ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฟาโรห์อูนัส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Smirk F. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nefernebet (คุย | ส่วนร่วม)
การแก้ไขนี้เป็นการแปลบทความวิกิพีเดียภาษาอังกฤษ en:Unas; เครดิตดูที่หน้าประวัติ
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox pharaoh|Name=ฟาโรห์อูนัส|alt_name=อูนัส, วีนิส|Image=Ounas-chambre2.jpg|Caption=โลงหินบะซอลต์สีดำภายในห้องฝังศพของฟาโรห์อูนัสในพิรามิด|image_alt=Small stone chamber, its walls inscribed with hieroglyphs and its gabled roof covered with painted stars. At the center is a massive but broken black sarcophagus.|NomenHiero=|Nomen=<center>Unas{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}}<br>''Wnjs''<br>Translation uncertain:<br>''Behold the being''{{sfn|Petrie|1917|loc=p. 18 & p. 63}} <small>(if Unas is read ''As-un'')</small><br> ''[[Unut|The swift one]]'' <small>(name of the goddess Wenet)</small><br>''The one who truly exists''{{sfn|Leprohon|2013|p=41|loc=footnote 65}}<br><hiero><-G39-N5-E34:N35-M17-S29-></hiero><br>Hieroglyphic variant:<br><hiero><-E34:N35-M17-S29-></hiero></center>|PrenomenHiero=|Prenomen=<center>[[hare (hieroglyph)|Un]]as{{sfn|Barsanti|1901|p=254}} <br>''Wnjs''<br>Translation uncertain:<br>''Behold the being''{{sfn|Petrie|1917|loc=p. 18 & p. 63}} <small>(if Unas is read ''As-un'')</small><br> ''[[Unut|The swift one]]'' <small>(name of the goddess Wenet)</small><br>''The one who truly exists''{{sfn|Leprohon|2013|p=41|loc=footnote 65}}<br><hiero>M23:t-L2:t-<-G39-N5-E34:N35-M17-S29-></hiero></center>|Golden=<center>Bik-nebw-[[papyrus stem (hieroglyph)|Wadj]]{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}} <br>''Bjk-nb.w-w3ḏ''<br>''The golden falcon who flourishes''<br><hiero>M13*G5:S12</hiero></center>|GoldenHiero=|Nebty=<center>Wadjemnebty{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}} <br>''W3ḏ-m-nb.tj''<br>''He who flourishes through the Two Ladies''</center>|NebtyHiero=<hiero>M13-G17</hiero>|Horus=<center>Wadjtawy{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}} <br>''W3ḏ-t3.w(j)''<br>''Flourishing of the Two Lands''<br>Alternative translation:<br>''The sturdy one of the Two Lands''{{sfn|Leprohon|2013|p=40}}</center>|HorusHiero=<hiero>M13-N19</hiero>|Reign=duration uncertain; 15 to 30 years in the mid-24th century BC.{{efn|group=note|Proposed dates for Unas' reign: 2404-2374 BC,{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}}{{sfn|Hawass|Senussi|2008|p=10}} 2375-2345 BC,{{sfn|Clayton|1994|p=60}}{{sfn|Rice|1999|p=213}}{{sfn|Malek|2000a|p=102}}{{sfn|Lloyd|2010|p=xxxiv}} 2367-2347 BC,{{sfn|Strudwick|2005|p=xxx}} 2353-2323 BC,{{sfn|Arnold|1999}} 2342-2322 BC,{{sfn|von Beckerath|1999|p=283}} 2321-2306 BC{{sfn|Hornung|2012|p=491}} 2312-2282 BC.{{sfn|Dodson|Hilton|2004|p=288}}}}|Predecessor=[[ฟาโรห์เจดคาเร|เจดคาเร]]|Successor=[[ฟาโรห์เตติ|เตติ]]|Spouse=[[Nebet (queen)|Nebet]], [[Khenut]]|Children=Hemetre Hemi<small> ♀</small>, Khentkaues<small> ♀</small>, Neferut<small> ♀</small>, Nefertkaues Iku<small> ♀</small>, Sesheshet Idut<small> ♀</small>.<br>Uncertain: Unas-ankh<small> ♂</small>, [[Iput]]<small> ♀</small>.<br>Conjectured: Nebkauhor<small> ♂</small>, Shepsespuptah<small> ♂</small>.|Father=อาจจะเป็น [[ฟาโรห์เจดคาเร]]|Mother=ไม่ทราบ|Dynasty=[[ราชวงศ์ที่ห้า]]|Burial=[[Pyramid of Unas]]}}
{{Infobox pharaoh|Name=ฟาโรห์ยูนัส|alt_name=อีนัส, ออนนอส, ยูนิส, เวนิส|Image=Ounas-chambre2.jpg|Caption=โลงพระศพหินบะซอลต์สีดำภายในห้องฝังพระศพของฟาโรห์ยูนัสในพีระมิด|image_alt=ห้องหินขนาดเล็ก ฝาผนังมีอักษรอียิปต์โบราณและหลังคาหน้าจั่วที่ปกคลุมไปด้วยดาวทาสี ตรงกลางมีโลงศพสีดำขนาดใหญ่แต่ชำรุด|NomenHiero=|Nomen=<center>Unas{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}}<br>''Wnjs''<br>Translation uncertain:<br>''Behold the being''{{sfn|Petrie|1917|loc=p. 18 & p. 63}} <small>(if Unas is read ''As-un'')</small><br> ''[[Unut|The swift one]]'' <small>(name of the goddess Wenet)</small><br>''The one who truly exists''{{sfn|Leprohon|2013|p=41|loc=footnote 65}}<br><hiero><-G39-N5-E34:N35-M17-S29-></hiero><br>Hieroglyphic variant:<br><hiero><-E34:N35-M17-S29-></hiero></center>|PrenomenHiero=|Prenomen=<center>[[hare (hieroglyph)|Un]]as{{sfn|Barsanti|1901|p=254}} <br>''Wnjs''<br>Translation uncertain:<br>''Behold the being''{{sfn|Petrie|1917|loc=p. 18 & p. 63}} <small>(if Unas is read ''As-un'')</small><br> ''[[Unut|The swift one]]'' <small>(name of the goddess Wenet)</small><br>''The one who truly exists''{{sfn|Leprohon|2013|p=41|loc=footnote 65}}<br><hiero>M23:t-L2:t-<-G39-N5-E34:N35-M17-S29-></hiero></center>|Golden=<center>Bik-nebw-[[papyrus stem (hieroglyph)|Wadj]]{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}} <br>''Bjk-nb.w-w3ḏ''<br>''The golden falcon who flourishes''<br><hiero>M13*G5:S12</hiero></center>|GoldenHiero=|Nebty=<center>Wadjemnebty{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}} <br>''W3ḏ-m-nb.tj''<br>''He who flourishes through the Two Ladies''</center>|NebtyHiero=<hiero>M13-G17</hiero>|Horus=<center>Wadjtawy{{sfn|Barsanti|1901|p=254}}{{sfn|Baker|2008|p=482}} <br>''W3ḏ-t3.w(j)''<br>''Flourishing of the Two Lands''<br>Alternative translation:<br>''The sturdy one of the Two Lands''{{sfn|Leprohon|2013|p=40}}</center>|HorusHiero=<hiero>M13-N19</hiero>|Reign=ระยะเวลายังคลุมเครือ; 15 ถึง 30 ปี ในช่วงกลางศตวรรษที่ 14 ก่อนคริสตกาล{{efn|group=note|Proposed dates for Unas' reign: 2404-2374 BC,{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}}{{sfn|Hawass|Senussi|2008|p=10}} 2375-2345 BC,{{sfn|Clayton|1994|p=60}}{{sfn|Rice|1999|p=213}}{{sfn|Malek|2000a|p=102}}{{sfn|Lloyd|2010|p=xxxiv}} 2367-2347 BC,{{sfn|Strudwick|2005|p=xxx}} 2353-2323 BC,{{sfn|Arnold|1999}} 2342-2322 BC,{{sfn|von Beckerath|1999|p=283}} 2321-2306 BC{{sfn|Hornung|2012|p=491}} 2312-2282 BC.{{sfn|Dodson|Hilton|2004|p=288}}}}|Predecessor=[[ฟาโรห์เจดคาเร|ดเจดคาเร ไอเซซิ]]|Successor=[[ฟาโรห์เตติ|เตติ]]|Spouse=[[เนเบต (พระมเหสีในฟาโรห์ยูนัส)|เนเบต]], [[เคนุต (พระมเหสีในฟาโรห์ยูนัส)|เคนุต]]|Children=เฮเมตเร เฮมิ<small> ♀</small>, เคนท์คาอูเอส<small> ♀</small>, เนเฟรุต<small> ♀</small>, เนเฟรตคาอูเอส ไอกู<small> ♀</small>, เซเชเชต ไอดุต<small> ♀</small>.<br>คลุมเครือ: ยูนัส-อังค์<small> ♂</small>, [[ไอพุต]]<small> ♀</small>.<br>สันนิษฐาน: เนบคาอูฮอร์<small> ♂</small>, เชปเซสพุพทาห์<small> ♂</small>.|Father=อาจจะเป็น [[ฟาโรห์เจดคาเร|ฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิ]]|Mother=ไม่ทราบ|Dynasty=[[ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์]]|Burial=[[พีระมิดแห่งยูนัส]]}}


'''ยูนัส''' /ˈjuːnəs/ หรือ '''เวนิส''' หรือยังสะกดได้อีกว่า '''ยูนิส''' (อียิปต์โบราณ: wnjs, รูปแบบที่แปรมาเป็นภาษากรีก: '''อีนัส''' /ˈiːnəs/ หรือ '''ออนนอส''') เป็นฟาโรห์ลำดับที่ที่เก้าและพระองค์สุดท้ายจาก[[ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่ห้า]]แห่งอียิปต์โบราณในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่า พระองค์ครองราชย์เป็นเวลา 15 ถึง 30 ปีในช่วงกลางศตวรรษที่ 24 ก่อนคริสตกาล (ประมาณ 2345 ถึง 2315 ปีก่อนคริสตกาล) ต่อจากฟาโรห์[[ฟาโรห์เจดคาเร|ดเจดคาเร ไอเซซิ]] ซึ่งอาจเป็นพระราชบิดาของพระองค์
'''ฟาโรห์อูนัส''' หรือ '''วีนิส''' เป็นฟาโรห์อียิปต์โบราณซึ่งเป็นฟาโรห์องค์ที่เก้าและเป็นฟาโรห์องค์สุดท้ายในสมัยราชวงศ์ที่ 5 ในสมัยราชวงศ์เก่า ฟาโรห์อูนัสครองราชย์เป็นเวลา 15 ถึง 30 ปีในช่วงกลางศตวรรษที่ 24 ก่อนคริสต์ศักราช ฟาโรห์ดเจตคาเร ซึ่งอาจเป็นบิดาของพระองค์ ไม่ค่อยมีใครรู้จักความเจริญในช่วงรัชกาลของฟาโรห์อูนัส ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่เศรษฐกิจตกต่ำ อียิปต์ยังคงรักษาความสัมพันธ์ทางการค้ากับชายฝั่งทะเลเลบานอนและเมืองนูเบียและปฏิบัติการทางทหารอาจเกิดขึ้นในภาคใต้ของคานาอัน การเติบโตและการกระจายอำนาจของรัฐบาลร่วมกับการลดอำนาจของกษัตริย์ยังคงดำเนินต่อไปภายใต้ฟาโรห์อูนัส ซึ่งในที่สุดก็มีส่วนทำให้เกิดการล่มสลายของราชอาณาจักรเก่าในอีก 200 ปีต่อมา


ไม่ค่อยทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของพระองค์มากนัก ซึ่งช่วงนั้นเป็นช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ แต่อียิปต์ยังคงรักษาความสัมพันธ์ทางการค้ากับชายฝั่ง[[ลิแวนต์|เลวานไทน์]]และ[[นิวเบีย]] และอาจมีการเคลื่อนไหวทางทหารเกิดขึ้นทางตอนใต้ของ[[คานาอัน]] การเติบโตและการกระจายอำนาจของฝ่ายบริหารควบคู่ไปกับการลดอำนาจของฟาโรห์ยังคงดำเนินต่อไปภายใต้รัชสมัยของพระองค์ และท้ายสุดก็มีส่วนทำให้เกิดการล่มสลายของสมัยราชอาณาจักรเก่าในอีก 200 ปีต่อมา

พระองค์โปรดให้สร้างพีระมิดขึ้นในซัคคารา ซึ่งเป็นปิรามิดขนาดเล็กที่สุดของราชวงศ์ที่สร้างเสร็จในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่า บริเวณฝังพระศพที่มีโถงทางเดินที่เชื่อมกันยาว 750 เมตร (2,460 ฟุต) ที่ได้รับการตกแต่งอย่างหรูหราด้วยภาพสลักนูนต่ำนูน ซึ่งมีคุณภาพและความหลากหลายเหนือกว่ารูปเคารพของราชวงศ์ทั่วไป{{sfn|Malek|2000a|p=102}} นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นฟาโรห์พระองค์แรกที่มี[[ตำราพีระมิด]]ที่แกะสลักและทาสีบนผนังห้องต่างๆ ของพีระมิด ซึ่งเป็นความเปลี่ยนแปลงใหม่สำคัญที่ผู้ปกครองหรือฟาโรห์ต่อจากพระองค์ได้ทำตามถึงช่วงระหว่างกลางที่1 (ระยะเวลาช่วง 2160 ถึง 2050 ปีก่อนคริสตกาล) โดยข้อความเหล่านี้จะระบุตัวฟาโรห์ให้กับเทพ[[รา (เทพ)|รา]]และเทพ[[โอไซริส|โอซิริส]] ซึ่งเทพทั้งสองพระองค์ได้รับการบูชาอย่างมากในรัชสมัยของพระองค์และมีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ฟาโรห์ไปสู่ชีวิตหลังความตาย

พระองค์มีพระราชธิดาหลายพระองค์และอาจมีพระราชโอรสหนึ่งหรือสองพระองค์ ซึ่งเชื่อว่าได้สิ้นพระชนม์ไปก่อนพระองค์แล้ว [[มาเนโท]] ผู้เป็นนักบวชชาวอียิปต์แห่ง[[ราชวงศ์ทอเลมี|อาณาจักรทอเลมี]]ในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลและผู้เขียนประวัติศาสตร์เริ่มแรกของอียิปต์ ได้อ้างว่า เมื่อฟาโรห์ยูนัสเสด็จสวรรคต ราชวงศ์ที่ห้าก็สิ้นสุดลง โดยมีฟาโรห์[[ฟาโรห์เตติ|เตติ]] เป็นฟาโรห์พระองค์แรกของ[[ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่หก]]มาขึ้นครองราชย์ต่อ ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าขึ้นครองราชย์หลังจากเกิดวิกฤตกาลในช่วงสั้น ๆ อย่างไรก็ตาม หลักฐานทางโบราณคดีชี้ให้เห็นว่าชาวอียิปต์โบราณในขณะนั้นไม่ได้หยุดพักอย่างมีสติกับราชวงศ์ก่อนหน้า และการแบ่งแยกระหว่างราชวงศ์ที่ห้าและราชวงศ์ที่หกอาจจะเป็นเรื่องเท็จ

การบูชาฟาโรห์ยูนัสได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตและอยู่ต่อมาจนถึงสมัยที่ราชอาณาจักรเก่าสิ้นสุดลงและอาจจะอยู่ต่อมาเรื่อย ๆ จนถึงช่วงระหว่างกลางที่หนึ่งอันวุ่นวาย พิธีการดังกล่าวยังอาจจะอยู่มาถึงหรือได้รับการฟื้นฟูขึ้นในช่วงราชอาณาจักรกลาง (ราว 2050 ถึง 1650 ปีก่อนคริสตกาล) แต่กลับไม่ได้ป้องกันจากการรื้อถอนที่ฝังพระศพของพระองค์บางส่วนเพื่อเอาวัสดุในรัชสมัยฟาโรห์[[ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 1|อเมเนมเฮตที่ 1]] และ ฟาโรห์[[ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 1|เซนุสเรตที่ 1]] (ราวช่วง 1990 ถึง 1930 ปีก่อนคริสตกาล)

ควบคู่ไปกับพิธีการดังกล่าว ฟาโรห์ยูนัสอาจได้รับความเคารพอย่างสูงในฐานะเทพเจ้าท้องถิ่นแห่งซัคคารา จนกระทั่งช่วงยุคปลาย (664–332 ปีก่อนคริสตกาล) เกือบ 2,000 ปีหลังจากที่พระองค์สวรรคต

== หลักฐานรับรอง ==

=== หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ===
การมีอยู่ของฟาโรห์ยูนัสได้รับการพิสูจน์อย่างชัดเจนจากแหล่งประวัติศาสตร์ที่มีบันทึกรายพระนามกษัตริย์อียิปต์โบราณสามรายการสืบมาจากช่วงสมัย[[ราชอาณาจักรใหม่แห่งอียิปต์|ราชอาณาจักรใหม่]]ได้กล่าวถึงพระองค์{{sfn|Baker|2008|pp=482–483}} พระองค์อยู่ในรายการที่ 33 ของ[[รายพระนามกษัตริย์อไบดอส|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งอไบดอส]] ซึ่งบันทึกขึ้นในรัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์เซติที่ 1|เซติที่ 1]] (1290–1279 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามของพระองค์ก็มีอยู่ใน[[บันทึกพระนามแห่งซัคคารา|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งซัคคารา]] (ในรายการที่ 32){{sfn|Mariette|1864|p=15}} และใน[[บันทึกพระนามแห่งตูริน|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน]] (ในคอลัมน์ที่ 3 แถวที่ 25) ซึ่งทั้งสองบันทึกพระนามนี้นี้ด้เขียนขึ้นในรัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์รามเสสที่ 2|รามเสสที่ 2]] (1279–1213 ปีก่อนคริสตกาล){{sfn|Baker|2008|pp=482–483}} บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูรินได้บันทึกไว้ว่าพระองค์ปกครองอียิปต์เป็นเวลา 30 ปี{{sfn|Baker|2008|pp=482–483}}{{sfn|Gardiner|1959|loc=pl. II & Col. III num. 25}} แหล่งข้อมูลเหล่านี้ทั้งหมดได้ระบุว่าพระองค์เป็นฟาโรห์พระองค์ที่เก้าและพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ห้า ซึ่งขึ้นครองราชย์ต่อจาฟาโรห์[[ฟาโรห์เจดคาเร|ดเจดคาเร ไอเซซิ]] และฟาโรห์[[ฟาโรห์เตติ|เตติ]]ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์{{sfn|von Beckerath|1999|pp=60&ndash;61|loc=king no. 9}} ลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กันนี้ได้รับการยืนยันโดยหลักฐานทางโบราณคดี เช่น ในหลุมฝังศพของข้าราชการที่รับใช้ภายใต้ฟาโรห์เหล่านี้{{sfn|Kanawati|2001|pp=1&ndash;2}}

นอกจากแหล่งข้อมูลเหล่านี้แล้ว พระองค์ยังถูกกล่าวถึงใน ''Aegyptiaca'' ซึ่งเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ของอียิปต์โบราณที่เขียนขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในรัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์ทอเลมีที่ 2 ฟิลาเดลฟัส|ปโตเลมีที่ 2]] (283–246 ปีก่อนคริสตกาล) โดยนักบวชชาวอียิปต์นามว่า มาเนโท ซึ่งไม่มีสำเนาของ ''Aegyptiaca'' ที่หลงเหลือมาจนถึงทุกวันนี้ แต่รู้เพียงผ่านงานเขียนในภายหลังโดย [[เซกตัส จูเลียส อาฟริกานัส]] และ[[ยูเซเบียส]]เท่านั้น อาฟริกานัสกล่าวว่า ''Aegyptiaca'' ได้กล่าวถึงฟาโรห์ ''"ออนนอส"'' ที่ครองราชย์เป็นเวลา 33 ปีช่วงปลายราชวงศ์ที่ห้า ซึ่งเชื่อกันว่า '''''ออนนอส''''' เป็นรูปแบบที่แปรมาเป็นภาษากรีกของ '''''ยูนัส''''' และจำนวน 33 ปีแห่งการครองราชย์ของอาฟริกานัสก็ตรงกับจำนวนปีครองราชย์ของพระองค์ตาม[[บันทึกพระนามแห่งตูริน|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน]]{{sfn|Baker|2008|pp=482–483}}

