ปฏิบัติการรุกลูย์บัน
ปฏิบัติการลูย์บัน | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไรช์เยอรมัน | สหภาพโซเวียต | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เกออร์ก ฟอน คึชเลอร์ |
คีริลล์ เมเรตสคอฟ Mikhail Khozin อันเดรย์ วลาซอฟ | ||||||
หน่วยที่เกี่ยวข้อง | |||||||
กำลัง | |||||||
ประมาณ 200,000 นาย |
7 มกราคม: 325,700 นาย[1] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
56,768 men[2]
|
308,367 men[1]
|
ปฏิบัติการรุกลูย์บัน (7 มกราคม-30 เมษายน ค.ศ. 1942) (Russian: Любанская наступательная орерация) เป็นปฏิบัติการรุกที่ดำเนินโดยแนวรบโวลคอฟแห่งกองทัพแดงด้วยเป้าหมายของการบรรเทาการล้อมเลนินกราด การรุกครั้งนี้ไม่ได้ใช้รถถังเพราะภูมิประเทศ ดังนั้นจึงต้องใช้พวกทหารราบและปืนใหญ่ การโจมตีของกองกำลังโซเวียตนั้นได้พบว่าพวกเขาตกอยู่ภายใต้การยิงที่รุนแรงจากตำแหน่งป้องกันของเยอรมัน และกองทัพแดงขาดการยิงสนับสนุนปืนใหญ่ที่เหมาะสมต่อแนวรบเยอรมัน การรุกครั้งนี้ได้หยุดชะงักและโซเวียตได้ตกเป็นฝ่ายตั้งรับ จอมพลเกออร์ก ฟอน คึชเลอร์ได้ทำการตอบโต้ด้วยปฏิบัติการที่เรียกว่า 'Wild Beast" และกองทัพภาคสนามที่ 2 (2nd Shock Army) ได้ถูกตัดกำลังและยอมจำนน มันได้ถูกทำลายลงในปี ค.ศ. 1942 และผู้บัญชาการ อันเดรย์ วลาซอฟได้ถูกจับเป็นเชลยซึ่งต่อมาได้แปรพักตร์ให้นาซีเยอรมันเพื่อเป็นฝ่ายปรปักษ์ต่อสหภาพโซเวียต
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Krivosheev 1997, p. 108.
- ↑ "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 พฤษภาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2017.
{{cite web}}
: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)