ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 2"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== พินเทอเรสต์ ==
== พินเทอเรสต์ ==
'''พินเทอเรสต์''' ({{lang-en|Pinterest}}) เป็นเครื่องมือที่ผู้คนใช้เก็บรวบรวมแนวความคิดสำหรับโครงการต่าง ๆ ที่พวกเขาสนใจ ผู้คนสามารถสร้างและแบ่งปันของที่สะสมไว้ (ที่เป็น "บอร์ด"){{โครงส่วน}}
'''พินเทอเรสต์''' ({{lang-en|Pinterest}})


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง|30em}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{commonscat|Pinterest|พินเทอเรสต์}}
* {{official website|http://www.pinterest.com}}
* [http://www.newstrail.com/category/technology/pinterest/ Pinterest news headlines]—Aggregates Pinterest news into relevant categories]

[[:หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนแอนดรอยด์]]

[[:หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนไอโอเอส]]

[[:หมวดหมู่:บริการเครือข่ายสังคม]]


[[:en:Pinterest]]
[[:en:Pinterest]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:29, 14 มิถุนายน 2557

Coming Soon

Welcome to my sandbox :D

เรื่องที่เขียนในระยะนี้

กระบะทราย : 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
พูดคุย

พินเทอเรสต์

พินเทอเรสต์ (อังกฤษ: Pinterest) เป็นเครื่องมือที่ผู้คนใช้เก็บรวบรวมแนวความคิดสำหรับโครงการต่าง ๆ ที่พวกเขาสนใจ ผู้คนสามารถสร้างและแบ่งปันของที่สะสมไว้ (ที่เป็น "บอร์ด")

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนแอนดรอยด์

หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์บนไอโอเอส

หมวดหมู่:บริการเครือข่ายสังคม

en:Pinterest

หัวหน้าผู้ฝึกสอน

หัวหน้าผู้ฝึกสอน (head coach), ผู้ฝึกสอนชุดใหญ่ (senior coach) หรือ ผู้จัดการ (manager) เป็นผู้ฝึกสอนและพัฒนานักกีฬาระดับอาชีพ พวกเขาจะเป็นที่รู้จักในระดับสาธารณะและมักจะได้รับเงินมากกว่าผู้ฝึกสอนอื่น ในกีฬาบางชนิด อย่างเช่นฟุตบอล หัวหน้าผู้ฝึกสอนมักจะได้รับการเรียกว่าผู้จัดการฟุตบอล ในขณะที่กีฬาอื่น อย่างเช่นฟุตบอลกติกาออสเตรเลีย โดยทั่วไปจะเรียกว่าผู้ฝึกสอนชุดใหญ่

ผู้ฝึกสอนอื่นมักจะเป็นผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาของหัวหน้าผู้ฝึกสอน โดยมักจะอยู่ในตำแหน่งรุกและตำแหน่งรับ และบางครั้งก็ดำเนินงานเป็นผู้ฝึกสอนรายบุคคล

อเมริกันฟุตบอล

หัวหน้าผู้ฝึกสอนอเมริกันฟุตบอลมีความรับผิดชอบที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับระดับของกีฬาของพวกเขาที่ได้รับการฝึก

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนกีฬา

หมวดหมู่:การฝึกอบรม

en:Head coach

มะเร็งผิวหนังในสุนัขและแมว

เนื้องอกผิวหนัง ทั้งเนื้องอกไม่เป็นอันตราย (ที่ไม่เป็นมะเร็ง) และก้อนเนื้อร้าย (ที่เป็นมะเร็ง) ที่มีอยู่ ประมาณ 20-40 เปอร์เซ็นต์ของเนื้องอกผิวหนังหลักเป็นก้อนเนื้อร้ายในสุนัข และ 50-65 เปอร์เซ็นต์เป็นก้อนเนื้อร้ายในแมว ซึ่งไม่ได้เป็นทุกรูปแบบของโรคมะเร็งผิวหนังในสุนัขและแมวที่เกิดจากแสงแดด แต่มันสามารถเกิดขึ้นได้ในบางครั้ง โดยในสุนัข จมูกและเท้าจะมีลักษณะผิวที่แพ้ง่ายซึ่งไม่มีขนที่ป้องกันจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับแมวและสุนัขที่มีความบอบบางและขนสีอ่อน ซึ่งมีความเสี่ยงสูงขึ้นของการได้รับอันตรายจากแสงอาทิตย์ที่ผ่านสู่ร่างกายทุกส่วนของพวกมัน[1]