=== หลักฐานร่วมสมัย ===
[[File:Alabaster globular vase of Unas (Louvre) 032007 27 det.jpg|thumb|right|200px|แจกันทรงกลมหินปูนขาวของฟาโรห์ยูนัส, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์{{sfn|Ziegler in Allen ''et al.''|1999|pp=361–362|loc="123. Jar inscribed with the name of king Unis"}}|alt=A yellow spherical jar inscribed with a falcon wrapping around the circumference.]]
หลักฐานชั้นต้นร่วมสมัยในปัจจุบันได้พิสูจน์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของพระองค์คือภาพสลักนูนต่ำมากมายจากพีระมิดของพระองค์ หากไม่นับหลักฐานเหล่านี้ มีหลักฐานไม่กี่ชิ้นที่สืบเนื่องมาจากรัชสมัยของพระองค์ที่ยังหลงเหลืออยู่เลยจนถึงทุกวันนี้ เมื่อพิจารณาถึงระยะเวลาครองราชย์ 30 ปีที่บันทึกไว้ในสมัยต่อมาสำหรับการครองราชย์ของพระองค์ การขุดค้น[[อาบูเซอร์|อาบูซิร์]] ซึ่งเป็นสุสานหลวงของราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์โบราณได้บันทึกจารึกลงวันเวลาเพียงสี่ชิ้นเท่านั้นที่เกี่ยวข้องพระองค์และอยู่สภาพที่สมบูรณ์ ซึ่งจารึกเหล่านั้นกล่าวถึงปีที่สาม สี่ หกและแปดของการครองราชย์ของพระองค์อย่างชัดเจน{{sfn|Verner|2001a|pp=410&ndash;411}} พระองค์ยังมีจารึกบน[[เกาะแอลเลเฟนไทน์]] ที่อยู่ถัดจากแก่งน้ำตกแรกของแม่น้ำไนล์ใน[[นิวเบีย]]{{sfn|Petrie|1907|p=84 & fig. 49 p. 82}}

นอกจากนี้ ยังมีแจกันหินปูนขาวหลายใบที่มีคาร์ทูธของพระองค์ เรือไม้ที่สมบูรณ์และชิ้นส่วนเพิ่มเติมที่มาจากเมือง[[บิบลอส|ไบบลอส]]{{sfn|Baker|2008|p=482}} ซึ่งอยู่บนชายฝั่ง[[ลิแวนต์|เลวานไทน์]] ขณะนี้อยู่ใน[[พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเบรุต]]{{sfn|Porter|Moss|Burney|1951|p=390}} แจกันที่ไม่ทราบที่มาตั้งอยู่ใน[[พิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาติฟลอเรนซ์]]และอ่านว่า ''"ฮอรัส วาดจ์ทาวี, ดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์, ฟาโรห์แห่งอียิปต์ตอนบนและตอนล่าง, โอรสแห่งรา, ยูนัส, ดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์"''{{sfn|Guidotti|1991|p=82|loc=no. 18}}{{sfn|Vase of Unas|2015}}{{efn|Inventory number 3253.{{sfn|Touring Club Italiano|1993|p=352}}|group=lower-alpha}} เรือไม้อีกลำที่ไม่ทราบที่มาที่จัดแสดงอยู่ที่[[พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์]] เป็นแจกันทรงกลมสูง 17 เซนติเมตร (6.7 นิ้ว) กว้าง 13.2 เซนติเมตร (5.2 นิ้ว) ประดับอย่างวิจิตรด้วยเหยี่ยวที่มีปีกกางออกและงูเห่าสองตัวจับเครื่องหมายอังค์รอบ ๆ คาร์ทูธของพระองค์{{sfn|Ziegler in Allen ''et al.''|1999|pp=361–362|loc="123. Jar inscribed with the name of king Unis"}} กระปุกขี้ผึ้งที่สลักพระนามของพระองค์และ[[พระนามฮอรัส]] ซึ่งจัดแสดงอยู่ใน[[พิพิธภัณฑ์บรูคลิน]]{{sfn|Brooklyn Museum Catalog|2015}} และชิ้นส่วนของขอบแจกันแคลไซต์ที่แกะสลักคาร์ทูธของพระองค์ทั้งสองชิ้นก็แสดงอยู่ใน[[พิพิธภัณฑ์เพทรี]]{{sfn|Brunton|2015}}{{efn|Reference number UC13258.{{sfn|Digital Egypt|2000}}|group=lower-alpha}}

== รัชสมัย ==

=== พระราชวงศ์ ===
ฟาโรห์ยูนัสได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากฟาโรห์[[ฟาโรห์เจดคาเร|ดเจดคาเร ไอเซซิ]] เสด็จสวรรคต ซึ่งฟาโรห์ดเจดคาเรถูกสันนิษฐานว่าเป็นพระราชบิดาของพระองค์{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}} ทั้งที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับข้อสงสัยอย่างชัดเจน{{sfn|Grimal|1992|p=80}} และการขึ้นครองราชย์ของพระองค์จากฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิดูเหมือนว่าจะราบรื่น{{sfn|Baud|1999|p=563}}

พระองค์มีพระมเหสีอย่างน้อย 2 พระองค์ คือ พระนาง[[เนเบต (พระมเหสีในฟาโรห์ยูนัส)|เนเบต]]{{sfn|Baud|1999|p=489}} และ พระนาง[[เคนุต (พระมเหสีในฟาโรห์ยูนัส)|เคนุต]]{{sfn|Baud|1999|p=545}} ซึ่งถูกฝังอยู่ใน[[มาสตาบา]]คู่ขนาดใหญ่ที่อยู่ติดกับพีระมิดของพระสวามี และพระนางเนเบตอาจจะมีพระโอรสคือ "พระราชโอรสแห่งกษัตริย์", "มหาดเล็กของพระราชวงศ์", "นักบวชแห่งเทพี[[มาอัต]]" และ "ผู้ตรวจการอียิปต์บน" นามว่า ยูนัส-อังค์ {{sfn|Williams|1981|p=31}} ซึ่งน่าจะสิ้นพระชนม์ประมาณ 10 ปีในรัชสมัยของฟาโรห์ยูนัส{{sfn|Onderka|2009|p=166}} พระนามของพระองค์ได้บอกเป็นนัยโดยอ้อมแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างบิดาและบุตร ตำแหน่งของพระองค์ และหลุมฝังศพของพระองค์ใกล้กับพระนางเนเบตและพระบิดา{{sfn|Baud|1999|p=422}} แต่กลับไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล{{sfn|Schmitz|1976|p=31 & 89}}{{sfn|Onderka|2009|p=150 & pp. 167&ndash;170}}{{efn|In particular the title of "king's son" was given to both actual royal sons and non-royal high officials.{{sfn|Onderka|2009|pp=149&ndash;150}}|group=lower-alpha}} พระราชโอรสอีกสองพระองค์มีการสันนิษฐานว่าคือ เนบคาอูฮอร์{{sfn|Munro|1993|pp=20&ndash;33}} และเซปเซสพูพทาห์{{sfn|Baud|1999|pp=580&ndash;582}} แต่ความสัมพันธ์ระหว่างฟาโรห์ยูนัสนั้นเป็นเพียงการคาดเดาและโต้แย้งกัน{{sfn|Onderka|2009|p=170}} ฟาโรห์ยูนัสน่าจะสวรรคตโดยไม่มีองค์รัชทายาทชาย{{sfn|Onderka|2009|p=170}}

พระองค์มีพระราชธิดาอย่างน้อยห้าพระองค์ พระนามว่า เฮเมตเร เฮมิ{{sfn|Baud|1999|p=519}}, เคนท์คาอูเอส{{sfn|Dodson|Hilton|2004|p=64}}, เนเฟรุต, {{sfn|Baud|1999|p=499}}, เนเฟรตคาอูเอส ไอกู{{sfn|Baud|1999|pp=496&ndash;497}}, และ เซเซสเฮต ไอดุต{{sfn|Baud|1999|pp=564&ndash;565}} และสถานะของพระราชธิดาอีกพระองค์อีกหนึ่งที่เป็นไปได้นามว่า [[ไอพุต]] ยังคลุมเครือ{{sfn|Baud|1999|pp=410&ndash;411}}

=== ช่วงการครองราชย์ ===
[[ไฟล์:Sahure_Sed.png|alt=A seated man in a tight fitting robe, with a false beard and a crown.|right|thumb|349x349px|ภาพสลักฟาโรห์[[ฟาโรห์ซาฮูเร|ซาฮูเร]]ทรงสวมเสื้อคลุมของ[[เทศกาลเซด]]{{sfn|Borchardt|1913|loc=Blatt 45}} คล้ายกับภาพสลักนูนต่ำของเทศกาลเซดจากสถานที่ฝังพระศพของฟาโรห์ยูนัส{{sfn|Labrousse|Lauer|Leclant|1977|p=86|loc=fig. 57}}]]
ระยะเวลาในการครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัสนั้นยังคลุมเครือ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น หลักฐานประวัติศาสตร์ระบุเวลาการครองราชย์ด้วยระยะเวลา 30 และ 33 ปี ตัวเลขปีที่นักไอยคุปต์วิทยานิยมนำไปใช้ เช่น [[ฟลินเดอร์ส เพทรี]]{{sfn|Petrie|1907|p=82}}, วิลเลียม ซี. ฮาเยส{{sfn|Hayes|1978|p=58}}, [[ดาร์เรล เบเกอร์]]{{sfn|Baker|2008|p=482}}, [[ปีเตอร์ มุนโร]]{{sfn|Munro|1993|p=8ff}}, และ[[จาโรเมียร์ มาเล็ค]]{{sfn|Malek|2000a|p=102}} การครองราชย์ที่ยาวนานเช่นนี้{{sfn|Labrousse|Lauer|Leclant|1977|p=85|loc=fig. 56 & p. 86 fig. 57}} จะมีภาพสลักของ[[เทศกาลเซด]]ซึ่งพบอยู่ในวิหารฝังพระศพของพระองค์{{sfn|Baker|2008|p=483}}{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}} โดยปกติแล้วเทศกาลนี้จะมีการเฉลิมฉลองหลังจากครองราชย์ไปแล้ว 30 ปี และมีเป้าหมายที่ฟื้นฟูความแข็งแกร่งและอำนาจแก่ฟาโรห์ อย่างไรก็ตาม การพรรณนาถึงเทศกาลเซดเพียงอย่างเดียวนั้นไม่ได้หมายถึงการครองราชย์ที่ยาวนานเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น ภาพนูนต่ำที่แสดงให้เห็นฟาโรห์[[ฟาโรห์ซาฮูเร|ซาฮูเร]]ในชุดเสื้อคลุมของเทศกาลเซด ซึ่งพบในวิหารฝังพระศพของพระองค์{{sfn|Borchardt|1913|loc=Blatt 45}}{{sfn|Richter|2013}} ถึงแม้ว่าทั้งหลักฐานทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทางโบราณคดีต่างเห็นพ้องกันว่าฟาโรห์ซาฮูเรทรงปกครองอียิปต์เป็นเวลาน้อยกว่า 14 ปีเต็ม{{sfn|Rice|1999|p=173}}{{sfn|von Beckerath|1999|p=283}}{{sfn|Hornung|2012|p=491}}

นักไอยคุปต์วิทยาคนอื่น ๆ สงสัยว่าพระองค์จะครองราชย์น้อยกว่า 30 ปี เนื่องจากมีหลักฐานที่สามารถระบุได้ในการครองราชย์ของพระองค์ไม่เพียงพอ เช่นเดียวกับการขาดหลักฐานที่มีอายุเกินกว่าปีที่แปดแห่งการครองราชย์ของพระองค์{{sfn|Verner|2001a|p=411}} ดังนั้น [[เยอร์เกน ฟอน เบ็คเคอราท]] เชื่อว่า ฟาโรห์ยูนัสปกครองอียิปต์เป็นเวลา 20 ปี{{sfn|von Beckerath|1999|p=283}} ในขณะที่ [[รอล์ฟ เคราส์]], [[เดวิด วอร์เบอร์ตัน]] และ[[เอริค ฮอร์นุง]] ได้ลดจำนวนปีครองราชย์ลงเหลือ 15 ปีในการศึกษาลำดับเหตุการณ์ของอียิปต์โบราณในปี ค.ศ. 2012{{sfn|Hornung|2012|p=491}} เคราส์และ[[มิโรสลาฟ แวร์เนอร์]]ตั้งข้อสงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของ[[บันทึกพระนามแห่งตูริน|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน]]ช่วง[[ราชวงศ์ที่สี่แห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่สี่]]และ[[ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่ห้า]] ดังนั้นจำนวนปีครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัสที่ระบุไว้ว่า 30 ปีที่กล่าวในบันทึกดังกล่าวนั้นอาจจะไม่น่าเชื่อถือ{{sfn|Verner|2001a|p=416}}

การขุดค้น{{sfn|Kanawati|ʻAbd-ar-Rāziq|2000}}ของหลุมฝังศพของไนคาอู-ไอเซซิ ภายใต้การดูแลของ[[นากิบ คานาวาติ]]ที่ซัคคาราได้ให้หลักฐานสนับสนุนการครองราชย์ที่สั้นกว่า{{sfn|Verner|2001a|p=412}} โดย ไนคาอู-ไอเซซิ เป็นข้าราชการที่เริ่มทำงานในรัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์เจดคาเร|ดเจดคาเร ไอเซซิ]] เขามีชีวิตผ่านรัชสมัยของฟาโรห์ยูนัสและถึงแก่กรรมในฐานะผู้ตรวจการอียิปต์บนในช่วงรัชสมัยฟาโรห์[[ฟาโรห์เตติ|เตติ]]{{sfn|Kanawati|2001|pp=1&ndash;2}} ซึ่งเป็นฟาโรห์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อจากฟาโรห์ยูนัส ทราบว่าไนคาอู-ไอเซซิ ถึงแก่กรรมในปีที่มี[[การนับปศุสัตว์]]ที่สิบเอ็ดในรัชสมัยของฟาโรห์เตติ ซึ่งเป็นงานที่ประกอบด้วยการนับปศุสัตว์ทั่วประเทศเพื่อประเมินจำนวนภาษีที่จะเรียกเก็บและเชื่อกันว่าการนับดังกล่าวเกิดขึ้นทุก ๆ สองปีในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่าและทุกปีในช่วงหลังสมัยราชอาณาจักรกลาง (ระหว่าง 2055 ถึง 1650 ปีก่อนคริสตกาล){{sfn|Kanawati|2001|pp=1&ndash;2}} ดังนั้นไนคาอู-ไอเซซิจะมีชีวิตอยู่เวลา 22 ปีหลังจากฟาโรห์เตติขึ้นครองราชย์และรวมกับอีก 30 ปีแห่งการครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัส เขาน่าจะถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 70 ​​​​ปี{{sfn|Kanawati|2001|pp=1&ndash;2}} อย่างไรก็ตาม ผลการตรวจทางนิติเวชของมัมมี่ของเขาแสดงให้เห็นว่าเขาน่าจะมีอายุไม่เกิน 45 ปี นี่แสดงให้เห็นว่าการนับปศุสัตว์เกิดขึ้นมากกว่าหนึ่งครั้งทุกสองปีในช่วงเวลาของฟาโรห์ยูนัสและฟาโรห์เตติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นอย่างผิดปกติ ถ้าเป็นเช่นนั้นจำนวน 30 ปีครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัสใน[[บันทึกพระนามแห่งตูริน|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน]] ซึ่งเข้าใจว่าหมายถึงการนับปศุสัตว์ 15 ครั้งอาจจะมีความหมายเป็น 15 ปี ซึ่งเมื่อรวมกับเวลาเพียง 11 ปีในรัชสมัยของฟาโรห์เตติจะทำให้ไนคาอู-ไอเซซิถึงแก่กรรมเมื่ออายุประมาณ 40 ปี อายุ 45 ปี{{sfn|Kanawati|2001|pp=1&ndash;2}}

=== เหตุการณ์ภายในรัชสมัย ===
[[ไฟล์:Unas_Elephantine.png|alt=A man standing surrounded by columns of hieroglyphs.|thumb|ภาพวาด{{sfn|Petrie|1907|p=82}}บนจารึกของฟาโรห์ยูนัสบน[[เกาะแอลเลเฟนไทน์]]{{efn|The text of the inscription reads "Horus Wadjtawy, the king of Upper and Lower Egypt Unas, lord of the foreign lands, given life and dominion for ever, beloved of Khnum, given life for ever".{{sfn|Strudwick|2005|p=133|loc=num. 48}}{{sfn|Sethe|1903|loc=entry 69}}|group=lower-alpha}}]]

==== การค้าและสงคราม ====
เนื่องจากขาดหลักฐานสืบเนื่องในรัชสมัยของพระองค์ จึงทำให้ทราบถึงเหตุการณ์ภายในรัชสมัยของพระองค์น้อยมาก{{sfn|Baker|2008|p=482}} ความสัมพันธ์ทางการค้าที่มีอยู่กับต่างประเทศและเมืองต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมือง[[บิบลอส|ไบบลอส]]{{sfn|Malek|2000a|p=106}} ดูเหมือนจะดำเนินต่อไป ภาพนูนต่ำนูนสูงจากทางเดินของพีระมิดของพระองค์แสดงให้เห็นเรือเดินทะเลขนาดใหญ่สองลำที่กลับมาจากการเดินทางไปยังชายฝั่ง[[ลิแวนต์|เลวานไทน์]]พร้อมกับชายชาวซีโร-คานาอัน ซึ่งเป็นลูกเรือหรือทาส{{sfn|Hayes|1978|p=67}}{{sfn|Wachsmann|1998|loc=p. 12 & p. 18}} ส่วนภาพสลักอีกภาพหนึ่งแสดงให้เห็นถึงการดำเนินการทางทหาร{{sfn|Malek|2000a|p=105}} ชาวอียิปต์ติดอาวุธด้วยธนูและกริชโจมตีชาวคานาอันเร่ร่อนที่เรียกว่า[[ชาซู]]{{sfn|Stevenson Smith|1971|p=189}} มีการพบภาพนูนต่ำนูนสูงคล้ายคลึงกันในพีระมิดก่อนหน้า เช่น พีระมิดของฟาโรห์[[ฟาโรห์ซาฮูเร|ซาฮูเร]] ดังนั้นจึงอาจเป็นรูปแบบมาตรฐานมากกว่าการพรรณนาถึงเหตุการณ์จริง{{sfn|Malek|2000a|p=105}} หลักฐานอื่นมักจะยืนยันความจริงในเหตุการณ์บนภาพสลักเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น [[บันทึกอัตชีวประวัติของเวนิ]]ที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษหลายครั้งต่อชนเผ่าเร่ร่อนชาวคานาอันในช่วงต้น[[ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่หก]]{{sfn|Malek|2000a|p=105}}{{sfn|Lichtheim|1973|pp=18–23}}

