ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง
Eastern Front 1941-12 to 1942-05.png
แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง ในช่วงเวลาที่ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2,ปฏิบัติการเป็นพื้นที่ขนาดเล็กสีส้มด้วยลูกศรสองเส้นในพื้นที่ของยูเครน
วันที่12–28 พฤษภาคม 1942 (16 วัน)
สถานที่พื้นที่ Izium/Barvenkovo, แคว้นคาร์คิฟ, สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน, สหภาพโซเวียต
ผล ฝ่ายอักษะได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม
 เยอรมนี
อิตาลี
โรมาเนีย
 สหภาพโซเวียต
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
นาซีเยอรมนี เฟดอร์ ฟ็อน บ็อค
นาซีเยอรมนี ฟรีดริช เพาลุส
นาซีเยอรมนี Kurt Pflugbeil
สหภาพโซเวียต เซมิออน ตีโมเชนโค
กำลัง
350,000 men
1,000 tanks
~700 aircraft
765,300 men[1]
1,176 tanks
300 self-propelled cannons.[2]
926 aircraft[3]
ความสูญเสีย
~20,000 overall[4][5][6]
49 aircraft[7]
12 airmen killed[7]
98 airmen missing[7]
277,190 overall
170,958 killed, missing or captured
106,232 wounded[1][5]
2,086 guns
1,250 tanks[5]
542 aircraft[7]

ยุทธการที่ฮาร์คอฟครั้งที่ 2 เป็นการโจมตีตอบโต้ของฝ่ายอักษะในภูมิภาครอบๆของเมืองฮาร์คอฟ (ปัจจุบันคือคาร์คิฟ) ต่อสู้กับกองทัพแดงที่หัวสะพาน Izium การรุกได้ปฏิบัติการเมื่อวันที่ 12-28 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1942,ในแนวรบด้านตะวันออกในช่วงระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง.เป้าหมายคือการทำลายหัวสะพาน Izium บน Seversky Donets หรือ "Barvenkovo bulge" ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่การรุกรานของโซเวียต ภายหลังจากฤดูหนาวได้โจมตีตอบโต้ขับไล่ทหารเยอรมันออกไปจากกรุงมอสโกและกองกำลังสำรองของกองทัพแดงได้ลดลง การรุกที่ฮาร์คอฟเป็นความพยายามครั้งใหม่ของโซเวียตเพื่อริ่เริ่มขยายเชิงยุทธศาสตร์ของพวกเขา แม้ว่ามันจะล้มเหลวในการรักษาตัวประกอบสำคัญของการทำเซอรไพรส์

เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ปี ค.ศ. 1942,กองทัพโซเวียตภายใต้บัญชาการของจอมพล เซมิออน ตีโมเชนโค ได้เริ่มการรุกต่อสู้กับกองทัพที่ 6 แห่งเยอรมันจากการจัดตั้งที่โดดเด่นระหว่างฤดูหนาวโจมตีตอบโต้.หลังจากสัญญาณได้เริ่มขึ้น,การรุกได้ถูกหยุดชะงักโดยการโจมตีโต้กลับของเยอรมัน. ข้อผิดพลาดที่สำคัญโดยเจ้าหน้าที่ทหารหลายคนและโจเซฟ สตาลิน ที่ล้มเหลวในการประเมินศักยภาพของกองทัพที่ 6 อย่างถูกต้องและประเมินกองกำลังของตนเองที่ได้รับการฝึกใหม่ ได้นำไปสู่การโจมตีแบบก้ามปูของเยอรมันซึ่งเป็นการตัดกองกำลังทหารโซเวียตที่บุกเข้ามาจากส่วนที่เหลือของแนวรบ.ปฏิบัติการดังกล่าวได้เป็นเหตุทำให้ทหารโซเวียตเสียชีวิตไป 3 แสนนายเมื่อเทียบกับกองทัพเยอรมันและพันธมิตรฝ่ายอักษะเสียชีวิตไปเพียง 2 หมื่นนาย

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 Glantz (1995), p. 295
  2. Москаленко Кирилл Семёнович На Юго-Западном направлении. Воспоминания командарма. Книга I. — М.: Наука, 1969 – Под Харьковом в мае 1942 года เก็บถาวร 2009-12-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  3. Bergström 2007, p. 36.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Moskalenko218
  5. 5.0 5.1 5.2 Glantz (1998), p. 218
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Beevor67
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 Hayward 1997, p. 27.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • Glantz (1995), p. 295
  • Москаленко Кирилл Семёнович На Юго-Западном направлении. Воспоминания командарма. Книга I. — М.: Наука, 1969 – Под Харьковом в мае 1942 года Archived 2009-12-23 at the Wayback Machine.
  • Bergström 2007, p. 36.
  • Moskalenko, p. 218
  • Glantz (1998), p. 218