การวินิจฉัย

โดยปกติ ทั้งเซลล์วิทยาหรือการวิเคราะห์ทางจุลพยาธิวิทยาของก้อนที่น่าสงสัยจะได้รับการพบก่อนที่จะเริ่มทำการรักษา การตรวจวินิจฉัยที่ใช้กันทั่วไปสำหรับเนื้องอกผิวหนังจใช้วิธีการตรวจเซลล์ผิดปกติจากเนื้อเยื่อและการตัดเนื้อออกตรวจ[2]

การรักษา

อ้างอิง

  1. "Dogs and Skin Cancer". WebMD. สืบค้นเมื่อ 28 September 2011.
  2. Withrow SJ, MacEwen EG, eds (2001). Small Animal Clinical Oncology (3rd ed. ed.). W.B. Saunders Company. {{cite book}}: |author= มีชื่อเรียกทั่วไป (help); |edition= has extra text (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:เนื้องอกผิวหนัง

en:Skin cancer in cats and dogs

เวนเดล โรช

เวนเดล โรช (ดัตช์: Wendell Roche; 13 เมษายน ค.ศ. 1971 — ) เป็นนักสู้ผู้ใช้วิชามวยไทยรุ่นเฮฟวี่เวทชาวดัตช์-กือราเซา เขาเป็นผู้ประสบความสำเร็จได้อย่างเหลือเชื่อ โดยเป็นนักสู้เพียงคนเดียวที่สามารถเป็นฝ่ายชนะคินที เฟรเด

ผลงานในระดับอาชีพ

รายการที่ชนะ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

{{lifetime}}

หมวดหมู่:คิกบ็อกเซอร์ชาวดัตช์

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวกือราเซา

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวดัตช์

en:Wendell Roche

เทียบู

B20180/กระบะทราย 2
อักษรจีนตัวเต็ม程武
อักษรจีนตัวย่อ程武

เทียบู (จีน: 程武; อังกฤษ: Cheng Wu; ค.ศ. 201 — ?) เป็นนักการเมืองแห่งวุยก๊กสมัยยุคสามก๊ก ซึ่งมีตัวตนในประวัติศาสตร์จีน เขาเป็นบุตรชายของเทียหยก โดยเทียบูได้ทำหน้าที่ภายใต้การบัญชาการของแฮหัวหลิมครั้งหนึ่งในการต่อต้านการบุกรุกของทัพจ๊กก๊ก เขาเสนอกลยุทธให้แก่แฮหัวหลิม ในการล่อให้จูล่งต้องตกอยู่ในกับดัก แต่จูล่งก็สามารถทำการต่อสู้หาทางออกมาได้ เทียบูยังเป็นผู้ให้คำแนะนำให้แก่แฮหัวหลิมในการซุ่มโจมตีจูล่ง ซึ่งเทียบูได้มาเป็นบุคคลที่มีความโดดเด่นของวุยก๊กในปีต่อมา

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 744

หมวดหมู่:บุคคลที่ยังไม่ทราบปีที่เสียชีวิต

หมวดหมู่:วุยก๊ก

{{โครงทหาร}}

en:Cheng Wu

โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ

โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ (ญี่ปุ่น: 柳本晶一; อังกฤษ: Shoichi Yanagimoto; 5 มิถุนายน ค.ศ. 1951 — ) เป็นอดีตนักกีฬาวอลเลย์บอลชาวญี่ปุ่น (วอลเลย์บอลชายทีมชาติญี่ปุ่น) โดยเป็นผู้นำของทีม ที่ทำหน้าที่ในตำแหน่งมือเซต ซึ่งมีส่วนสูงที่ 182 ซม. ในเวลาต่อมา เขาได้ทำหน้าที่เป็นผู้ฝึกสอนให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น ซึ่งได้รับการยกย่องจากสื่อมวลชนว่า เป็นผู้พลิกฟื้นให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น

ประวัติ

โชอิชิ ยะนะกิโมะโตะ มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่โอซะกะ จังหวัดโอซะกะ[1] เขาเคยเป็นผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอล ให้แก่วอลเลย์บอลชายทีมชาติไทย ซึ่งรวมถึงเกียรติพงษ์ รัชตเกรียงไกร (โค้ชอ๊อต) และปิยะ ศรีสมุทรนาค (โค้ชยะ)[2] และในภายหลัง เขาได้ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าผู้ฝึกสอนให้แก่วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น ก่อนที่จะได้รับการแทนที่โดยมะซะโยะชิ มะนะเบะ[3]