จารึกของฟาโรห์ยูนัสบน[[เกาะแอลเลเฟนไทน์]]ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอียิปต์ ได้บันทึกการเสด็จเยือนของพระองค์ที่นิวเบียล่าง ซึ่งอาจจะได้รับเครื่องบรรณาการจากหัวหน้าเผ่า{{sfn|Baker|2008|p=483}} หรือเนื่องจากความไม่สงบที่เพิ่มขึ้นในภูมิภาค{{sfn|Verner|2001b|p=590}} นอกจากนี้ ภาพสลักนูนต่ำนูนสูงของทางเดินดังกล่าวที่นำไปสู่พีระมิดของพระองค์แสดงให้เห็นตัว[[ยีราฟ (สกุล)|ยีราฟ]] ซึ่งบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับ[[นิวเบีย]]{{sfn|Stevenson Smith|1971|p=188}}

==== การภายในประเทศ ====
[[ไฟล์:Bedouins_starving_in_the_desert-E_17381-IMG_9845-gradient.jpg|alt=Prostrated people, their ribs showing, look wearily to the ground.|thumb|ภาพสลักแสดงภาพคนเร่ร่อนที่หิวโหยจากทางเดินของฟาโรห์ยูนัสในซัคคารา]]
รัชสมัยของฟาโรห์ยูนัสเป็นช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ{{sfn|Verner|2001b|p=590}} แม้ว่าตามที่[[นิโคลัส กรีมาล]] นักไอยคุปต์วิทยาชาวฝรั่งเศสเขียนไว้ว่า มันเป็น ''"เวลาแห่งความเสื่อมโทรมไม่เคยเกิดขึ้นเลย"''{{sfn|Grimal|1992|p=80}} ที่แท้จริงแล้ว รัฐบาลอียิปต์ยังคงสามารถจัดการสำรวจครั้งสำคัญเพื่อจัดหาหินสำหรับก่อสร้างเหล่าอาคารพีระมิดของฟาโรห์ได้{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}} การเดินทางเหล่านี้แสดงให้เห็นในภาพนูนต่ำนูนสูงพิเศษที่พบในทางเดินไปพีระมิดของพระองค์{{sfn|Landström|1970|p=62|loc=fig. 185}}{{sfn|Lehner|1997|p=202}}{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}} และยังอ้างถึงในจารึกที่บันทึกอัตชีวประวัติของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร{{sfn|Fischer|1975}}{{efn|Stela CG 1433, [[Egyptian Museum]], Cairo.{{sfn|Fischer|1975}}|group=lower-alpha}} เจ้าหน้าที่คนนี้รายงานการขนส่งระยะทาง 10.40 เมตร - เสาหินแกรนิตสีแดงสูง (34.1 ฟุต){{efn|A palmiform column is a column whose [[Capital (architecture)|capital]] has the form of [[Arecaceae|palm leaves]]. This style is for example present in the mortuary complex of king Sahure.{{sfn|Lehner|1997|pp=142&ndash;144}}|group=lower-alpha}} จากเกาะแอลเลเฟนไทน์ไปยังซัคคาราในเวลาเพียงแค่สี่วัน ซึ่งเป็นผลงานที่ฟาโรห์ยกย่องเขา{{sfn|Fischer|1975}} นอกจากงานก่อสร้างสำคัญที่ดำเนินการในซักคาราสำหรับการก่อสร้างพีระมิดของพระองค์แล้ว กิจกรรมการก่อสร้างยังเกิดขึ้นที่เกาะแอลเลเฟนไทน์อีกด้วย{{sfn|Grimal|1992|p=80}}

เดิมทีสถานการณ์ภายในประเทศในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์ยูนัสถูกคิดว่าเป็นหายนะ โดยอิงจากภาพสลักนูนต่ำนูนสูงบนทางเดินพีระมิด ซึ่งสลักให้เห็นภาพผู้คนที่ผอมแห้ง{{sfn|Rice|1999|p=213}}{{sfn|Dodson|1995|pp=38&ndash;39}} จนแนวคิดนี้เปลี่ยนไปเมื่อการขุดค้นที่อาบูซีร์ในปี ค.ศ. 1996 พบภาพสลักนูนต่ำนูนสูงที่คล้ายกันในหลุมฝังศพของฟาโรห์[[ฟาโรห์ซาฮูเร|ซาฮูเร]] ซึ่งปกครองอียิปต์ในช่วงเวลาที่รุ่งเรืองในสมัย[[ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่ห้า]]ตอนต้น{{sfn|Hawass|Verner|1996|pp=184&ndash;185}} นอกจากนี้ การวิจัยยังพบว่าคนที่หิวโหยมักจะเป็นชาวทะเลทราย ซึ่งชนเผ่าเร่ร่อนจะโดดเด่นด้วยทรงผมเฉพาะของพวกเขามากกว่าชาวอียิปต์{{sfn|Ziegler in Allen ''et al.''|1999|pp=360|loc="122. Starving bedouin"}} ด้วยเหตุนี้ ภาพสลักนูนต่ำนูนสูงเหล่านี้จึงเข้าใจได้ว่าเป็นการแสดงมาตรฐานของความเอื้ออาทรของฟาโรห์ที่มีต่อผู้ยากไร้และความยากลำบากของชีวิตในพื้นที่ทะเลทรายที่มีพรมแดนติดกับอียิปต์{{sfn|Coulon|2008|p=2}} แทนที่จะหมายถึงเหตุการณ์จริง{{sfn|Ziegler in Allen ''et al.''|1999|pp=360|loc="122. Starving bedouin"}}

=== การสวรรคตและการสิ้นสุดของราชวงศ์ ===
ในบันทึก ''Aegyptiaca'' ของ[[มาเนโท]] กล่าวว่าการสวรรคตของฟาโรห์ยูนัส ทำให้ราชวงศ์ที่ห้าได้สิ้นสุดลง{{sfn|Grimal|1992|p=80}} อาจเป็นเพราะว่าพระองค์เสด็จสวรรคตโดยไม่มีรัชทายาทชาย{{sfn|Verner|2001b|p=590}} ยูนัส-อังค์ ผู้เป็นที่อาจจะเป็นพระราชโอรสซึ่งสิ้นพระชนม์ก่อนพระองค์ ประเด็นนี้อาจก่อให้เกิดวิกฤตการสืบราชสันตติวงศ์{{sfn|Verner|2001b|p=590}} โดยนัยถึงพระนาม ซึ่งฟาโรห์[[ฟาโรห์เตติ|เตติ]]ได้เลือกเมื่อขึ้นครองราชย์: ''"เซเฮเทปทาวี"'' หมายความว่า "พระองค์ผู้ทรงคืนดี/ทำให้ทั้งสองแผ่นดินสงบ"{{sfn|Grimal|1992|p=80}}{{sfn|Verner|2001b|p=590}} การอ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ของฟาโรห์เตติ อาจขึ้นอยู่กับการแต่งงานของพระองค์กับเจ้าหญิง[[ไอพุต]] ซึ่งอาจเป็นพระราชธิดาของฟาโรห์ยูนัส{{sfn|Stevenson Smith|1971|p=190}}{{sfn|Malek|2000a|p=103}}{{sfn|Baker|2008|p=461}} ข้อสันนิษฐานนี้มีการถกเถียงกันอย่างมาก เนื่องจากการตีความพระนาม ''“ไอพุต”'' ที่จะบ่งบอกว่าพระองค์เป็นพระราชธิดาของฟาโรห์นั้นยังคลุมเครืออยู่{{efn|Iput held the title of ''z3t nswt-bjtj'', which literally means "Daughter of the king of Upper and Lower Egypt". However, this title could equally well be a variant of ''z3t-ntjr'', meaning that she was the mother of a king ([[Pepi I]]){{sfn|Baud|1999|pp=410&ndash;411}}|group=lower-alpha}}{{sfn|Baud|1999|pp=410&ndash;411}} นอกจากนี้ แนวคิดที่ว่าฟาโรห์เตติสามารถอ้างสิทธิ์ของพระองค์ให้ถูกต้องตามกฎหมายด้วยการแต่งงานกับราชวงศ์ก็ถูกปฏิเสธ โดยนักไอยคุปต์วิทยาหลายคน รวมทั้ง มุนโร, โดเบรฟ, [[บัด]], เมิร์ตซ, พิเรนเน่ และโรบิน ซึ่งไม่คิดว่าสิทธิในราชบัลลังก์ฟาโรห์จะผ่านสายของผู้หญิง{{sfn|Baud|Dobrev|1995|p=58}}

นอกเหนือจากข้อมูลของมาเนโทแล้ว [[บันทึกพระนามแห่งตูริน|บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน]]ยังชี้ให้เห็นจุดแตกต่างพิเศษระหว่างฟาโรห์ยูนัสและฟาโรห์เตติ ผู้ขึ้นปกครองอียิปต์ต่อจากพระองค์ แม้ว่าบันทึกพระนามกษัตริย์จะไม่ได้จัดอยู่ในราชวงศ์ก็ตาม—ซึ่งถูกคิดค้นโดยมาเนโท— แต่นักไอยคุปต์วิทยา จาโรเมียร์ มาเล็ค อธิบายว่า "เกณฑ์สำหรับการแบ่งแยกดังกล่าวในบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูรินมักจะแบ่งตามคือการเปลี่ยนที่ตั้งของเมืองหลวงและที่ประทับของราชวงศ์"{{sfn|Malek|2000a|p=103}} ด้วยเหตุนี้จึงชี้ให้เห็นว่าเมืองหลวงของอียิปต์ ซึ่งในขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ ''อินบู-เฮดจ์''{{efn|Inbu-Hedj means "White Walls".{{sfn|Jeffreys|2001|p=373}}|group=lower-alpha}} ถูกแทนที่โดยแท้จริงในขณะนั้น โดยการตั้งถิ่นฐานที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ ทางตะวันออกของซัคคาราใต้ ซึ่งอาจเป็นที่ตั้งของพระราชวังของฟาโรห์ยูนัส ในสหัสวรรษที่สองก่อนคริสตกาล เมืองเหล่านี้ได้รวมเข้าด้วยกันและก่อให้เกิดเมือง[[เมมฟิส (ประเทศอียิปต์)|เมมฟิส]]ในที่สุด{{sfn|Malek|2000a|p=104}}{{efn|From "Mennefer", meaning "Perfect and enduring", the name of the pyramid of [[Pepi I]] next to which Mennefer was located.{{sfn|Jeffreys|2001|p=373}}|group=lower-alpha}}

ไม่ว่าข้อสันนิษฐานของมาเนโทในการสิ้นสุด[[ราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่ห้า]]กับฟาโรห์ยูนัสจะเป็นเช่นไร แต่ชาวอียิปต์ที่มีชีวิตอยู่ในเวลานั้นคงไม่รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงใดเป็นพิเศษจากการเปลี่ยนผ่านราชวงศ์หนึ่งไปสู่อีกราชวงศ์ การบริหารงานของรัฐไม่มีหลักฐานการรบกวน เจ้าหน้าที่หลายคนยังคงประกอบอาชีพของตนตั้งแต่ฟาโรห์ยูนัสสู่รัชสมัยของฟาโรห์เตติ{{sfn|Altenmüller|2001|p=602}} ซึ่งรวมถึงราชมนตรี[[เมฮู]], [[คาเกมนี]], และไนเคาอู-ไอเซซิ และไอซิ ผู้ตรวจการเมือง[[เอ็ดฟู]] เนื่องจากชาวอียิปต์ในช่วงราชอาณาจักรเก่าอาจไม่ได้คิดถึงนึกถึงราชวงศ์เลย{{sfn|Baud|Dobrev|1995|pp=55&ndash;58}} การแบ่งแยกระหว่างราชวงศ์ที่ห้าและราชวงศ์ที่หกอาจเป็นเรื่องเท็จได้{{sfn|Grimal|1992|p=80}}

== วิวัฒนาการทางศาสนาและฟาโรห์ ==
รัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์เจดคาเร|ดเจดคาเร ไอเซซิ]]และฟาโรห์ยูนัสเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงใน[[ศาสนาอียิปต์โบราณ]]และในอุดมการณ์ของการเป็นกษัตริย์หรือ[[ฟาโรห์]] การเปลี่ยนแปลงปรากฎให้เห็นในครั้งแรกภายใต้รัชสมัยของฟาโรห์ยูนัส{{sfn|Goedicke|1971|p=155}} การวิเคราะห์ทางสถิติของชิ้นส่วนตราประทับดินเหนียวที่มีชื่อฮอรัสของฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ห้าชี้ให้เห็นถึงความเสื่อมถอยของความเป็นฟาโรห์ในช่วงเวลาการปกครองของพระองค์{{sfn|Verner|2001a|pp=408&ndash;409}} ความเสื่อมถอยยังคงดำเนินต่อไปนรัชสมัยของฟาโรห์เตติ ซึ่งทราบว่ามีเพียงตราประทับสองชิ้นที่มีพระนามฮอรัสของพระองค์{{sfn|Verner|2001a|p=409}} แนวโน้มนี้สะท้อนให้เห็นถึงการลดอำนาจของฟาโรห์ควบคู่ไปกับการเพิ่มขึ้นของอำนาจฝ่ายบริหารส่วนกลางและฐานะปุโรหิต{{sfn|Verner|2001b|p=590}}

ในขณะเดียวกัน การบูชาเทพ[[โอไซริส|โอซิริส]]ก็มีความสำคัญมากขึ้น{{sfn|Dorman|2015}} โดยเทพเจ้าองค์นี้เข้ามาแทนที่ฟาโรห์ในฐานะผู้ค้ำประกันชีวิตหลังความตายสำหรับราษฎรของฟาโรห์{{sfn|Malek|2000a|p=103}}{{sfn|Altenmüller|2001|p=601}} นักไอยคุปต์วิทยาชาวเยอรมัน [[ฮาร์ตวิค อัลเตนมูลเลอร์]] เขียนอธิบายว่า สำหรับชาวอียิปต์ในยุคนั้น "ชีวิตหลังความตาย [...] ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และฟาโรห์อีกต่อไป [...] กลับเชื่อมโยงกับตำแหน่งทางจริยธรรมของโอซิริสโดยตรง"{{sfn|Altenmüller|2001|p=601}} ในทางตรงกันข้าม การบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์หรือรากำลังเสื่อมถอยลงอย่างเห็นได้ชัด{{sfn|Verner|2001b|p=589}} แม้ว่าเทพ[[รา (เทพ)|รา]]ยังคงเป็นเทพเจ้าที่สำคัญที่สุดของวิหารของอียิปต์{{sfn|Altenmüller|2001|p=601}} ดังนั้นฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิและฟาโรห์ยูนัสไม่ได้สร้างวิหารดวงอาทิตย์ ซึ่งกลับกันกับฟาโรห์ของราชวงศ์ที่ห้าก่อนหน้าของทั้งสองพระองค์{{sfn|Dorman|2015}}{{sfn|Verner|2003|p=84}} นอกจากนี้พระนามของฟาโรห์[[ฟาโรห์เมนเคาฮอร์|เมนคาอูฮอร์ คาอิอู]]และฟาโรห์ยูนัสไม่ได้อิงถึงเทพราเลย ซึ่งไม่ได้ทำตามประเพณีตั้งแต่รัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์ยูเซอร์คาฟ|ยูเซอร์กาฟ]] โดยประมาณหนึ่งศตวรรษก่อนหน้า [[ตำราพีระมิด]]ที่พบในพีระมิดของฟาโรห์ยูนัสแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเทพโอซิริสและเทพราในศาสนาอียิปต์โบราณในขณะนั้น เชื่อกันว่าเทพเจ้าทั้งสองมีบทบาทสำคัญในการเข้าถึงชีวิตหลังความตาย โดยที่เทพราเป็นแหล่งกำเนิดของชีวิตและเทพโอซิริสเป็นพลังที่จะนำไปสู่ชีวิตหน้า{{sfn|Allen|Der Manuelian|2005|pp=7–8|loc=The Function of the Pyramid Texts}}{{efn|Another important religious work, the Memphite Theology, may have been written during the reign of Unas.{{sfn|Verner|2001b|p=590}} The Memphite Theology is a story of the creation of the world and of the religious and social order of ancient Egypt through the word and will of the god [[Ptah]]. The king himself is described as the personified Horus and an aspect of Ptah.{{sfn|Arieh Tobin|2001|p=471}} It is now widely believed, however, that this theological text dates to either to the 19th Dynasty or to the much later [[Twenty-fifth Dynasty of Egypt|25th Dynasty]] (760–656 BC).{{sfn|Arieh Tobin|2001|p=470}}{{sfn|Ockinga|2010|p=113}}|group=lower-alpha}}

== อาคารและพีระมิด ==
[[ไฟล์:Unas-Pyramide_(Sakkara)_13.jpg|alt=A ruined mass of bricks, sand and rocks resembling an earthen mound|right|thumb|250x250px|พีระมิดแห่งยูนัสที่[[ซัคคารา]]]]
ฟาโรห์ยูนัสมีพีระมิดที่สร้างขึ้นสำหรับพระองค์เองในซัคคาราเหนือ ตั้งอยู่ระหว่างพีระมิดของฟาโรห์[[ฟาโรห์เซเคมเค็ต|เซเคมเคต]]และพีระมิดของฟาโรห์[[ฟาโรห์โจเซอร์|โจเซอร์]]ที่อยู่มุมทางตะวันตกเฉียงใต้ และตั้งอยู่แนวสมมาตรกับพีระมิดของฟาโรห์[[ฟาโรห์ยูเซอร์คาฟ|ยูเซอร์คาฟ]] ซึ่งตั้งอยู่ที่มุมทางตะวันออกเฉียงเหนือ ในกระบวนการนี้ คนงานได้ปรับระดับและปิดสุสานเก่าที่ตั้งอยู่ในพื้นที่{{sfn|Lehner|1997|p=154}} และที่สะดุดตาที่สุดคือหลุมฝังพระศพของฟาโรห์[[ฟาโรห์โฮเทปเซคเอมวี|โฮเตปเซเคมวี]]แห่ง[[ราชวงศ์ที่สองแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่สอง]] (2890 ปีก่อนคริสตกาล){{sfn|Lehner|1997|p=154}}

ชื่อเดิมของพีระมิดของพระองค์คือ ''"เนเฟอร์ อิซุต ยูนัส"'' ซึ่งแปลว่า ''"สถานที่อันสวยงามแห่งยูนัส"''{{sfn|Grimal|1992|p=118|loc=Table 3}} [[พีระมิดแห่งยูนัส]]เป็นพีระมิดที่เล็กที่สุด{{sfn|Lehner|1997|p=154}} ในบรรดาพีระมิดที่สร้างเสร็จในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่า มีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 57.7 ม. × 57.7 ม. (189 ฟุต x 189 ฟุต) สำหรับความสูง 43 ม. (141 ฟุต){{sfn|Grimal|1992|p=118|loc=Table 3}}

=== ส่วนที่ฝังพระศพ ===
[[ไฟล์:01_unas_causeway.jpg|alt= A paved way of white limestone covered with a roof made of massive stone blocks resting on equally massive walls.|right|thumb|250x250px|ส่วนที่ได้รับการบูรณะของทางเดินของฟาโรห์ยูนัส]]
พีระมิดแห่งยูนัสเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ฝังพระศพขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นรอบๆ โดยสามารถเข้าถึงพีระมิดผ่านทะเลสาบโบราณ{{sfn|Lehner|1997|p=83}} และมีวิหารสำหรับฟาโรห์ยูนัสที่ตั้งอยู่บนชายฝั่ง วิหารแห่งนี้ได้รับสิ่งของสำหรับการบูชาฟาโรห์และมีการจัดเตรียมเครื่องบูชาไว้ที่นั่น ด้านหลังวิหารดังกล่าวเป็นจุดเริ่มต้นของทางเดินความยาว 750 เมตร (2,460 ฟุต) ยาวเท่ากับทางเดินไปสู่พีระมิดของฟาโรห์[[ฟาโรห์คูฟู|คูฟู]]{{sfn|Lehner|1997|p=154}} และเส้นทางดังกล่าวจะตรงไปที่วิหารที่ตั้งอยู่กับพีระมิด ร่องบางบนหลังคาของทางเดิน ทำให้แสงส่องส่องผนังที่ปกคลุมตลอดความยาวด้วยสีสรรที่ทาสี ภาพเหล่านี้แสดงถึงฤดูกาลของอียิปต์ ขบวนผู้คนจากอียิปต์ ช่างฝีมือในที่ทำงาน คนถือเครื่องบูชา ฉากต่อสู้ และการขนส่งเสาหินแกรนิตสำหรับการก่อสร้างอาคารและพีระมิด{{sfn|Lehner|1997|p=155}}

