al. 2007, p. 483.
  5. Müller (2005), p. 290