ยุทธการที่ระไซนี
ยุทธการที่ระไซนี | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกของสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
แผนที่ของการสู้รบ | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไรช์เยอรมัน | สหภาพโซเวียต | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Georg-Hans Reinhardt | |||||||
กำลัง | |||||||
รถถัง 235–245 คัน[1][2][f] | รถถัง 749 คัน[3] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
ไม่ทราบ |
รถถัง 704 คัน (พลขับรถถังแต่ละคนถูกฆ่าตายหรือไม่ก็ถูกจับเป็นเชลย) [3] |
ยุทธการที่ระไซนี (23-27 มิถุนายน ค.ศ. 1941) เป็นการสู้รบรถถังขนาดใหญ่ที่เกิดขึ้นในช่วงแรกของปฏิบัติการบาร์บารอสซา เยอรมันได้เข้ารุกรานสหภาพโซเวียต การสู้รบครั้งนี้เป็นการต่อสู้ระหว่างส่วนหนึ่งของกลุ่มพันเซอร์ที่ 4 ของเยอรมันและเหล่าทหารยานยนต์ที่ 3 พร้อมกับเหล่าทหารยานยนต์ที่ 12 ของโซเวียตในลิทัวเนีย 75 กิโลเมตร (47 ไมล์) ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเคานัส กองทัพแดงได้พยายามต้านทานและทำลายทหารเยอรมันที่ข้ามแม่น้ำเนมัน (Neman river) แต่ไม่สามารถขัดขวางพวกเขาจากการบุกรุกได้
ผลของการสู้รบครั้งนี้คือความพินาศย่อยยับของกองกำลังโซเซียตส่วนใหญ่ของแนวรบด้านตะวันตกเฉียงเหนือ ซึ่งได้เคลียร์เส้นทางสำหรับเยอรมันเพื่อเข้าโจมตีไปทางข้ามแม่น้ำ Daugava (Dvina ตะวันตก) การสู้รบรอบระไซนีเป็นหนึ่งในการสู้รบหลีกของช่วงเริ่มต้นของปฏิบัติการบาร์บารอสซา การอ้างอิงถึงในประวัติศาสตร์โซเวียตว่า ยุทธการป้องกันชายแดน (Border Defensive Battles) (22-27 มิถุนายน ค.ศ. 1941) และก่อตั้งให้เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการป้องกันทางยุทธศาสตร์ทะเลบอลติกของโซเวียตขนาดใหญ่
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Rosado & Bishop 2005, p. 66.
- ↑ Taylor 2003, p. 14.
- ↑ 3.0 3.1 Glantz 2002, p. 32.