ที่ปลายสุดของทางเดินคือห้องโถงขนาดใหญ่ที่นำไปสู่ลานเปิดที่มีเสาซึ่งล้อมรอบด้วยห้องหลายห้อง{{sfn|Lehner|1997|p=155}} ซึ่งลานดังกล่าวจะนำเข้าไปในวิหารที่ฝังพระศพ ซึ่งเป็นที่ตั้งของรูปปั้นของฟาโรห์และสถานที่ถวายเครื่องบูชาแก่ฟาโรห์ผู้ล่วงลับ{{sfn|Lehner|1997|p=155}} ซึ่งอยู่ติดกับด้านตะวันออกของพีระมิด ซึ่งล้อมรอบด้วยกำแพงล้อมรอบที่กำหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่มุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นพีระมิดขนาดเล็กสำหรับดวงพระวิญญาณ (คา) ของฟาโรห์{{sfn|Lehner|1997|p=154}} ห้องภายในของพีระมิดถูกเปิดสำรวจในปี ค.ศ. 1881 โดย[[แกสตัน มาสเปโร]] ผู้ค้นพบตำราพีระมิด ห้องฝังพระศพไม่มีอะไรเลยนอกจากโลงศพสีเทาดำ{{sfn|Verner|2001d|p=334}} โลงศพที่ตั้งอยู่บนสู่พื้นและหีบคาโนปิค ภายในโลงศพที่พิสูจน์แล้วว่ามีกระดูกกระจัดกระจายซึ่งอาจเป็นของฟาโรห์ยูนัส{{sfn|Lehner|1997|p=154}}

=== ตำราพีระมิด ===
[[ไฟล์:Unas_Pyramidentexte.jpg|alt=A large chamber of stone, its walls entirely covered with thousands of hieroglyphs.|right|thumb|300x300px|[[ตำราพีระมิด]]ที่สลักไว้บนฝาผนังของห้องฝังพระศพฟาโรห์ยูนัส]]
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงใหม่ของพีระมิดแห่งยูนัสคือการปรากฏของ[[ตำราพีระมิด]]ครั้งแรก{{sfn|Malek|2000a|p=102}} หนึ่งในตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในอียิปต์ที่มีชีวิตรอดมาจนถึงทุกวันนี้{{efn|Note that the archaic style of certain sections of the ''Pyramid Texts'' indicate that these are much older than Unas' reign.{{sfn|Lehner|1997|pp=154&ndash;155}}|group=lower-alpha}} ซึ่งได้ริเริ่มประเพณีที่จะปฏิบัติตามในพีระมิดของฟาโรห์และพระราชินีแห่งราชวงศ์ที่หกถึง[[ราชวงศ์ที่แปดแห่งอียิปต์โบราณ|ราชวงศ์ที่แปด]]และกระทำจนถึงช่วงสิ้นสุดของราชอาณาจักรเก่าในอีกประมาณ 200 ปีต่อมา{{sfn|Allen|2001|p=95}}

เวทมนตร์คาถาทั้งหมด 283 คาถา{{sfn|Lehner|1997|pp=154&ndash;155}}{{efn|The number reported differs from scholar to scholar. Clayton mentions 228 spells;{{sfn|Clayton|1994|p=63}} Allen gives 236.{{sfn|Allen|2001|p=95}}|group=lower-alpha}} หรือที่รู้จักในชื่อบทสวด ถูกแกะสลักและป้ายทาสีฟ้าบนผนังของทางเดิน ห้องโถง และห้องฝังพระศพ{{sfn|Verner|2001c|p=92}} เป็นการตีความที่ชัดเจนที่สุดของตำราพีระมิดที่มีอยู่ในปัจจุบัน{{sfn|Lehner|1997|p=33}} คาถาเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยฟาโรห์ในการเอาชนะกองกำลังที่เป็นศัตรูและอำนาจในโลกหลังความตายและด้วยเหตุนี้จึงรวมเข้ากับเทพแห่งดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพระบิดาผู้ศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ในชีวิตหลังความตาย{{sfn|Oakes|Gahlin|2002|p=94}} โดยการสลักข้อความลงบนผนังห้องภายในของพีระมิด สถาปนิกของพีระมิดแห่งยูนัสรับรองว่าฟาโรห์จะได้รับประโยชน์จากความสามารถของพวกเขาแม้ว่าการบูชาพระศพจะหยุดลงก็ตาม{{sfn|Altenmüller|2001|p=600}}{{sfn|Lehner|1997|p=95}} ดังนั้นตำราพีระมิดของพีระมิดแห่งยูนัสจึงรวมคำแนะนำสำหรับพิธีกรรมและบทสวดที่จะสวด บ่งบอกว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำและอ่านระหว่างการบูชาฟาโรห์ในวิหารฝังพระศพของพระองค์อย่างถูกต้อง{{sfn|Lehner|1997|pp=32&ndash;33}}

การเก็บรักษาตำราอย่างดีในพีระมิดแห่งยูนัส แสดงให้เห็นว่าคาถาเหล่านั้นถูกเรียบเรียงเพื่อให้ดวงวิญญาณของฟาโรห์ยูนัสได้ทรงอ่าน ขณะที่ลุกขึ้นจากโลงศพด้วยคำพูดฟื้นคืนชีพและล้อมรอบด้วยคาถาป้องกันและเครื่องบูชา{{sfn|Lehner|1997|p=33}}{{sfn|Allen|2001|p=96}} จากนั้นดวงวิญญาณจะออกจากห้องฝังพระศพ ซึ่งมีข้อความบอกว่าฟาโรห์กับโอซิริสใน[[ดูอัต]]และจะย้ายไปที่ห้องโถง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ[[อาเคต]] (เส้นขอบฟ้า) คาถาที่เขียนบนผนังห้องโถงรวมอยู่ในคาถาสองคำที่รู้จักกันในชื่อกลอนสวดมนุษย์กินคน (Cannibal Hymn) แสดงให้เห็นว่าฟาโรห์กำลังบินสู่สวรรค์ผ่านท้องฟ้าที่มีพายุและกินทั้งเทพเจ้าและมนุษย์ ในการทำเช่นนั้นฟาโรห์จะได้รับพลังชีวิตของเหล่าทวยเทพ{{sfn|Lehner|1997|p=33}}{{efn|While most historians believe that it is unlikely that Unas himself engaged in cannibalism, the Egyptologist [[E. A. Wallis Budge|Ernest Alfred Wallis Budge]] proposed that the Cannibal Hymn may harken back to an earlier time in Egyptian history when cannibalism was in fact practiced.{{sfn|Budge|1988|p=323}}|group=lower-alpha}}{{efn|This inspired the American [[technical death metal]] band [[Nile (band)|Nile]], which recorded an 11:43-long song titled "Unas, Slayer of the Gods" based on the Cannibal Hymn. It appears on their 2002 album ''[[In Their Darkened Shrines]]''.{{sfn|Music Song Lyrics|2015|loc=Nile Unas Slayer Of The Gods lyrics}}|group=lower-alpha}} ณ จุดนี้ดวงวิญญาณของพระองค์จะหันไปทางทิศตะวันออกทิศทางของพระอาทิตย์ขึ้นและนอกกำแพงอิฐพีระมิด ซึ่งเป็นประตูหลอกของวิหารฝังพระศพที่ประกอบพิธีฝังพระศพ และท้ายที่สุดดวงวิญญาณของพระองค์จะไปทางซ้ายจะรวมเข้ากับเทพ[[รา (เทพ)|รา]]บนท้องฟ้าโดยผ่านทางเดินพีระมิด{{sfn|Lehner|1997|p=33}}

ตัวอย่างของคาถาจากพีระมิดแห่งยูนัส คือ ในบทสวดที่ 217:{{sfn|Oakes|Gahlin|2002|p=94}}

''เร-อาตุม ยูนัสนี้มาหาพระองค์''

''วิญญาณที่ทำลายไม่ได้''

''พระโอรสมาหาพระองค์''

''ยูนัสนี้มาหาพระองค์''

''ข้ามฟากฟ้ามารวมกันในความมืดมิด''

''ขอพระองค์ขึ้นมาบนดินแดนแห่งแสงสว่างที่ซึ่งพระองค์จะส่องแสง!''

== มรดกประเพณี ==
[[ไฟล์:Scarab_Unas.png|alt=A small seal in the shape of a scarab inscribed with hieroglyphs spelling the name Unas.|thumb|ตราประทับสคารับที่พระนามของฟาโรห์ยูนัส{{sfn|Petrie|1917|loc=Plate IX & p. 34, [https://archive.org/stream/scarabscylinders00petr#page/9/mode/2up see the scarabs]}}]]
มรดกประเพณีที่สำคัญที่สุดของฟาโรห์ยูนัสคือ การบูชาฟาโรห์ ซึ่งยังคงกระทำตามต่อไปอย่างน้อยก็จนถึงช่วงสิ้นสุดของราชอาณาจักรเก่า พิธีการนี้พบในสุสานที่ซัคคาราของนักบวชทั้งเจ็ดที่รับผิดชอบหน้าที่ทางศาสนาที่ต้องทำในวิหารฝังพระศพ สุสานสามแห่งมีอายุถึงช่วงต้น[[ราชวงศ์ที่หกแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่หก]]ในช่วงเวลาหลังจากการสวรรคตของฟาโรห์[[ฟาโรห์เปปิที่หนึ่ง เมริเร|เปปิที่ 1]] สุสานอีกสามแห่งมีอายุถึงรัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์เปปิที่ 2 เนเฟอร์กาเร|เปปิที่ 2]] และสุสานอีกแห่งมีอายุอยู่ในช่วงปลายสุดของสมัยราชอาณาจักรเก่า (ราว 2180 ปีก่อนคริสตกาล) โดยนักบวชเหล่านี้จะใช้ชื่อที่รวมกับพระนามของฟาโรห์ อาจเป็นไปได้เพื่อการเข้ารับตำแหน่ง{{sfn|Altenmüller|1974|pp=3&ndash;4}}

การบูชาฟาโรห์ยูนัสดูเหมือนว่าจะคงมีอยู่ถึงในช่วงเวลาอันวุ่นวายของสมัยระหว่างกลางที่ 1 จนถึงสมัยราชอาณาจักรกลาง{{sfn|Morales|2006|p=314}} เมื่อถึงช่วงสมัย[[ราชวงศ์ที่สิบสองแห่งอียิปต์|ราชวงศ์ที่สิบสอง]] (ราวช่วง 1990 ถึง 1800 ปีก่อนคริสตกาล) ครอบครัวของนักบวชที่มีหน้าที่อ่านบทสวดที่มีนามว่า ''ยูนัสเอมซาฟ''{{efn|Unasemsaf means "Unas is his protection".|group=lower-alpha}} ก็ยังคงกระทำอยู่{{sfn|Moussa|1971}}{{sfn|Moussa|Altenmüller|1975}} อย่างไรก็ตาม สถานที่ฝังพระศพได้ถูกรื้อถอนบางส่วนเพื่อนำวัสดุเหล่านั้นมาสร้างเป็นพีระมิดในรัชสมัยของฟาโรห์[[ฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 1|อเมเนมเฮตที่ 1]] และฟาโรห์[[ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 1|เซนุสเรตที่]] 1{{sfn|Goedicke|1971|p=}}{{sfn|Malek|2000b|p=257}}

นอกจากนี้ ฟาโรห์ยูนัสถูกยกย่องให้เป็นเทพเจ้าและยังกลายมาเป็นเทพเจ้าท้องถิ่นแห่งสุสานในซัคคารา โดยกรีเมลให้ความเห็นว่ามันคงจะเกี่ยวข้องสถานที่ฝังพระศพของพระองค์ที่มีความยิ่งใหญ่โอ่อ่า{{sfn|Grimal|1992|p=80}} และมาเล็คยังสงสัยในการมีอยู่ของพิธีดังกล่าวที่ได้รับความนิยมในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่าแต่ได้ยอมรับตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรกลางเป็นต้นไป{{sfn|Malek|2000b|pp=250&ndash;251}} ที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาเกือบ 2,000 ปี สังเกตุจากตราประทับสคารับที่มีพระนามของฟาโรห์ยูนัสที่พบในซัคคารา ซึ่งมีอายุตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรใหม่ (1550 ถึง 1077 ปีก่อนคริสตกาล) จนถึงช่วงปลาย (664–332 ปีก่อนคริสตกาล){{sfn|Petrie|1917|loc=Plate IX & p. 34, [https://archive.org/stream/scarabscylinders00petr#page/9/mode/2up see the scarabs]}}{{sfn|Newberry|2003|loc=Plate IV. Scarabs 32, 33 & 34}}{{sfn|MFA Online catalog|2015}}{{sfn|MMA Online catalog|2015}} และมาเล็คเชื่อว่าการฟื้นฟูอาณาจักรกลางนี้มาจากตำแหน่งทางภูมิศาสตร์สถานที่ฝังพระศพของพระองค์ ซึ่งกลายเป็นทางเข้าสู่สุสานแห่งซัคคาราโดยธรรมชาติ{{sfn|Malek|2000b|p=256}} โดยศูนย์กลางของการบูชานี้ไม่ได้อยู่ที่พีระมิดแห่งยูนัสหรือวิหารฝังพระศพที่เกี่ยวข้อง แต่เป็นรูปสลักของพระองค์ ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าทำไม[[พีระมิดแห่งยูนัส]]จึงตกเป็นเป้าหมายของงานบูรณะภายใต้แรงผลักดันของเจ้าชาย[[คาเอมเวเซท (พระราชโอรสในฟาโรห์รามเสสที่ 2)|คาเอมเวเซท]] ซึ่งเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์[[ฟาโรห์แรเมซีสที่ 2|รามเสสที่ 2]] (1279–1213 ปีก่อนคริสตกาล){{sfn|Lehner|1997|p=155}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
{{รายการอ้างอิง|2}}

