ตู้ จี
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก เตาจี๋)
ตู้ จี | |
---|---|
杜畿 | |
รองราชเลขาธิการ (尚書僕射 ช่างชูผูเย่) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 222 – ค.ศ. 224 | |
กษัตริย์ | โจผี |
ผู้บังคับการมณฑลราชธานี (司隸校尉 ซือลี่เซี่ยวเว่ย์) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 220 – ค.ศ. 222 | |
กษัตริย์ | โจผี |
เจ้าเมืองฮอตั๋ง (河東太守 เหอตงไท่โฉ่ว) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. 205 – ค.ศ. 220 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
หัวหน้ารัฐบาล | โจโฉ (ตั้งแต่ ค.ศ. 208) |
ถัดไป | เจ้า เหยี่ยน |
เจ้าเมืองเสเป๋ง (西平太守 ซีผิงไท่โฉ่ว) | |
ดำรงตำแหน่ง ค.ศ. ? – ค.ศ. 205 | |
กษัตริย์ | พระเจ้าเหี้ยนเต้ |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | ต้นทศวรรษ 160[1] นครซีอาน มณฑลฉ่านซี |
เสียชีวิต | ค.ศ. 224[a] แม่น้ำเถา มณฑลเหอหนาน/มณฑลชานซี |
บุตร |
|
บุพการี |
|
อาชีพ | ขุนนาง |
ชื่อรอง | ปั๋วโหว (伯侯) |
สมัญญานาม | ไต้โหว (戴侯) |
บรรดาศักดิ์ | เฟิงเล่อถิงโหว (豐樂亭侯) |
ตู้ จี (จีน: 杜畿; พินอิน: Dù Jī); ต้นทศวรรษ 160 – ค.ศ. 224)[1] ชื่อรอง ปั๋วโหว (จีน: 伯侯; พินอิน: Bóhóu) เป็นขุนนางในช่วงปลายยุคราชวงศ์ฮั่นตะวันออกของจีน ภายหลังได้รับราชการเป็นขุนนางระดับสูงของรัฐวุยก๊กในยุคสามก๊ํก มีชื่อเสียงในฐานะผู้ปกครองตัวอย่างที่มีความกล้าหาญ ภักดี และมีสติปัญญา ตู้ จีเป็นปู่ของเตาอี้ (杜預 ตู้ ยฺวี่) ผู้เขียนบทวิจารณ์จั่วจฺว้านที่มีอิทธิพลอย่างมาก[2]
ดูเพิ่ม
[แก้]หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ตามลำดับเวลาในบทชีวประวัติตู้ จีในจดหมายเหตุสามก๊ก ตู้ จีเสียชีวิตหลังโจผีเสด็จมายังฮูโต๋ในภายหลังจากที่พระองค์กลับมายังลกเอี่ยงหลังการโจมตีง่อก๊กครั้งแรก (จดหมายเหตุสามก๊ก, 16.497) โจผีโจมตีง่อก๊กในฤดูหนาวของปี ค.ศ. 222 และเสด็จกลับลกเอี๋ยงในช่วงปลายฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 224 (จดหมายเหตุสามก๊ก, 2.82, 84) ในฤดูใบไม้ร่วง พระองค์เสด็จมายังฮูโต๋เพื่อสร้างทัพเรือในเดือนถัดมา เนื่องจากตู้ จีเสียชีวิตในอุบัติเหตุทางเรือระหว่างการสร้างทัพเรือ วันที่ตู้ จีเสียชีวิตจึงอาจเป็นช่วงกลางฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 224 ในฤดูร่วงของปี ค.ศ. 222 ตู้ จีได้รับคำสั่งให้เปิดยุ้งฉางหลวงเพื่อบรรเทาเหตุทุพภิกขภัยในมณฑลกิจิ๋ว ในฤดูหนาวของปี ค.ศ. 224 มณฑลกิจิ๋วเกิดเหตุทุพภิกขภัยอีกครั้ง แต่ขุนนางไม่ปรากฏชื่อได้รับมอบหมายให้แจกจ่ายข้าวสาร (2.80, 84) ตู้ จีเสียชีวิตก่อนการสวรรคตของโจผีอย่างแน่นอน เนื่องจากมีบันทึกว่าโจผีได้ตรัสยกย่องตู้ จีผู้ล่วงลับไปแล้ว (16.497)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 de Crespigny (2007), p. 177.
- ↑ Schaberg, 323
บรรณานุกรม
[แก้]- Chen Shou (1977) [429]. Pei Songzhi (บ.ก.). Annotated Records of the Three Kingdoms 三國志注. Taipei: Dingwen Printing.
- de Crespigny, Rafe (2007). A biographical dictionary of Later Han to the Three Kingdoms (23–220 AD). Brill. ISBN 978-90-04-15605-0.
- Li Daoyuan (1900s) [500s]. Yang Shoujing (楊守敬); Xiong Huizhen (熊會貞); Yin Xizhong (殷熙仲); Chen Qiaoyi (陳橋驛) (บ.ก.). Annotated Classic of Waterways (1989 ed.). Nanjing: Jiangsu Ancient Books Press.
- Loewe, Michael (1961). "The measurement of grain during the Han period". T'oung Pao. Leiden: Brill. 49 (1/2): 64–95. doi:10.1163/156853262X00020. JSTOR 4527501.
- Qu Lindong (瞿林东) (1999). Outline of Chinese Historiography 中国史学史纲. Beijing: Beijing Publishing. ISBN 9787200037210.
- Schaberg, David (2001). A Patterned Past: Form and Thought in Early Chinese Historiography. Cambridge, MA: Harvard University Press. ISBN 0674008618.
- Wei Shou (1974) [554]. Book of Wei 魏書. Beijing: Zhonghua Publishing.