==เชิงอรรถ==
{{notelist}}

==บรรณานุกรม==
{{Refbegin|2}}
*{{cite book|title=Egyptian Art in the Age of the Pyramids |url=http://www.metmuseum.org/research/metpublications/Egyptian_Art_in_the_Age_of_the_Pyramids |first1=James |last1=Allen |first2=Susan |last2=Allen |first3=Julie |last3=Anderson |first4=Arnold |last4=Arnold |first5=Dorothea |last5=Arnold |first6=Nadine |last6=Cherpion |first7=Élisabeth |last7=David |first8=Nicolas |last8=Grimal |first9=Krzysztof |last9=Grzymski |first10=Zahi |last10=Hawass |first11=Marsha |last11=Hill |first12=Peter |last12=Jánosi |first13=Sophie |last13=Labée-Toutée |first14=Audran |last14=Labrousse |first15=Jean-Phillippe |last15=Lauer |first16=Jean |last16=Leclant |first17=Peter |last17=Der Manuelian |first18=N. B. |last18=Millet |first19=Adela |last19=Oppenheim |first20=Diana |last20=Craig Patch |first21=Elena |last21=Pischikova |first22=Patricia |last22=Rigault |first23=Catharine H. |last23=Roehrig |last24=Wildung |first24=Dietrich |first25=Christiane |last25=Ziegler |year=1999 |publisher=The Metropolitan Museum of Art |location=New York |oclc=41431623 |isbn=978-0-8109-6543-0 |ref={{harvid|Ziegler in Allen et al.|1999}}}}
*{{cite book |first=James |last=Allen |chapter=Pyramid Texts |editor-last=Redford |editor-first=Donald B. |editor-link=Donald B. Redford |year=2001 |title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt |volume=3 |publisher=Oxford University Press |isbn=978-0-19-510234-5 |pages=95–98 }}
*{{cite book |first1=James |last1=Allen |first2=Peter |last2=Der Manuelian |title=The ancient Egyptian pyramid texts |location=Atlanta |publisher=Society of Biblical Literature |year=2005 |series=Writings from the Ancient World |volume=23 |isbn=978-1-58983-182-7 |url=https://books.google.com/books?id=6VBJeCoDdTUC&q=the+role+of+Osiris&pg=PA1 }}
*{{cite journal |last=Altenmüller |first=Hartwig |author-link=Hartwig Altenmüller |title=Zur Vergöttlichung des Königs Unas im Alten Reich |journal=Studien zur Altägyptischen Kultur |volume=1 |year=1974 |pages=1–18 |url=http://archiv.ub.uni-heidelberg.de/propylaeumdok/1400/ |language=de }}
*{{cite book |first=Hartwig |last=Altenmüller |chapter=Old Kingdom: Fifth Dynasty |editor-last=Redford |editor-first=Donald B. |editor-link=Donald B. Redford |year=2001 |title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt |volume=2 |publisher=Oxford University Press |isbn=978-0-19-510234-5 |pages=597–601 }}
*{{cite book |first=Vincent |last=Arieh Tobin |chapter=Myths: Creation Myths |editor-last=Redford |editor-first=Donald B. |editor-link=Donald B. Redford |year=2001 |title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt |volume=2 |publisher=Oxford University Press |isbn=978-0-19-510234-5 |pages=469–472 }}
*{{cite web |url=http://www.metmuseum.org/about-the-museum/press-room/exhibitions/1999/landmark-exhibition-of-egyptian-art-opens-at-metropolitan-museum-on-september-16 |title=Old Kingdom Chronology and List of Kings |last1=Arnold |first1=Dorothea |date=July 19, 1999 |website=[[Metropolitan Museum of Art]] |access-date=February 7, 2015 |df=dmy-all}}
*{{cite book |last=Baker |first=Darrell |year=2008 |title=The Encyclopedia of the Pharaohs |volume=I - Predynastic to the Twentieth Dynasty 3300–1069 BC |publisher=Stacey International |isbn= 978-1-905299-37-9 }}
*{{cite book |first=Alessandro |last=Barsanti |author-link=Alessandro Barsanti |chapter=Rapports de M. Alexandre Barsanti sur les déblaiements opérés autour de la pyramide d'Ounas pendant les années 1899–1901 |title=Annales du Service des antiquités de l'Égypte, Tome II |journal=Annales du Service des Antiquités de l'Égypte |location=Cairo |year=1901 |publisher=Imprimerie de l'institut français d'archéologie orientale |url=http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k5724454d.image |pages=244–257 |oclc=1189841 |issn=1687-1510 |language=fr }}
*{{cite book |first=Michel |last=Baud |author-link=Michel Baud |title=Famille Royale et pouvoir sous l'Ancien Empire égyptien. Tome 2 |publisher=Institut français d'archéologie orientale |language=fr |location=Cairo |year=1999 |isbn=978-2-7247-0250-7 |url=http://www.gizapyramids.org/pdf_library/baud_famille_2.pdf |series=Bibliothèque d'étude 126/2 |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20150402105848/http://www.gizapyramids.org/pdf_library/baud_famille_2.pdf |archive-date=2015-04-02 |df=dmy-all}}
*{{cite journal |first1=Michel |last1=Baud |first2=Vassil |last2=Dobrev |year=1995 |title=De nouvelles annales de l'Ancien Empire Egyptien. Une "Pierre de Palerme" pour la VIe dynastie |journal=Bulletin de l'Institut Français d'Archéologie Orientale |language=fr |volume=95 |pages=23–92 |url=http://www.ifao.egnet.net/bifao/Bifao095_art_03.pdf |url-status=dead |archive-url=https://web.archive.org/web/20150402154623/http://www.ifao.egnet.net/bifao/Bifao095_art_03.pdf |archive-date=2015-04-02 |df=dmy-all}}
*{{cite book |last=von Beckerath |first=Jürgen |author-link=Jürgen von Beckerath |year=1999 |title=Handbuch der ägyptischen Königsnamen |series=Münchner ägyptologische Studien, Heft&nbsp;49 |location=Mainz |publisher=Philip von Zabern |isbn=978-3-8053-2591-2 |language=de }}
*{{cite book |last=Borchardt |first=Ludwig |author-link=Ludwig Borchardt |year=1913 |location=Leipzig |publisher=Hinrichs |title=Das Grabdenkmal des Königs S'aḥu-Re |volume=(Band 2): Die Wandbilder: Abbildungsblätter |language=de |url=http://digi.ub.uni-heidelberg.de/diglit/borchardt1913bd2b?sid=581395ce99fcb4e7511b5ea7bea65b1b |isbn=978-3-535-00577-1 }}
*{{cite web |website=Online database of the [[Brooklyn Museum]] |title=Fragmentary Ointment Jar Inscribed for Unas |url=http://www.brooklynmuseum.org/opencollection/objects/3958/Fragmentary_Ointment_Jar_Inscribed_for_Unas/set/80e950b628e4c30351a6ba266aaf4737?referring-q=unas |access-date=1 April 2015 |ref={{harvid|Brooklyn Museum Catalog|2015}} |df=dmy-all}}
*{{cite web |website=Online catalog of the Petrie Museum |title=Vase UC13258 of Unas |first=Guy |last=Brunton |year=2015 |access-date=21 February 2015 |url=http://petriecat.museums.ucl.ac.uk/dispatcher.aspx?action=search&database=ChoiceUCLPC&search=accession_number=%20%27UC13258%27&limit=10&SRT0=&TYP0=&SEQ0=&position=1 }}
*{{cite book |first=Ernest Alfred Wallis |last=Budge |author-link=E. A. Wallis Budge |title=From fetish to God in ancient Egypt |location=New York |publisher=Dover Publications |year=1988 |edition=Reprint. Originally published: London: Oxford University Press, 1934 |isbn=978-0-486-25803-4 }}
*{{cite book |last=Clayton |first=Peter |year=1994 |title=Chronicle of the Pharaohs |publisher=Thames & Hudson |isbn=978-0-500-05074-3 |url=https://archive.org/details/chronicleofphara00clay }}
*{{cite journal |last=Coulon |first=Laurent |year=2008 |title=Famine |journal=UCLA Encyclopedia of Egyptology |publisher=University of California – Los Angeles |department=Department of Near Eastern Languages and Cultures |url=http://escholarship.org/uc/item/2nv473z9 |access-date=4 March 2015 }}
*{{cite book |last=Dodson |first=Aidan |year=1995 |title=Monarchs of the Nile |location=London |publisher=Rubicon Press |isbn=978-0-948695-21-6 }}
*{{cite book |first1=Aidan |last1=Dodson |first2=Dyan |last2=Hilton |title=The Complete Royal Families of Ancient Egypt |year=2004 |publisher=Thames & Hudson Ltd |location=London |isbn=978-0-500-05128-3 }}
*{{cite web |first=Peter |last=Dorman |author-link=Peter Dorman |website=Encyclopædia Britannica Online |title=The 5th dynasty (c. 2465–c. 2325 bc) |access-date=23 February 2015 |url=http://www.britannica.com/EBchecked/topic/180468/ancient-Egypt/22297/The-5th-dynasty-c-2465-c-2325-bc |year=2015 }}
*{{cite web |title=Unas |website=Digital Egypt for Universities |access-date=21 February 2015 |url=http://www.ucl.ac.uk/museums-static/digitalegypt//chronology/kingunas.html |year=2000 |ref={{harvid|Digital Egypt|2000}} }}
*{{cite journal |first=Henry |last=Fischer |title=Two Tantalizing Biographical Fragments of Historical Interest|journal=The Journal of Egyptian Archaeology |volume=61 |year=1975 |pages=33–37 |doi=10.1177/030751337506100104 |s2cid=192254681 }}
*{{cite book |last=Gardiner |first=Alan |author-link=Alan Gardiner |title=The Royal Canon of Turin |publisher=Griffith Institute |year=1959 |oclc=21484338 }}
*{{cite book |last=Goedicke |first=Hans |title=Re-Used Blocks from the Pyramid of Amenemhet I at Lisht |year=1971 |url=http://www.metmuseum.org/research/metpublications/Re_Used_Blocks_from_the_Pyramid_of_Amenemhet_I_at_Lisht|location=New York |publisher=Metropolitan Museum of Art, Egyptian Expedition |isbn=978-0-87099-107-3 }}
*{{cite book |first=Nicolas |last=Grimal |author-link=Nicolas Grimal |title=A History of Ancient Egypt |publisher=Blackwell publishing |translator-first=Ian |translator-last=Shaw |location=Oxford |isbn=978-0-631-19396-8 |year=1992 }}
*{{cite book|last=Guidotti|first=M. Cristina|publisher=Istituto poligrafico e Zecca dello Stato : Libreria dello Stato|location=Rome|language=it|year=1991|title=Vasi dall'epoca protodinastica al nuovo regno|series=Cataloghi dei musei e gallerie d'Italia|isbn=978-88-240-0177-9}}
*{{cite book|first=Rolf|last=Gundlach|chapter=Temples|editor-last=Redford|editor-first=Donald B.|editor-link=Donald B. Redford|year=2001|title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt, Volume 3|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-510234-5|pages=363&ndash;379}}
*{{cite journal|first1=Zahi|last1=Hawass|author-link1=Zahi Hawass|first2=Miroslav|last2=Verner|title=Newly discovered blocks from the causeway of Sahure (Archaeological report)|year=1996|journal=Mitteilungen des Deutschen Archäologischen Instituts. Abteilung Kairo (MDAIK)|volume=52|pages=177&ndash;186}}
*{{cite book|first1=Zahi|last1=Hawass|first2=Ashraf|last2=Senussi|year=2008|title=Old Kingdom Pottery from Giza|publisher=American University in Cairo Press|isbn=978-977-305-986-6}}
*{{cite book|first=William|last=Hayes|author-link=William C. Hayes|year=1978|title=The Scepter of Egypt: A Background for the Study of the Egyptian Antiquities in The Metropolitan Museum of Art. Vol. 1, From the Earliest Times to the End of the Middle Kingdom|url=http://www.metmuseum.org/research/metpublications/The_Scepter_of_Egypt_Vol_1_From_the_Earliest_Times_to_the_End_of_the_Middle_Kingdom|publisher=[[Metropolitan Museum of Art]]|location=New York|oclc=7427345}}
*{{cite book
| editor1-last = Hornung | editor1-first = Erik
| editor2-last = Krauss | editor2-first = Rolf
| editor3-last = Warburton | editor3-first = David
| year = 2012
| title = Ancient Egyptian Chronology
| series = Handbook of Oriental Studies
| publisher = Brill | location = Leiden, Boston
| isbn = 978-90-04-11385-5 | issn = 0169-9423
| url = https://archive.org/details/AncientEgyptianChronology
|ref={{harvid|Hornung|2012}}
}}
*{{cite book|last=Jeffreys|first=David G.|chapter=Memphis|editor-last=Redford|editor-first=Donald B.|editor-link=Donald B. Redford|year=2001|title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt, Volume 2|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-510234-5|pages=373&ndash;376}}
*{{cite journal|first=Naguib|last=Kanawati|author-link=Naguib Kanawati|title=Nikauisesi, A Reconsideration of the Old Kingdom System of Dating|journal=The Rundle Foundation for Egyptian Archaeology, Newsletter|volume=75|year=2001|url=http://www.egyptology.mq.edu.au/newsletters/75_2002.pdf}}
*{{cite book|first1=Naguib|last1=Kanawati|first2=Maḥmūd|last2=ʻAbd-ar-Rāziq|title=The Teti Cemetery at Saqqara, Volume VI: The Tomb of Nikauisesi|publisher=Aris & Phillips|location=Warminster|series=Australian Centre for Egyptology; Reports|volume=14|year=2000|isbn=978-0-85668-819-5}}
*{{cite book|title=Le temple haut du complexe funéraire du roi Ounas|publisher=Institut français d'archéologie orientale du Caire|year=1977|location=Cairo|first1=Audran|last1=Labrousse|first2=Jean Philippe|last2=Lauer|first3=Jean|last3=Leclant|author3-link=Jean Leclant|series=Bibliothèque d'étude, tome 73|oclc=5065554}}
*{{cite book|first=Björn|last=Landström|title=Ships of the Pharaohs: 4000 Years of Egyptian Shipbuilding|publisher=Doubleday|year=1970|location=Garden City, N.Y.|oclc=108769}}
*{{cite book|first=Mark|last=Lehner|author-link=Mark Lehner|year=1997|title=The Complete Pyramids|location=New York|publisher=Thames & Hudson|isbn=978-0-500-05084-2|url=https://archive.org/details/completepyramids00lehn}}
*{{cite book|last=Leprohon|first=Ronald J.|location=Atlanta|publisher=Society of Biblical Literature|year=2013|title=The great name: ancient Egyptian royal titulary|series=Writings from the ancient world, no. 33|isbn=978-1-58983-736-2}}
*{{cite book|first=Miriam|last=Lichtheim|title=Ancient Egyptian literature. Volume 1: The Old and Middle Kingdoms|year=1973|location=Berkeley|publisher=University of California Press|isbn=978-0-520-02899-9|url=https://books.google.com/books?id=bqG3NtbDdzQC&q=autobiography+of+Weni&pg=PA18}}
*{{cite book|last=Lloyd|first=Alan|editor-last=Lloyd |editor-first=Alan|title=A Companion to Ancient Egypt. Volume I|publisher=Wiley-Blackwell|year=2010|isbn=978-1-4051-5598-4}}
*{{cite book|first=Jaromir|last=Malek|chapter=The Old Kingdom (c.2160-2055 BC)|editor-last=Shaw|editor-first=Ian|title=The Oxford History of Ancient Egypt|year=2000a|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-815034-3|url=https://archive.org/details/oxfordhisto00shaw}}
*{{cite book|last=Malek|first=Jaromir|editor1-last=Bárta|editor1-first=Miroslav|editor2-last=Krejčí|editor2-first=Jaromír|chapter=Old Kingdom rulers as "local saints" in the Memphite area|title=Abusir and Saqqara in the Year 2000|url=http://egyptologie.ff.cuni.cz/pdf/AS%202000_mensi.pdf|location=Prague|publisher=Academy of Sciences of the Czech Republic, Oriental Institute|isbn=978-80-85425-39-0|year=2000b|pages=241&ndash;258|url-status=dead|archive-url=https://web.archive.org/web/20110201084444/http://egyptologie.ff.cuni.cz/pdf/AS%202000_mensi.pdf|archive-date=2011-02-01}}
*{{cite journal|last=Mariette|first=Auguste|title=La table de Saqqarah|language=fr|journal=Revue Archéologique|volume=10|location=Paris|year=1864|pages=168&ndash;186 & Pl. 17|url=http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k5701445z}}
*{{cite web|title=The Online Collection. Scarab, Unas|website=[[Metropolitan Museum of Art]]|url=http://www.metmuseum.org/collection/the-collection-online/search/555121|access-date=11 March 2015|ref={{harvid|MMA Online catalog|2015}}}}
*{{cite book|last=Morales|first=Antonio J.|editor1-last=Bárta|editor1-first=Miroslav|editor2-first=Filip|editor2-last=Coppens|editor3-last=Krejčí|editor3-first=Jaromír|chapter=Traces of official and popular veneration to Nyuserra Iny at Abusir. Late Fifth Dynasty to the Middle Kingdom|title=Abusir and Saqqara in the Year 2005, Proceedings of the Conference held in Prague (June 27&ndash;July 5, 2005)|location=Prague|publisher=Academy of Sciences of the Czech Republic, Oriental Institute|isbn=978-80-7308-116-4|year=2006|pages=311&ndash;341}}
*{{cite journal|last=Moussa|first=Ahmed Mahmoud|title=A Stela from Saqqara of a Family Devoted to the Cult of King Unas|journal= Mitteilungen des Deutschen Archäologischen Instituts, Abteilung Kairo (MDAIK)|volume=27|year=1971|pages=81&ndash;84}}
*{{cite journal|last1=Moussa|first1=Ahmed Mahmoud|first2=Hartwig|last2=Altenmüller|title=Ein Denkmal zum Kult des Königs Unas am Ende der 12. Dynastie|journal=Mitteilungen des Deutschen Archäologischen Instituts, Abteilung Kairo (MDAIK)|volume=31|year=1975|pages=93&ndash;97|language=de}}
*{{cite book|first=Peter|last=Munro|title=Der Unas-Friedhof Nord-West|year=1993|language=de|publisher=von Zabern|location=Mainz am Rhein|oclc=66014930}}
*{{cite web|title=Scarab with name of Unas|website=[[Museum of Fine Arts, Boston]]|url=http://www.mfa.org/collections/object/scarab-with-name-of-unas-164137|access-date=March 11, 2015|ref={{harvid|MFA Online catalog|2015}}}}
*{{cite book|last=Ockinga|first=Boyo G.|editor1-first=Alexandra|editor1-last=Woods|editor2-first=Ann|editor2-last=McFarlane|editor3-first=Susanne|editor3-last=Binder|year=2010|chapter=The Memphite Theology – Its Purpose and Date|series=Annales du Service des Antiquités de l'Égypte: Cahier 38, Volume II|location=Cairo|publisher=Conseil suprême des antiquitiés de l'Egypte|oclc=705718659|
pages=99&ndash;117|title=Egyptian culture and society: studies in honour of Naguib Kanawati}}
*{{cite book|first=Percy|last=Newberry|title=Ancient Egyptian scarabs and cylinder seals: the Timins Collection|isbn=978-0-7103-0944-0|location=London|publisher=Kegan Paul International|year=2003}}
*{{cite book|title=Nile Unas Slayer Of The Gods lyrics|website=Music Song Lyrics|url=http://www.musicsonglyrics.com/unas-slayer-of-the-gods-lyrics-nile.html|access-date=March 23, 2015|ref={{harvid|Music Song Lyrics|2015}}}}
*{{cite book|first1=Lorna|last1=Oakes|first2=Lucia|last2=Gahlin|title=Ancient Egypt: An Illustrated reference to the myths, religions, pyramids and temples of the Land of the Pharaohs|publisher=Hermes House|location=New York|year=2002|isbn=978-1-84309-429-6|url=https://archive.org/details/ancientegyptillu00oake}}
*{{cite thesis |type=Diploma |first=Pavel |last=Onderka |title=The Tomb of Unisankh at Saqqara and Chicago |publisher=[[Charles University in Prague]], Czech Institute of Egyptology|url=http://is.cuni.cz/webapps/zzp/detail/27540/?lang=en|date=2009}}
*{{cite book|first=Flinders|last=Petrie|author-link=Flinders Petrie|oclc=27060979|title=A History of Egypt. I. From the earliest times to the XVIth dynasty|year=1907|edition=Sixth|url=https://archive.org/details/historyofegyptvo034985mbp}}
*{{cite book|first=Flinders|last=Petrie|year=1917|title=Scarabs and cylinders with names, illustrated by the Egyptian collection in University College, London|series=Publications of the British School of Archaeology in Egypt, 29|publisher=School of Archaeology in Egypt|location=London|oclc=3246026|url=https://books.google.com/books?id=2pSSBgAAQBAJ&q=Unas&pg=PA1}}
*{{cite book|first1=Bertha|last1=Porter|first2=Rosalind|last2=Moss|first3=Ethel|last3=Burney|title=Topographical bibliography of ancient Egyptian hieroglyphic texts, reliefs, and paintings. VII, Nubia, the deserts, and outside Egypt|url=http://www.griffith.ox.ac.uk/topbib/pdf/pm7.pdf|isbn=978-0-900416-04-0|publisher=Griffith Institute|location=Oxford|edition=1995 reprint|year=1951}}
*{{cite book|last=Rice|first=Michael|title=Who is who in Ancient Egypt|publisher=Routledge London & New York|year=1999|isbn=978-0-203-44328-6}}
*{{cite journal|first=Barbara|last=Richter|title=Sed Festival Reliefs of the Old Kingdom|journal=Paper Presented at the Annual Meeting of the 58th Annual Meeting of the American Research Center in Egypt, Wyndham Toledo Hotel, Toledo, Ohio, Apr 20, 2007|year=2013|access-date=24 February 2015|url=http://citation.allacademic.com/meta/p177887_index.html}}
*{{cite book|last=Schmitz|first=Bettina|title=Untersuchungen zum Titel S3-NJŚWT "Königssohn"|location=Bonn|publisher=Habelt|year=1976|series=Habelts Dissertationsdrucke: Reihe Ägyptologie, Heft 2|language=de|isbn=978-3-7749-1370-7}}
*{{cite book|title=Urkunden des Alten Reichs|url=http://www.egyptologyforum.org/EEFUrk.html|last=Sethe|first=Kurt Heinrich|author-link=Kurt Heinrich Sethe|year=1903|language=de|publisher=J.C. Hinrichs|location=Leipzig|oclc=846318602|others=wikipedia entry: [[Urkunden des Alten Reichs]]}}
*{{cite book|first=William|last=Stevenson Smith|chapter=The Old Kingdom in Egypt|title=The Cambridge Ancient History, Vol. 2, Part 2: Early History of the Middle East|editor1-first=I. E. S.|editor1-last=Edwards|editor2-first=C. J.|editor2-last=Gadd|editor3-first=N. G. L.|editor3-last=Hammond|year=1971|publisher=Cambridge University Press|location=Cambridge|isbn=978-0-521-07791-0|chapter-url=https://books.google.com/books?id=slR7SFScEnwC&q=Unas&pg=PA188|pages=145&ndash;207}}
*{{cite book|first1=Nigel C.|last1=Strudwick|year=2005|title=Texts from the Pyramid Age|series=Writings from the Ancient World (book 16)|publisher=Society of Biblical Literature|isbn=978-1-58983-680-8|location=Atlanta|url=https://books.google.com/books?id=sgoVryxihuMC&q=Unas}}
*{{cite book|series=Guida d'Italia del T.C.I.|title=Firenze e provincia|location=Milano|publisher=Touring Club Italiano|year=1993|url=https://books.google.com/books?id=-KcSPmzkGakC&pg=PA353|ref={{harvid|Touring Club Italiano|1993}}|isbn=978-88-365-0533-3}}
*{{cite web|title=Vase with the name of king Unas|access-date=21 February 2015|url=http://www.globalegyptianmuseum.org/detail.aspx?id=9601|website=Global Egyptian Museum|ref={{harvid|Vase of Unas|2015}}}}
*{{cite journal |last=Verner |first=Miroslav |date=2001a |title=Archaeological Remarks on the 4th and 5th Dynasty Chronology |url=http://www.gizapyramids.org/pdf_library/verner_archiv_or_69.pdf |journal=Archiv Orientální |volume=69 |issue=3 |pages=363&ndash;418 }}
*{{cite book|first=Miroslav|last=Verner|chapter=Old Kingdom: An Overview|editor-last=Redford|editor-first=Donald B.|editor-link=Donald B. Redford|date=2001b|title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt, Volume 2|publisher=Oxford University Press|isbn=978-0-19-510234-5|pages=585&ndash;591}}
*{{cite book|first=Miroslav|last=Verner|chapter=Pyramid|editor-last=Redford|editor-first=Donald B.|editor-link=Donald B. Redford|year=2001c|title=The Oxford Encyclopedia of Ancient Egypt, Volume 3|publisher=Oxford University Press|isbn= 978-0-19-513823-8|pages=87&ndash;95}}
*{{cite book|last1=Verner|first1=Miroslav|title=The Pyramids: The Mystery, Culture and Science of Egypt's Great Monuments|date=2001d|publisher=Grove Press|location=New York|isbn=978-0-8021-1703-8|url=https://archive.org/details/pyramidscomplete00vern}}
*{{cite book |last=Verner |first=Miroslav |year=2003 |title=Abusir: The Realm of Osiris |publisher=The American University in Cairo Press |isbn= 978-977-424-723-1}}
*{{cite book|last=Wachsmann|first=Shelley|year=1998|title=Seagoing Ships and Seamanship in the Bronze Age Levant|publisher=College Station: Texas A & M University Press|isbn=978-0-89096-709-6|url=https://books.google.com/books?id=apna4pv7Ks8C&q=Unas}}
*{{cite journal|first=Bruce|last=Williams|year=1981|title=The Tomb Chapels of Netjer-User and Unis-Ankh|journal=Field Museum of Natural History Bulletin|location=Chicago|editor1-first=David|editor1-last=Walsten|pages=26&ndash;32}}
{{Refend}}

{{ฟาโรห์}}
{{ฟาโรห์}}
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}

<references group="note" />

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:06, 24 มิถุนายน 2565

ยูนัส /ˈjuːnəs/ หรือ เวนิส หรือยังสะกดได้อีกว่า ยูนิส (อียิปต์โบราณ: wnjs, รูปแบบที่แปรมาเป็นภาษากรีก: อีนัส /ˈiːnəs/ หรือ ออนนอส) เป็นฟาโรห์ลำดับที่ที่เก้าและพระองค์สุดท้ายจากราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์โบราณในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่า พระองค์ครองราชย์เป็นเวลา 15 ถึง 30 ปีในช่วงกลางศตวรรษที่ 24 ก่อนคริสตกาล (ประมาณ 2345 ถึง 2315 ปีก่อนคริสตกาล) ต่อจากฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิ ซึ่งอาจเป็นพระราชบิดาของพระองค์

ไม่ค่อยทราบถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของพระองค์มากนัก ซึ่งช่วงนั้นเป็นช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ แต่อียิปต์ยังคงรักษาความสัมพันธ์ทางการค้ากับชายฝั่งเลวานไทน์และนิวเบีย และอาจมีการเคลื่อนไหวทางทหารเกิดขึ้นทางตอนใต้ของคานาอัน การเติบโตและการกระจายอำนาจของฝ่ายบริหารควบคู่ไปกับการลดอำนาจของฟาโรห์ยังคงดำเนินต่อไปภายใต้รัชสมัยของพระองค์ และท้ายสุดก็มีส่วนทำให้เกิดการล่มสลายของสมัยราชอาณาจักรเก่าในอีก 200 ปีต่อมา

พระองค์โปรดให้สร้างพีระมิดขึ้นในซัคคารา ซึ่งเป็นปิรามิดขนาดเล็กที่สุดของราชวงศ์ที่สร้างเสร็จในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่า บริเวณฝังพระศพที่มีโถงทางเดินที่เชื่อมกันยาว 750 เมตร (2,460 ฟุต) ที่ได้รับการตกแต่งอย่างหรูหราด้วยภาพสลักนูนต่ำนูน ซึ่งมีคุณภาพและความหลากหลายเหนือกว่ารูปเคารพของราชวงศ์ทั่วไป[5] นอกจากนี้ พระองค์ยังเป็นฟาโรห์พระองค์แรกที่มีตำราพีระมิดที่แกะสลักและทาสีบนผนังห้องต่างๆ ของพีระมิด ซึ่งเป็นความเปลี่ยนแปลงใหม่สำคัญที่ผู้ปกครองหรือฟาโรห์ต่อจากพระองค์ได้ทำตามถึงช่วงระหว่างกลางที่1 (ระยะเวลาช่วง 2160 ถึง 2050 ปีก่อนคริสตกาล) โดยข้อความเหล่านี้จะระบุตัวฟาโรห์ให้กับเทพราและเทพโอซิริส ซึ่งเทพทั้งสองพระองค์ได้รับการบูชาอย่างมากในรัชสมัยของพระองค์และมีเป้าหมายเพื่อช่วยให้ฟาโรห์ไปสู่ชีวิตหลังความตาย

พระองค์มีพระราชธิดาหลายพระองค์และอาจมีพระราชโอรสหนึ่งหรือสองพระองค์ ซึ่งเชื่อว่าได้สิ้นพระชนม์ไปก่อนพระองค์แล้ว มาเนโท ผู้เป็นนักบวชชาวอียิปต์แห่งอาณาจักรทอเลมีในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาลและผู้เขียนประวัติศาสตร์เริ่มแรกของอียิปต์ ได้อ้างว่า เมื่อฟาโรห์ยูนัสเสด็จสวรรคต ราชวงศ์ที่ห้าก็สิ้นสุดลง โดยมีฟาโรห์เตติ เป็นฟาโรห์พระองค์แรกของราชวงศ์ที่หกมาขึ้นครองราชย์ต่อ ซึ่งอาจเป็นไปได้ว่าขึ้นครองราชย์หลังจากเกิดวิกฤตกาลในช่วงสั้น ๆ อย่างไรก็ตาม หลักฐานทางโบราณคดีชี้ให้เห็นว่าชาวอียิปต์โบราณในขณะนั้นไม่ได้หยุดพักอย่างมีสติกับราชวงศ์ก่อนหน้า และการแบ่งแยกระหว่างราชวงศ์ที่ห้าและราชวงศ์ที่หกอาจจะเป็นเรื่องเท็จ

การบูชาฟาโรห์ยูนัสได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตและอยู่ต่อมาจนถึงสมัยที่ราชอาณาจักรเก่าสิ้นสุดลงและอาจจะอยู่ต่อมาเรื่อย ๆ จนถึงช่วงระหว่างกลางที่หนึ่งอันวุ่นวาย พิธีการดังกล่าวยังอาจจะอยู่มาถึงหรือได้รับการฟื้นฟูขึ้นในช่วงราชอาณาจักรกลาง (ราว 2050 ถึง 1650 ปีก่อนคริสตกาล) แต่กลับไม่ได้ป้องกันจากการรื้อถอนที่ฝังพระศพของพระองค์บางส่วนเพื่อเอาวัสดุในรัชสมัยฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 1 และ ฟาโรห์เซนุสเรตที่ 1 (ราวช่วง 1990 ถึง 1930 ปีก่อนคริสตกาล)

ควบคู่ไปกับพิธีการดังกล่าว ฟาโรห์ยูนัสอาจได้รับความเคารพอย่างสูงในฐานะเทพเจ้าท้องถิ่นแห่งซัคคารา จนกระทั่งช่วงยุคปลาย (664–332 ปีก่อนคริสตกาล) เกือบ 2,000 ปีหลังจากที่พระองค์สวรรคต

หลักฐานรับรอง

หลักฐานทางประวัติศาสตร์

การมีอยู่ของฟาโรห์ยูนัสได้รับการพิสูจน์อย่างชัดเจนจากแหล่งประวัติศาสตร์ที่มีบันทึกรายพระนามกษัตริย์อียิปต์โบราณสามรายการสืบมาจากช่วงสมัยราชอาณาจักรใหม่ได้กล่าวถึงพระองค์[17] พระองค์อยู่ในรายการที่ 33 ของบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งอไบดอส ซึ่งบันทึกขึ้นในรัชสมัยของฟาโรห์เซติที่ 1 (1290–1279 ปีก่อนคริสตกาล) พระนามของพระองค์ก็มีอยู่ในบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งซัคคารา (ในรายการที่ 32)[18] และในบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน (ในคอลัมน์ที่ 3 แถวที่ 25) ซึ่งทั้งสองบันทึกพระนามนี้นี้ด้เขียนขึ้นในรัชสมัยของฟาโรห์รามเสสที่ 2 (1279–1213 ปีก่อนคริสตกาล)[17] บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูรินได้บันทึกไว้ว่าพระองค์ปกครองอียิปต์เป็นเวลา 30 ปี[17][19] แหล่งข้อมูลเหล่านี้ทั้งหมดได้ระบุว่าพระองค์เป็นฟาโรห์พระองค์ที่เก้าและพระองค์สุดท้ายของราชวงศ์ที่ห้า ซึ่งขึ้นครองราชย์ต่อจาฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิ และฟาโรห์เตติขึ้นครองราชย์ต่อจากพระองค์[20] ลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กันนี้ได้รับการยืนยันโดยหลักฐานทางโบราณคดี เช่น ในหลุมฝังศพของข้าราชการที่รับใช้ภายใต้ฟาโรห์เหล่านี้[21]

นอกจากแหล่งข้อมูลเหล่านี้แล้ว พระองค์ยังถูกกล่าวถึงใน Aegyptiaca ซึ่งเป็นบันทึกประวัติศาสตร์ของอียิปต์โบราณที่เขียนขึ้นในช่วงศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล ในรัชสมัยของฟาโรห์ปโตเลมีที่ 2 (283–246 ปีก่อนคริสตกาล) โดยนักบวชชาวอียิปต์นามว่า มาเนโท ซึ่งไม่มีสำเนาของ Aegyptiaca ที่หลงเหลือมาจนถึงทุกวันนี้ แต่รู้เพียงผ่านงานเขียนในภายหลังโดย เซกตัส จูเลียส อาฟริกานัส และยูเซเบียสเท่านั้น อาฟริกานัสกล่าวว่า Aegyptiaca ได้กล่าวถึงฟาโรห์ "ออนนอส" ที่ครองราชย์เป็นเวลา 33 ปีช่วงปลายราชวงศ์ที่ห้า ซึ่งเชื่อกันว่า ออนนอส เป็นรูปแบบที่แปรมาเป็นภาษากรีกของ ยูนัส และจำนวน 33 ปีแห่งการครองราชย์ของอาฟริกานัสก็ตรงกับจำนวนปีครองราชย์ของพระองค์ตามบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน[17]

หลักฐานร่วมสมัย

A yellow spherical jar inscribed with a falcon wrapping around the circumference.
แจกันทรงกลมหินปูนขาวของฟาโรห์ยูนัส, พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์[22]

หลักฐานชั้นต้นร่วมสมัยในปัจจุบันได้พิสูจน์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงรัชสมัยของพระองค์คือภาพสลักนูนต่ำมากมายจากพีระมิดของพระองค์ หากไม่นับหลักฐานเหล่านี้ มีหลักฐานไม่กี่ชิ้นที่สืบเนื่องมาจากรัชสมัยของพระองค์ที่ยังหลงเหลืออยู่เลยจนถึงทุกวันนี้ เมื่อพิจารณาถึงระยะเวลาครองราชย์ 30 ปีที่บันทึกไว้ในสมัยต่อมาสำหรับการครองราชย์ของพระองค์ การขุดค้นอาบูซิร์ ซึ่งเป็นสุสานหลวงของราชวงศ์ที่ห้าแห่งอียิปต์โบราณได้บันทึกจารึกลงวันเวลาเพียงสี่ชิ้นเท่านั้นที่เกี่ยวข้องพระองค์และอยู่สภาพที่สมบูรณ์ ซึ่งจารึกเหล่านั้นกล่าวถึงปีที่สาม สี่ หกและแปดของการครองราชย์ของพระองค์อย่างชัดเจน[23] พระองค์ยังมีจารึกบนเกาะแอลเลเฟนไทน์ ที่อยู่ถัดจากแก่งน้ำตกแรกของแม่น้ำไนล์ในนิวเบีย[24]

นอกจากนี้ ยังมีแจกันหินปูนขาวหลายใบที่มีคาร์ทูธของพระองค์ เรือไม้ที่สมบูรณ์และชิ้นส่วนเพิ่มเติมที่มาจากเมืองไบบลอส[13] ซึ่งอยู่บนชายฝั่งเลวานไทน์ ขณะนี้อยู่ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเบรุต[25] แจกันที่ไม่ทราบที่มาตั้งอยู่ในพิพิธภัณฑ์โบราณคดีแห่งชาติฟลอเรนซ์และอ่านว่า "ฮอรัส วาดจ์ทาวี, ดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์, ฟาโรห์แห่งอียิปต์ตอนบนและตอนล่าง, โอรสแห่งรา, ยูนัส, ดำรงอยู่ชั่วนิรันดร์"[26][27][a] เรือไม้อีกลำที่ไม่ทราบที่มาที่จัดแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ เป็นแจกันทรงกลมสูง 17 เซนติเมตร (6.7 นิ้ว) กว้าง 13.2 เซนติเมตร (5.2 นิ้ว) ประดับอย่างวิจิตรด้วยเหยี่ยวที่มีปีกกางออกและงูเห่าสองตัวจับเครื่องหมายอังค์รอบ ๆ คาร์ทูธของพระองค์[22] กระปุกขี้ผึ้งที่สลักพระนามของพระองค์และพระนามฮอรัส ซึ่งจัดแสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์บรูคลิน[29] และชิ้นส่วนของขอบแจกันแคลไซต์ที่แกะสลักคาร์ทูธของพระองค์ทั้งสองชิ้นก็แสดงอยู่ในพิพิธภัณฑ์เพทรี[30][b]

รัชสมัย

พระราชวงศ์

ฟาโรห์ยูนัสได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิ เสด็จสวรรคต ซึ่งฟาโรห์ดเจดคาเรถูกสันนิษฐานว่าเป็นพระราชบิดาของพระองค์[1] ทั้งที่ไม่มีหลักฐานยืนยันเกี่ยวกับข้อสงสัยอย่างชัดเจน[32] และการขึ้นครองราชย์ของพระองค์จากฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิดูเหมือนว่าจะราบรื่น[33]

พระองค์มีพระมเหสีอย่างน้อย 2 พระองค์ คือ พระนางเนเบต[34] และ พระนางเคนุต[35] ซึ่งถูกฝังอยู่ในมาสตาบาคู่ขนาดใหญ่ที่อยู่ติดกับพีระมิดของพระสวามี และพระนางเนเบตอาจจะมีพระโอรสคือ "พระราชโอรสแห่งกษัตริย์", "มหาดเล็กของพระราชวงศ์", "นักบวชแห่งเทพีมาอัต" และ "ผู้ตรวจการอียิปต์บน" นามว่า ยูนัส-อังค์ [36] ซึ่งน่าจะสิ้นพระชนม์ประมาณ 10 ปีในรัชสมัยของฟาโรห์ยูนัส[37] พระนามของพระองค์ได้บอกเป็นนัยโดยอ้อมแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างบิดาและบุตร ตำแหน่งของพระองค์ และหลุมฝังศพของพระองค์ใกล้กับพระนางเนเบตและพระบิดา[38] แต่กลับไม่เป็นที่ยอมรับในระดับสากล[39][40][c] พระราชโอรสอีกสองพระองค์มีการสันนิษฐานว่าคือ เนบคาอูฮอร์[42] และเซปเซสพูพทาห์[43] แต่ความสัมพันธ์ระหว่างฟาโรห์ยูนัสนั้นเป็นเพียงการคาดเดาและโต้แย้งกัน[44] ฟาโรห์ยูนัสน่าจะสวรรคตโดยไม่มีองค์รัชทายาทชาย[44]

พระองค์มีพระราชธิดาอย่างน้อยห้าพระองค์ พระนามว่า เฮเมตเร เฮมิ[45], เคนท์คาอูเอส[46], เนเฟรุต, [47], เนเฟรตคาอูเอส ไอกู[48], และ เซเซสเฮต ไอดุต[49] และสถานะของพระราชธิดาอีกพระองค์อีกหนึ่งที่เป็นไปได้นามว่า ไอพุต ยังคลุมเครือ[50]

ช่วงการครองราชย์

A seated man in a tight fitting robe, with a false beard and a crown.
ภาพสลักฟาโรห์ซาฮูเรทรงสวมเสื้อคลุมของเทศกาลเซด[51] คล้ายกับภาพสลักนูนต่ำของเทศกาลเซดจากสถานที่ฝังพระศพของฟาโรห์ยูนัส[52]

ระยะเวลาในการครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัสนั้นยังคลุมเครือ ตามที่กล่าวไว้ข้างต้น หลักฐานประวัติศาสตร์ระบุเวลาการครองราชย์ด้วยระยะเวลา 30 และ 33 ปี ตัวเลขปีที่นักไอยคุปต์วิทยานิยมนำไปใช้ เช่น ฟลินเดอร์ส เพทรี[53], วิลเลียม ซี. ฮาเยส[54], ดาร์เรล เบเกอร์[13], ปีเตอร์ มุนโร[55], และจาโรเมียร์ มาเล็ค[5] การครองราชย์ที่ยาวนานเช่นนี้[56] จะมีภาพสลักของเทศกาลเซดซึ่งพบอยู่ในวิหารฝังพระศพของพระองค์[57][1] โดยปกติแล้วเทศกาลนี้จะมีการเฉลิมฉลองหลังจากครองราชย์ไปแล้ว 30 ปี และมีเป้าหมายที่ฟื้นฟูความแข็งแกร่งและอำนาจแก่ฟาโรห์ อย่างไรก็ตาม การพรรณนาถึงเทศกาลเซดเพียงอย่างเดียวนั้นไม่ได้หมายถึงการครองราชย์ที่ยาวนานเสมอไป ยกตัวอย่างเช่น ภาพนูนต่ำที่แสดงให้เห็นฟาโรห์ซาฮูเรในชุดเสื้อคลุมของเทศกาลเซด ซึ่งพบในวิหารฝังพระศพของพระองค์[51][58] ถึงแม้ว่าทั้งหลักฐานทางประวัติศาสตร์และหลักฐานทางโบราณคดีต่างเห็นพ้องกันว่าฟาโรห์ซาฮูเรทรงปกครองอียิปต์เป็นเวลาน้อยกว่า 14 ปีเต็ม[59][9][10]

นักไอยคุปต์วิทยาคนอื่น ๆ สงสัยว่าพระองค์จะครองราชย์น้อยกว่า 30 ปี เนื่องจากมีหลักฐานที่สามารถระบุได้ในการครองราชย์ของพระองค์ไม่เพียงพอ เช่นเดียวกับการขาดหลักฐานที่มีอายุเกินกว่าปีที่แปดแห่งการครองราชย์ของพระองค์[60] ดังนั้น เยอร์เกน ฟอน เบ็คเคอราท เชื่อว่า ฟาโรห์ยูนัสปกครองอียิปต์เป็นเวลา 20 ปี[9] ในขณะที่ รอล์ฟ เคราส์, เดวิด วอร์เบอร์ตัน และเอริค ฮอร์นุง ได้ลดจำนวนปีครองราชย์ลงเหลือ 15 ปีในการศึกษาลำดับเหตุการณ์ของอียิปต์โบราณในปี ค.ศ. 2012[10] เคราส์และมิโรสลาฟ แวร์เนอร์ตั้งข้อสงสัยเพิ่มเติมเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูรินช่วงราชวงศ์ที่สี่และราชวงศ์ที่ห้า ดังนั้นจำนวนปีครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัสที่ระบุไว้ว่า 30 ปีที่กล่าวในบันทึกดังกล่าวนั้นอาจจะไม่น่าเชื่อถือ[61]

การขุดค้น[62]ของหลุมฝังศพของไนคาอู-ไอเซซิ ภายใต้การดูแลของนากิบ คานาวาติที่ซัคคาราได้ให้หลักฐานสนับสนุนการครองราชย์ที่สั้นกว่า[63] โดย ไนคาอู-ไอเซซิ เป็นข้าราชการที่เริ่มทำงานในรัชสมัยของฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิ เขามีชีวิตผ่านรัชสมัยของฟาโรห์ยูนัสและถึงแก่กรรมในฐานะผู้ตรวจการอียิปต์บนในช่วงรัชสมัยฟาโรห์เตติ[21] ซึ่งเป็นฟาโรห์ที่ขึ้นครองราชย์ต่อจากฟาโรห์ยูนัส ทราบว่าไนคาอู-ไอเซซิ ถึงแก่กรรมในปีที่มีการนับปศุสัตว์ที่สิบเอ็ดในรัชสมัยของฟาโรห์เตติ ซึ่งเป็นงานที่ประกอบด้วยการนับปศุสัตว์ทั่วประเทศเพื่อประเมินจำนวนภาษีที่จะเรียกเก็บและเชื่อกันว่าการนับดังกล่าวเกิดขึ้นทุก ๆ สองปีในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่าและทุกปีในช่วงหลังสมัยราชอาณาจักรกลาง (ระหว่าง 2055 ถึง 1650 ปีก่อนคริสตกาล)[21] ดังนั้นไนคาอู-ไอเซซิจะมีชีวิตอยู่เวลา 22 ปีหลังจากฟาโรห์เตติขึ้นครองราชย์และรวมกับอีก 30 ปีแห่งการครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัส เขาน่าจะถึงแก่กรรมเมื่ออายุได้ 70 ​​​​ปี[21] อย่างไรก็ตาม ผลการตรวจทางนิติเวชของมัมมี่ของเขาแสดงให้เห็นว่าเขาน่าจะมีอายุไม่เกิน 45 ปี นี่แสดงให้เห็นว่าการนับปศุสัตว์เกิดขึ้นมากกว่าหนึ่งครั้งทุกสองปีในช่วงเวลาของฟาโรห์ยูนัสและฟาโรห์เตติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นอย่างผิดปกติ ถ้าเป็นเช่นนั้นจำนวน 30 ปีครองราชย์ของฟาโรห์ยูนัสในบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูริน ซึ่งเข้าใจว่าหมายถึงการนับปศุสัตว์ 15 ครั้งอาจจะมีความหมายเป็น 15 ปี ซึ่งเมื่อรวมกับเวลาเพียง 11 ปีในรัชสมัยของฟาโรห์เตติจะทำให้ไนคาอู-ไอเซซิถึงแก่กรรมเมื่ออายุประมาณ 40 ปี อายุ 45 ปี[21]

เหตุการณ์ภายในรัชสมัย

A man standing surrounded by columns of hieroglyphs.
ภาพวาด[53]บนจารึกของฟาโรห์ยูนัสบนเกาะแอลเลเฟนไทน์[d]

การค้าและสงคราม

เนื่องจากขาดหลักฐานสืบเนื่องในรัชสมัยของพระองค์ จึงทำให้ทราบถึงเหตุการณ์ภายในรัชสมัยของพระองค์น้อยมาก[13] ความสัมพันธ์ทางการค้าที่มีอยู่กับต่างประเทศและเมืองต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมืองไบบลอส[66] ดูเหมือนจะดำเนินต่อไป ภาพนูนต่ำนูนสูงจากทางเดินของพีระมิดของพระองค์แสดงให้เห็นเรือเดินทะเลขนาดใหญ่สองลำที่กลับมาจากการเดินทางไปยังชายฝั่งเลวานไทน์พร้อมกับชายชาวซีโร-คานาอัน ซึ่งเป็นลูกเรือหรือทาส[67][68] ส่วนภาพสลักอีกภาพหนึ่งแสดงให้เห็นถึงการดำเนินการทางทหาร[69] ชาวอียิปต์ติดอาวุธด้วยธนูและกริชโจมตีชาวคานาอันเร่ร่อนที่เรียกว่าชาซู[70] มีการพบภาพนูนต่ำนูนสูงคล้ายคลึงกันในพีระมิดก่อนหน้า เช่น พีระมิดของฟาโรห์ซาฮูเร ดังนั้นจึงอาจเป็นรูปแบบมาตรฐานมากกว่าการพรรณนาถึงเหตุการณ์จริง[69] หลักฐานอื่นมักจะยืนยันความจริงในเหตุการณ์บนภาพสลักเหล่านี้ ตัวอย่างเช่น บันทึกอัตชีวประวัติของเวนิที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษหลายครั้งต่อชนเผ่าเร่ร่อนชาวคานาอันในช่วงต้นราชวงศ์ที่หก[69][71]

จารึกของฟาโรห์ยูนัสบนเกาะแอลเลเฟนไทน์ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอียิปต์ ได้บันทึกการเสด็จเยือนของพระองค์ที่นิวเบียล่าง ซึ่งอาจจะได้รับเครื่องบรรณาการจากหัวหน้าเผ่า[57] หรือเนื่องจากความไม่สงบที่เพิ่มขึ้นในภูมิภาค[72] นอกจากนี้ ภาพสลักนูนต่ำนูนสูงของทางเดินดังกล่าวที่นำไปสู่พีระมิดของพระองค์แสดงให้เห็นตัวยีราฟ ซึ่งบ่งบอกถึงความสัมพันธ์ทางการค้ากับนิวเบีย[73]

การภายในประเทศ

Prostrated people, their ribs showing, look wearily to the ground.
ภาพสลักแสดงภาพคนเร่ร่อนที่หิวโหยจากทางเดินของฟาโรห์ยูนัสในซัคคารา

รัชสมัยของฟาโรห์ยูนัสเป็นช่วงที่เศรษฐกิจตกต่ำ[72] แม้ว่าตามที่นิโคลัส กรีมาล นักไอยคุปต์วิทยาชาวฝรั่งเศสเขียนไว้ว่า มันเป็น "เวลาแห่งความเสื่อมโทรมไม่เคยเกิดขึ้นเลย"[32] ที่แท้จริงแล้ว รัฐบาลอียิปต์ยังคงสามารถจัดการสำรวจครั้งสำคัญเพื่อจัดหาหินสำหรับก่อสร้างเหล่าอาคารพีระมิดของฟาโรห์ได้[1] การเดินทางเหล่านี้แสดงให้เห็นในภาพนูนต่ำนูนสูงพิเศษที่พบในทางเดินไปพีระมิดของพระองค์[74][75][1] และยังอ้างถึงในจารึกที่บันทึกอัตชีวประวัติของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร[76][e] เจ้าหน้าที่คนนี้รายงานการขนส่งระยะทาง 10.40 เมตร - เสาหินแกรนิตสีแดงสูง (34.1 ฟุต)[f] จากเกาะแอลเลเฟนไทน์ไปยังซัคคาราในเวลาเพียงแค่สี่วัน ซึ่งเป็นผลงานที่ฟาโรห์ยกย่องเขา[76] นอกจากงานก่อสร้างสำคัญที่ดำเนินการในซักคาราสำหรับการก่อสร้างพีระมิดของพระองค์แล้ว กิจกรรมการก่อสร้างยังเกิดขึ้นที่เกาะแอลเลเฟนไทน์อีกด้วย[32]

เดิมทีสถานการณ์ภายในประเทศในช่วงรัชสมัยของฟาโรห์ยูนัสถูกคิดว่าเป็นหายนะ โดยอิงจากภาพสลักนูนต่ำนูนสูงบนทางเดินพีระมิด ซึ่งสลักให้เห็นภาพผู้คนที่ผอมแห้ง[4][78] จนแนวคิดนี้เปลี่ยนไปเมื่อการขุดค้นที่อาบูซีร์ในปี ค.ศ. 1996 พบภาพสลักนูนต่ำนูนสูงที่คล้ายกันในหลุมฝังศพของฟาโรห์ซาฮูเร ซึ่งปกครองอียิปต์ในช่วงเวลาที่รุ่งเรืองในสมัยราชวงศ์ที่ห้าตอนต้น[79] นอกจากนี้ การวิจัยยังพบว่าคนที่หิวโหยมักจะเป็นชาวทะเลทราย ซึ่งชนเผ่าเร่ร่อนจะโดดเด่นด้วยทรงผมเฉพาะของพวกเขามากกว่าชาวอียิปต์[80] ด้วยเหตุนี้ ภาพสลักนูนต่ำนูนสูงเหล่านี้จึงเข้าใจได้ว่าเป็นการแสดงมาตรฐานของความเอื้ออาทรของฟาโรห์ที่มีต่อผู้ยากไร้และความยากลำบากของชีวิตในพื้นที่ทะเลทรายที่มีพรมแดนติดกับอียิปต์[81] แทนที่จะหมายถึงเหตุการณ์จริง[80]

การสวรรคตและการสิ้นสุดของราชวงศ์

ในบันทึก Aegyptiaca ของมาเนโท กล่าวว่าการสวรรคตของฟาโรห์ยูนัส ทำให้ราชวงศ์ที่ห้าได้สิ้นสุดลง[32] อาจเป็นเพราะว่าพระองค์เสด็จสวรรคตโดยไม่มีรัชทายาทชาย[72] ยูนัส-อังค์ ผู้เป็นที่อาจจะเป็นพระราชโอรสซึ่งสิ้นพระชนม์ก่อนพระองค์ ประเด็นนี้อาจก่อให้เกิดวิกฤตการสืบราชสันตติวงศ์[72] โดยนัยถึงพระนาม ซึ่งฟาโรห์เตติได้เลือกเมื่อขึ้นครองราชย์: "เซเฮเทปทาวี" หมายความว่า "พระองค์ผู้ทรงคืนดี/ทำให้ทั้งสองแผ่นดินสงบ"[32][72] การอ้างสิทธิ์ในราชบัลลังก์ของฟาโรห์เตติ อาจขึ้นอยู่กับการแต่งงานของพระองค์กับเจ้าหญิงไอพุต ซึ่งอาจเป็นพระราชธิดาของฟาโรห์ยูนัส[82][83][84] ข้อสันนิษฐานนี้มีการถกเถียงกันอย่างมาก เนื่องจากการตีความพระนาม “ไอพุต” ที่จะบ่งบอกว่าพระองค์เป็นพระราชธิดาของฟาโรห์นั้นยังคลุมเครืออยู่[g][50] นอกจากนี้ แนวคิดที่ว่าฟาโรห์เตติสามารถอ้างสิทธิ์ของพระองค์ให้ถูกต้องตามกฎหมายด้วยการแต่งงานกับราชวงศ์ก็ถูกปฏิเสธ โดยนักไอยคุปต์วิทยาหลายคน รวมทั้ง มุนโร, โดเบรฟ, บัด, เมิร์ตซ, พิเรนเน่ และโรบิน ซึ่งไม่คิดว่าสิทธิในราชบัลลังก์ฟาโรห์จะผ่านสายของผู้หญิง[85]

นอกเหนือจากข้อมูลของมาเนโทแล้ว บันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูรินยังชี้ให้เห็นจุดแตกต่างพิเศษระหว่างฟาโรห์ยูนัสและฟาโรห์เตติ ผู้ขึ้นปกครองอียิปต์ต่อจากพระองค์ แม้ว่าบันทึกพระนามกษัตริย์จะไม่ได้จัดอยู่ในราชวงศ์ก็ตาม—ซึ่งถูกคิดค้นโดยมาเนโท— แต่นักไอยคุปต์วิทยา จาโรเมียร์ มาเล็ค อธิบายว่า "เกณฑ์สำหรับการแบ่งแยกดังกล่าวในบันทึกพระนามกษัตริย์แห่งตูรินมักจะแบ่งตามคือการเปลี่ยนที่ตั้งของเมืองหลวงและที่ประทับของราชวงศ์"[83] ด้วยเหตุนี้จึงชี้ให้เห็นว่าเมืองหลวงของอียิปต์ ซึ่งในขณะนั้นรู้จักกันในชื่อ อินบู-เฮดจ์[h] ถูกแทนที่โดยแท้จริงในขณะนั้น โดยการตั้งถิ่นฐานที่ตั้งอยู่ทางทิศใต้ ทางตะวันออกของซัคคาราใต้ ซึ่งอาจเป็นที่ตั้งของพระราชวังของฟาโรห์ยูนัส ในสหัสวรรษที่สองก่อนคริสตกาล เมืองเหล่านี้ได้รวมเข้าด้วยกันและก่อให้เกิดเมืองเมมฟิสในที่สุด[87][i]

ไม่ว่าข้อสันนิษฐานของมาเนโทในการสิ้นสุดราชวงศ์ที่ห้ากับฟาโรห์ยูนัสจะเป็นเช่นไร แต่ชาวอียิปต์ที่มีชีวิตอยู่ในเวลานั้นคงไม่รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงใดเป็นพิเศษจากการเปลี่ยนผ่านราชวงศ์หนึ่งไปสู่อีกราชวงศ์ การบริหารงานของรัฐไม่มีหลักฐานการรบกวน เจ้าหน้าที่หลายคนยังคงประกอบอาชีพของตนตั้งแต่ฟาโรห์ยูนัสสู่รัชสมัยของฟาโรห์เตติ[88] ซึ่งรวมถึงราชมนตรีเมฮู, คาเกมนี, และไนเคาอู-ไอเซซิ และไอซิ ผู้ตรวจการเมืองเอ็ดฟู เนื่องจากชาวอียิปต์ในช่วงราชอาณาจักรเก่าอาจไม่ได้คิดถึงนึกถึงราชวงศ์เลย[89] การแบ่งแยกระหว่างราชวงศ์ที่ห้าและราชวงศ์ที่หกอาจเป็นเรื่องเท็จได้[32]

วิวัฒนาการทางศาสนาและฟาโรห์

รัชสมัยของฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิและฟาโรห์ยูนัสเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงในศาสนาอียิปต์โบราณและในอุดมการณ์ของการเป็นกษัตริย์หรือฟาโรห์ การเปลี่ยนแปลงปรากฎให้เห็นในครั้งแรกภายใต้รัชสมัยของฟาโรห์ยูนัส[90] การวิเคราะห์ทางสถิติของชิ้นส่วนตราประทับดินเหนียวที่มีชื่อฮอรัสของฟาโรห์แห่งราชวงศ์ที่ห้าชี้ให้เห็นถึงความเสื่อมถอยของความเป็นฟาโรห์ในช่วงเวลาการปกครองของพระองค์[91] ความเสื่อมถอยยังคงดำเนินต่อไปนรัชสมัยของฟาโรห์เตติ ซึ่งทราบว่ามีเพียงตราประทับสองชิ้นที่มีพระนามฮอรัสของพระองค์[92] แนวโน้มนี้สะท้อนให้เห็นถึงการลดอำนาจของฟาโรห์ควบคู่ไปกับการเพิ่มขึ้นของอำนาจฝ่ายบริหารส่วนกลางและฐานะปุโรหิต[72]

ในขณะเดียวกัน การบูชาเทพโอซิริสก็มีความสำคัญมากขึ้น[93] โดยเทพเจ้าองค์นี้เข้ามาแทนที่ฟาโรห์ในฐานะผู้ค้ำประกันชีวิตหลังความตายสำหรับราษฎรของฟาโรห์[83][94] นักไอยคุปต์วิทยาชาวเยอรมัน ฮาร์ตวิค อัลเตนมูลเลอร์ เขียนอธิบายว่า สำหรับชาวอียิปต์ในยุคนั้น "ชีวิตหลังความตาย [...] ไม่ได้ขึ้นอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และฟาโรห์อีกต่อไป [...] กลับเชื่อมโยงกับตำแหน่งทางจริยธรรมของโอซิริสโดยตรง"[94] ในทางตรงกันข้าม การบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์หรือรากำลังเสื่อมถอยลงอย่างเห็นได้ชัด[95] แม้ว่าเทพรายังคงเป็นเทพเจ้าที่สำคัญที่สุดของวิหารของอียิปต์[94] ดังนั้นฟาโรห์ดเจดคาเร ไอเซซิและฟาโรห์ยูนัสไม่ได้สร้างวิหารดวงอาทิตย์ ซึ่งกลับกันกับฟาโรห์ของราชวงศ์ที่ห้าก่อนหน้าของทั้งสองพระองค์[93][96] นอกจากนี้พระนามของฟาโรห์เมนคาอูฮอร์ คาอิอูและฟาโรห์ยูนัสไม่ได้อิงถึงเทพราเลย ซึ่งไม่ได้ทำตามประเพณีตั้งแต่รัชสมัยของฟาโรห์ยูเซอร์กาฟ โดยประมาณหนึ่งศตวรรษก่อนหน้า ตำราพีระมิดที่พบในพีระมิดของฟาโรห์ยูนัสแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเทพโอซิริสและเทพราในศาสนาอียิปต์โบราณในขณะนั้น เชื่อกันว่าเทพเจ้าทั้งสองมีบทบาทสำคัญในการเข้าถึงชีวิตหลังความตาย โดยที่เทพราเป็นแหล่งกำเนิดของชีวิตและเทพโอซิริสเป็นพลังที่จะนำไปสู่ชีวิตหน้า[97][j]

อาคารและพีระมิด

A ruined mass of bricks, sand and rocks resembling an earthen mound
พีระมิดแห่งยูนัสที่ซัคคารา

ฟาโรห์ยูนัสมีพีระมิดที่สร้างขึ้นสำหรับพระองค์เองในซัคคาราเหนือ ตั้งอยู่ระหว่างพีระมิดของฟาโรห์เซเคมเคตและพีระมิดของฟาโรห์โจเซอร์ที่อยู่มุมทางตะวันตกเฉียงใต้ และตั้งอยู่แนวสมมาตรกับพีระมิดของฟาโรห์ยูเซอร์คาฟ ซึ่งตั้งอยู่ที่มุมทางตะวันออกเฉียงเหนือ ในกระบวนการนี้ คนงานได้ปรับระดับและปิดสุสานเก่าที่ตั้งอยู่ในพื้นที่[101] และที่สะดุดตาที่สุดคือหลุมฝังพระศพของฟาโรห์โฮเตปเซเคมวีแห่งราชวงศ์ที่สอง (2890 ปีก่อนคริสตกาล)[101]

ชื่อเดิมของพีระมิดของพระองค์คือ "เนเฟอร์ อิซุต ยูนัส" ซึ่งแปลว่า "สถานที่อันสวยงามแห่งยูนัส"[102] พีระมิดแห่งยูนัสเป็นพีระมิดที่เล็กที่สุด[101] ในบรรดาพีระมิดที่สร้างเสร็จในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่า มีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด 57.7 ม. × 57.7 ม. (189 ฟุต x 189 ฟุต) สำหรับความสูง 43 ม. (141 ฟุต)[102]

ส่วนที่ฝังพระศพ

A paved way of white limestone covered with a roof made of massive stone blocks resting on equally massive walls.
ส่วนที่ได้รับการบูรณะของทางเดินของฟาโรห์ยูนัส

พีระมิดแห่งยูนัสเป็นส่วนหนึ่งของสถานที่ฝังพระศพขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นรอบๆ โดยสามารถเข้าถึงพีระมิดผ่านทะเลสาบโบราณ[103] และมีวิหารสำหรับฟาโรห์ยูนัสที่ตั้งอยู่บนชายฝั่ง วิหารแห่งนี้ได้รับสิ่งของสำหรับการบูชาฟาโรห์และมีการจัดเตรียมเครื่องบูชาไว้ที่นั่น ด้านหลังวิหารดังกล่าวเป็นจุดเริ่มต้นของทางเดินความยาว 750 เมตร (2,460 ฟุต) ยาวเท่ากับทางเดินไปสู่พีระมิดของฟาโรห์คูฟู[101] และเส้นทางดังกล่าวจะตรงไปที่วิหารที่ตั้งอยู่กับพีระมิด ร่องบางบนหลังคาของทางเดิน ทำให้แสงส่องส่องผนังที่ปกคลุมตลอดความยาวด้วยสีสรรที่ทาสี ภาพเหล่านี้แสดงถึงฤดูกาลของอียิปต์ ขบวนผู้คนจากอียิปต์ ช่างฝีมือในที่ทำงาน คนถือเครื่องบูชา ฉากต่อสู้ และการขนส่งเสาหินแกรนิตสำหรับการก่อสร้างอาคารและพีระมิด[104]

ที่ปลายสุดของทางเดินคือห้องโถงขนาดใหญ่ที่นำไปสู่ลานเปิดที่มีเสาซึ่งล้อมรอบด้วยห้องหลายห้อง[104] ซึ่งลานดังกล่าวจะนำเข้าไปในวิหารที่ฝังพระศพ ซึ่งเป็นที่ตั้งของรูปปั้นของฟาโรห์และสถานที่ถวายเครื่องบูชาแก่ฟาโรห์ผู้ล่วงลับ[104] ซึ่งอยู่ติดกับด้านตะวันออกของพีระมิด ซึ่งล้อมรอบด้วยกำแพงล้อมรอบที่กำหนดพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ที่มุมตะวันออกเฉียงใต้เป็นพีระมิดขนาดเล็กสำหรับดวงพระวิญญาณ (คา) ของฟาโรห์[101] ห้องภายในของพีระมิดถูกเปิดสำรวจในปี ค.ศ. 1881 โดยแกสตัน มาสเปโร ผู้ค้นพบตำราพีระมิด ห้องฝังพระศพไม่มีอะไรเลยนอกจากโลงศพสีเทาดำ[105] โลงศพที่ตั้งอยู่บนสู่พื้นและหีบคาโนปิค ภายในโลงศพที่พิสูจน์แล้วว่ามีกระดูกกระจัดกระจายซึ่งอาจเป็นของฟาโรห์ยูนัส[101]

ตำราพีระมิด

A large chamber of stone, its walls entirely covered with thousands of hieroglyphs.
ตำราพีระมิดที่สลักไว้บนฝาผนังของห้องฝังพระศพฟาโรห์ยูนัส

สิ่งที่เปลี่ยนแปลงใหม่ของพีระมิดแห่งยูนัสคือการปรากฏของตำราพีระมิดครั้งแรก[5] หนึ่งในตำราทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในอียิปต์ที่มีชีวิตรอดมาจนถึงทุกวันนี้[k] ซึ่งได้ริเริ่มประเพณีที่จะปฏิบัติตามในพีระมิดของฟาโรห์และพระราชินีแห่งราชวงศ์ที่หกถึงราชวงศ์ที่แปดและกระทำจนถึงช่วงสิ้นสุดของราชอาณาจักรเก่าในอีกประมาณ 200 ปีต่อมา[107]

เวทมนตร์คาถาทั้งหมด 283 คาถา[106][l] หรือที่รู้จักในชื่อบทสวด ถูกแกะสลักและป้ายทาสีฟ้าบนผนังของทางเดิน ห้องโถง และห้องฝังพระศพ[109] เป็นการตีความที่ชัดเจนที่สุดของตำราพีระมิดที่มีอยู่ในปัจจุบัน[110] คาถาเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยฟาโรห์ในการเอาชนะกองกำลังที่เป็นศัตรูและอำนาจในโลกหลังความตายและด้วยเหตุนี้จึงรวมเข้ากับเทพแห่งดวงอาทิตย์ ซึ่งเป็นพระบิดาผู้ศักดิ์สิทธิ์ของพระองค์ในชีวิตหลังความตาย[111] โดยการสลักข้อความลงบนผนังห้องภายในของพีระมิด สถาปนิกของพีระมิดแห่งยูนัสรับรองว่าฟาโรห์จะได้รับประโยชน์จากความสามารถของพวกเขาแม้ว่าการบูชาพระศพจะหยุดลงก็ตาม[1][112] ดังนั้นตำราพีระมิดของพีระมิดแห่งยูนัสจึงรวมคำแนะนำสำหรับพิธีกรรมและบทสวดที่จะสวด บ่งบอกว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ทำและอ่านระหว่างการบูชาฟาโรห์ในวิหารฝังพระศพของพระองค์อย่างถูกต้อง[113]

การเก็บรักษาตำราอย่างดีในพีระมิดแห่งยูนัส แสดงให้เห็นว่าคาถาเหล่านั้นถูกเรียบเรียงเพื่อให้ดวงวิญญาณของฟาโรห์ยูนัสได้ทรงอ่าน ขณะที่ลุกขึ้นจากโลงศพด้วยคำพูดฟื้นคืนชีพและล้อมรอบด้วยคาถาป้องกันและเครื่องบูชา[110][114] จากนั้นดวงวิญญาณจะออกจากห้องฝังพระศพ ซึ่งมีข้อความบอกว่าฟาโรห์กับโอซิริสในดูอัตและจะย้ายไปที่ห้องโถง ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของอาเคต (เส้นขอบฟ้า) คาถาที่เขียนบนผนังห้องโถงรวมอยู่ในคาถาสองคำที่รู้จักกันในชื่อกลอนสวดมนุษย์กินคน (Cannibal Hymn) แสดงให้เห็นว่าฟาโรห์กำลังบินสู่สวรรค์ผ่านท้องฟ้าที่มีพายุและกินทั้งเทพเจ้าและมนุษย์ ในการทำเช่นนั้นฟาโรห์จะได้รับพลังชีวิตของเหล่าทวยเทพ[110][m][n] ณ จุดนี้ดวงวิญญาณของพระองค์จะหันไปทางทิศตะวันออกทิศทางของพระอาทิตย์ขึ้นและนอกกำแพงอิฐพีระมิด ซึ่งเป็นประตูหลอกของวิหารฝังพระศพที่ประกอบพิธีฝังพระศพ และท้ายที่สุดดวงวิญญาณของพระองค์จะไปทางซ้ายจะรวมเข้ากับเทพราบนท้องฟ้าโดยผ่านทางเดินพีระมิด[110]

ตัวอย่างของคาถาจากพีระมิดแห่งยูนัส คือ ในบทสวดที่ 217:[111]

เร-อาตุม ยูนัสนี้มาหาพระองค์

วิญญาณที่ทำลายไม่ได้

พระโอรสมาหาพระองค์

ยูนัสนี้มาหาพระองค์

ข้ามฟากฟ้ามารวมกันในความมืดมิด

ขอพระองค์ขึ้นมาบนดินแดนแห่งแสงสว่างที่ซึ่งพระองค์จะส่องแสง!

มรดกประเพณี

A small seal in the shape of a scarab inscribed with hieroglyphs spelling the name Unas.
ตราประทับสคารับที่พระนามของฟาโรห์ยูนัส[117]

มรดกประเพณีที่สำคัญที่สุดของฟาโรห์ยูนัสคือ การบูชาฟาโรห์ ซึ่งยังคงกระทำตามต่อไปอย่างน้อยก็จนถึงช่วงสิ้นสุดของราชอาณาจักรเก่า พิธีการนี้พบในสุสานที่ซัคคาราของนักบวชทั้งเจ็ดที่รับผิดชอบหน้าที่ทางศาสนาที่ต้องทำในวิหารฝังพระศพ สุสานสามแห่งมีอายุถึงช่วงต้นราชวงศ์ที่หกในช่วงเวลาหลังจากการสวรรคตของฟาโรห์เปปิที่ 1 สุสานอีกสามแห่งมีอายุถึงรัชสมัยของฟาโรห์เปปิที่ 2 และสุสานอีกแห่งมีอายุอยู่ในช่วงปลายสุดของสมัยราชอาณาจักรเก่า (ราว 2180 ปีก่อนคริสตกาล) โดยนักบวชเหล่านี้จะใช้ชื่อที่รวมกับพระนามของฟาโรห์ อาจเป็นไปได้เพื่อการเข้ารับตำแหน่ง[118]

การบูชาฟาโรห์ยูนัสดูเหมือนว่าจะคงมีอยู่ถึงในช่วงเวลาอันวุ่นวายของสมัยระหว่างกลางที่ 1 จนถึงสมัยราชอาณาจักรกลาง[119] เมื่อถึงช่วงสมัยราชวงศ์ที่สิบสอง (ราวช่วง 1990 ถึง 1800 ปีก่อนคริสตกาล) ครอบครัวของนักบวชที่มีหน้าที่อ่านบทสวดที่มีนามว่า ยูนัสเอมซาฟ[o] ก็ยังคงกระทำอยู่[120][121] อย่างไรก็ตาม สถานที่ฝังพระศพได้ถูกรื้อถอนบางส่วนเพื่อนำวัสดุเหล่านั้นมาสร้างเป็นพีระมิดในรัชสมัยของฟาโรห์อเมเนมเฮตที่ 1 และฟาโรห์เซนุสเรตที่ 1[122][123]

นอกจากนี้ ฟาโรห์ยูนัสถูกยกย่องให้เป็นเทพเจ้าและยังกลายมาเป็นเทพเจ้าท้องถิ่นแห่งสุสานในซัคคารา โดยกรีเมลให้ความเห็นว่ามันคงจะเกี่ยวข้องสถานที่ฝังพระศพของพระองค์ที่มีความยิ่งใหญ่โอ่อ่า[32] และมาเล็คยังสงสัยในการมีอยู่ของพิธีดังกล่าวที่ได้รับความนิยมในช่วงสมัยราชอาณาจักรเก่าแต่ได้ยอมรับตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรกลางเป็นต้นไป[124] ที่ได้รับความนิยมอย่างต่อเนื่องเป็นเวลาเกือบ 2,000 ปี สังเกตุจากตราประทับสคารับที่มีพระนามของฟาโรห์ยูนัสที่พบในซัคคารา ซึ่งมีอายุตั้งแต่สมัยราชอาณาจักรใหม่ (1550 ถึง 1077 ปีก่อนคริสตกาล) จนถึงช่วงปลาย (664–332 ปีก่อนคริสตกาล)[117][125][126][127] และมาเล็คเชื่อว่าการฟื้นฟูอาณาจักรกลางนี้มาจากตำแหน่งทางภูมิศาสตร์สถานที่ฝังพระศพของพระองค์ ซึ่งกลายเป็นทางเข้าสู่สุสานแห่งซัคคาราโดยธรรมชาติ[128] โดยศูนย์กลางของการบูชานี้ไม่ได้อยู่ที่พีระมิดแห่งยูนัสหรือวิหารฝังพระศพที่เกี่ยวข้อง แต่เป็นรูปสลักของพระองค์ ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าทำไมพีระมิดแห่งยูนัสจึงตกเป็นเป้าหมายของงานบูรณะภายใต้แรงผลักดันของเจ้าชายคาเอมเวเซท ซึ่งเป็นพระราชโอรสของฟาโรห์รามเสสที่ 2 (1279–1213 ปีก่อนคริสตกาล)[104]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 Altenmüller 2001, p. 600.
  2. Hawass & Senussi 2008, p. 10.
  3. Clayton 1994, p. 60.
  4. 4.0 4.1 Rice 1999, p. 213.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 Malek 2000a, p. 102.
  6. Lloyd 2010, p. xxxiv.
  7. Strudwick 2005, p. xxx.
  8. Arnold 1999.
  9. 9.0 9.1 9.2 von Beckerath 1999, p. 283.
  10. 10.0 10.1 10.2 Hornung 2012, p. 491.
  11. Dodson & Hilton 2004, p. 288.
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 Barsanti 1901, p. 254.
  13. 13.0 13.1 13.2 13.3 13.4 13.5 13.6 Baker 2008, p. 482.
  14. Leprohon 2013, p. 40.
  15. 15.0 15.1 Petrie 1917, p. 18 & p. 63.
  16. 16.0 16.1 Leprohon 2013, p. 41, footnote 65.
  17. 17.0 17.1 17.2 17.3 Baker 2008, pp. 482–483.
  18. Mariette 1864, p. 15.
  19. Gardiner 1959, pl. II & Col. III num. 25.
  20. von Beckerath 1999, pp. 60–61, king no. 9.
  21. 21.0 21.1 21.2 21.3 21.4 Kanawati 2001, pp. 1–2.
  22. 22.0 22.1 Ziegler in Allen et al. 1999, pp. 361–362, "123. Jar inscribed with the name of king Unis".
  23. Verner 2001a, pp. 410–411.
  24. Petrie 1907, p. 84 & fig. 49 p. 82.
  25. Porter, Moss & Burney 1951, p. 390.
  26. Guidotti 1991, p. 82, no. 18.
  27. Vase of Unas 2015.
  28. Touring Club Italiano 1993, p. 352.
  29. Brooklyn Museum Catalog 2015.
  30. Brunton 2015.
  31. Digital Egypt 2000.
  32. 32.0 32.1 32.2 32.3 32.4 32.5 32.6 Grimal 1992, p. 80.
  33. Baud 1999, p. 563.
  34. Baud 1999, p. 489.
  35. Baud 1999, p. 545.
  36. Williams 1981, p. 31.
  37. Onderka 2009, p. 166.
  38. Baud 1999, p. 422.
  39. Schmitz 1976, p. 31 & 89.
  40. Onderka 2009, p. 150 & pp. 167–170.
  41. Onderka 2009, pp. 149–150.
  42. Munro 1993, pp. 20–33.
  43. Baud 1999, pp. 580–582.
  44. 44.0 44.1 Onderka 2009, p. 170.
  45. Baud 1999, p. 519.
  46. Dodson & Hilton 2004, p. 64.
  47. Baud 1999, p. 499.
  48. Baud 1999, pp. 496–497.
  49. Baud 1999, pp. 564–565.
  50. 50.0 50.1 50.2 Baud 1999, pp. 410–411.
  51. 51.0 51.1 Borchardt 1913, Blatt 45.
  52. Labrousse, Lauer & Leclant 1977, p. 86, fig. 57.
  53. 53.0 53.1 Petrie 1907, p. 82.
  54. Hayes 1978, p. 58.
  55. Munro 1993, p. 8ff.
  56. Labrousse, Lauer & Leclant 1977, p. 85, fig. 56 & p. 86 fig. 57.
  57. 57.0 57.1 Baker 2008, p. 483.
  58. Richter 2013.
  59. Rice 1999, p. 173.
  60. Verner 2001a, p. 411.
  61. Verner 2001a, p. 416.
  62. Kanawati & ʻAbd-ar-Rāziq 2000.
  63. Verner 2001a, p. 412.
  64. Strudwick 2005, p. 133, num. 48.
  65. Sethe 1903, entry 69.
  66. Malek 2000a, p. 106.
  67. Hayes 1978, p. 67.
  68. Wachsmann 1998, p. 12 & p. 18.
  69. 69.0 69.1 69.2 Malek 2000a, p. 105.
  70. Stevenson Smith 1971, p. 189.
  71. Lichtheim 1973, pp. 18–23.
  72. 72.0 72.1 72.2 72.3 72.4 72.5 72.6 Verner 2001b, p. 590.
  73. Stevenson Smith 1971, p. 188.
  74. Landström 1970, p. 62, fig. 185.
  75. Lehner 1997, p. 202.
  76. 76.0 76.1 76.2 Fischer 1975.
  77. Lehner 1997, pp. 142–144.
  78. Dodson 1995, pp. 38–39.
  79. Hawass & Verner 1996, pp. 184–185.
  80. 80.0 80.1 Ziegler in Allen et al. 1999, pp. 360, "122. Starving bedouin".
  81. Coulon 2008, p. 2.
  82. Stevenson Smith 1971, p. 190.
  83. 83.0 83.1 83.2 Malek 2000a, p. 103.
  84. Baker 2008, p. 461.
  85. Baud & Dobrev 1995, p. 58.
  86. 86.0 86.1 Jeffreys 2001, p. 373.
  87. Malek 2000a, p. 104.
  88. Altenmüller 2001, p. 602.
  89. Baud & Dobrev 1995, pp. 55–58.
  90. Goedicke 1971, p. 155.
  91. Verner 2001a, pp. 408–409.
  92. Verner 2001a, p. 409.
  93. 93.0 93.1 Dorman 2015.
  94. 94.0 94.1 94.2 Altenmüller 2001, p. 601.
  95. Verner 2001b, p. 589.
  96. Verner 2003, p. 84.
  97. Allen & Der Manuelian 2005, pp. 7–8, The Function of the Pyramid Texts.
  98. Arieh Tobin 2001, p. 471.
  99. Arieh Tobin 2001, p. 470.
  100. Ockinga 2010, p. 113.
  101. 101.0 101.1 101.2 101.3 101.4 101.5 Lehner 1997, p. 154.
  102. 102.0 102.1 Grimal 1992, p. 118, Table 3.
  103. Lehner 1997, p. 83.
  104. 104.0 104.1 104.2 104.3 Lehner 1997, p. 155.
  105. Verner 2001d, p. 334.
  106. 106.0 106.1 Lehner 1997, pp. 154–155.
  107. 107.0 107.1 Allen 2001, p. 95.
  108. Clayton 1994, p. 63.
  109. Verner 2001c, p. 92.
  110. 110.0 110.1 110.2 110.3 Lehner 1997, p. 33.
  111. 111.0 111.1 Oakes & Gahlin 2002, p. 94.
  112. Lehner 1997, p. 95.
  113. Lehner 1997, pp. 32–33.
  114. Allen 2001, p. 96.
  115. Budge 1988, p. 323.
  116. Music Song Lyrics 2015, Nile Unas Slayer Of The Gods lyrics.
  117. 117.0 117.1 Petrie 1917, Plate IX & p. 34, see the scarabs.
  118. Altenmüller 1974, pp. 3–4.
  119. Morales 2006, p. 314.
  120. Moussa 1971.
  121. Moussa & Altenmüller 1975.
  122. Goedicke 1971.
  123. Malek 2000b, p. 257.
  124. Malek 2000b, pp. 250–251.
  125. Newberry 2003, Plate IV. Scarabs 32, 33 & 34.
  126. MFA Online catalog 2015.
  127. MMA Online catalog 2015.
  128. Malek 2000b, p. 256.

เชิงอรรถ

  1. Inventory number 3253.[28]
  2. Reference number UC13258.[31]
  3. In particular the title of "king's son" was given to both actual royal sons and non-royal high officials.[41]
  4. The text of the inscription reads "Horus Wadjtawy, the king of Upper and Lower Egypt Unas, lord of the foreign lands, given life and dominion for ever, beloved of Khnum, given life for ever".[64][65]
  5. Stela CG 1433, Egyptian Museum, Cairo.[76]
  6. A palmiform column is a column whose capital has the form of palm leaves. This style is for example present in the mortuary complex of king Sahure.[77]
  7. Iput held the title of z3t nswt-bjtj, which literally means "Daughter of the king of Upper and Lower Egypt". However, this title could equally well be a variant of z3t-ntjr, meaning that she was the mother of a king (Pepi I)[50]
  8. Inbu-Hedj means "White Walls".[86]
  9. From "Mennefer", meaning "Perfect and enduring", the name of the pyramid of Pepi I next to which Mennefer was located.[86]
  10. Another important religious work, the Memphite Theology, may have been written during the reign of Unas.[72] The Memphite Theology is a story of the creation of the world and of the religious and social order of ancient Egypt through the word and will of the god Ptah. The king himself is described as the personified Horus and an aspect of Ptah.[98] It is now widely believed, however, that this theological text dates to either to the 19th Dynasty or to the much later 25th Dynasty (760–656 BC).[99][100]
  11. Note that the archaic style of certain sections of the Pyramid Texts indicate that these are much older than Unas' reign.[106]
  12. The number reported differs from scholar to scholar. Clayton mentions 228 spells;[108] Allen gives 236.[107]
  13. While most historians believe that it is unlikely that Unas himself engaged in cannibalism, the Egyptologist Ernest Alfred Wallis Budge proposed that the Cannibal Hymn may harken back to an earlier time in Egyptian history when cannibalism was in fact practiced.[115]
  14. This inspired the American technical death metal band Nile, which recorded an 11:43-long song titled "Unas, Slayer of the Gods" based on the Cannibal Hymn. It appears on their 2002 album In Their Darkened Shrines.[116]
  15. Unasemsaf means "Unas is his protection".

บรรณานุกรม


  1. Proposed dates for Unas' reign: 2404-2374 BC,[1][2] 2375-2345 BC,[3][4][5][6] 2367-2347 BC,[7] 2353-2323 BC,[8] 2342-2322 BC,[9] 2321-2306 BC[10] 2312-2282 BC.[11]