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • 力を引き出す : どん底から個人と組織を甦らせる(PHP研究所) ISBN 4569640958
  • 人生、負け勝ち(幻冬舎) ISBN 4344007298

อ้างอิง

{{lifetime}}

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนวอลเลย์บอล

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนทีมชาติ

หมวดหมู่:บุคคลจากโอซะกะ

ja:柳本晶一

ดาม ศรีจันทร์

ดาม ศรีจันทร์ เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทย

เกียรติประวัติ

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

หมวดหมู่:นักมวยสากลชาวไทย

หมวดหมู่:นักคาราเต้ชาวไทย

หมวดหมู่:นักเทควันโดชาวไทย

หมวดหมู่:คิกบ็อกเซอร์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาทีมชาติไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญเงินซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองแดงซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนมวยไทย

หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทย

หมวดหมู่:นักแสดงสังกัดช่อง 7

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดนครราชสีมา

หมวดหมู่:บุคคลจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

หมวดหมู่:บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ภ.

เวเจทาเรียนไทมส์

เวเจทาเรียนไทมส์ (อังกฤษ: Vegetarian Times) เป็นนิตยสารรายเดือนที่ได้รับการจัดพิมพ์เก้าครั้งต่อปี (สามเดือนต่อสองฉบับ) โดยครัซเบย์พับลิชชิงอิงค์ และผู้อ่านนิตยสารประกอบด้วยผู้ทานมังสวิรัติและ"มังสวิรัติแบบยืดหยุ่น"ซึ่งมุ่งเน้นไปสู่การดำเนินชีวิตที่มีสุขภาพดี เวเจทาเรียนไทมส์ให้การส่งเสริมวิถีชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยตำรับ, ข้อมูลสุขภาพ, เทคนิคการทำอาหาร และข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์"สีเขียว" ถึงกระนั้น ครึ่งหนึ่งของผู้อ่านไม่ได้ปฏิบัติตามรูปแบบของอาหารมังสวิรัติอย่างเคร่งครัด[1]

ประวัติ

หลังจากที่ประสบความสำเร็จในความพยายามที่จะขายบทความที่เขียนเกี่ยวกับการไม่รับประทานเนื้อสัตว์โดยใช้ชื่อ "เป็นมังสวิรัติคุณจะไม่มีวันกล่าวขออภัย – ให้แก่วัว" ใน ค.ศ. 1974 พอล โอบิส ซึ่งเป็นผู้ก่อตั้งได้ใส่ข่าวแถลงสี่หน้าและได้เรียกมันว่าเวเจทาเรียนไทมส์ เขาทำสำเนา 300 ชุด และออกฉบับแรกให้แก่ผู้สมัครสมาชิกสองราย[2]

เมื่อนิตยสารนี้มีอายุได้เจ็ดสิบปี ได้มีการเพิ่มจำนวนหน้าตั้งแต่ 4 หน้า ไปเป็น 16 ถึง 24 หน้า และได้รับการตีพิมพ์ครั้งละประมาณ 1,000–2,000 ฉบับ โดยในปี ค.ศ. 1977 ซึ่งเป็นช่วงหลังจากเล่ม 19 เวเจทาเรียนไทมส์ ได้รับการตีพิมพ์เป็นรายสองเดือนและมีผู้อ่านที่ 10,000 คน[2] หลังจากการจัดทำและจัดจำหน่ายจากบ้านของเขา โอบิสได้ขอเผยแพร่และขายหุ้นของตัวเอง 80 เปอร์เซนต์ให้แก่สำนักพิมพ์นิวยอร์กที่ชื่อแอสโซซิเอทบิสิเนสพับลิเคชัน (เอบีพี) เพื่อแลกกับหนี้สินมูลค่า 60,000 ดอลลาร์กับจดหมายที่ยังไม่ได้เปิดสองถุงและเห็นด้วยที่จะให้ดำเนินการจัดพิมพ์ต่อ[2]

ในช่วงที่เอบีพีได้มาเป็นเจ้าของนิตยสาร โอบิสยังคงทำหน้าที่เป็นบรรณาธิการต่อ ใน ค.ศ. 1985 ได้ซื้อนิตยสารคืนจากเอบีพีด้วยจำนวนเงิน 276,000 ดอลลาร์ เพื่อนที่เก่าแก่ของโอบิสที่ชื่อเฟรด โรเจอร์ส (หรือ"มิสเตอร์โรเจอร์ส") ได้ให้การช่วยเหลือด้านเงินทุนและได้กลายเป็นผู้ถือหุ้นเสียงข้างน้อย ในขณะที่โอบิสเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เวเจทาเรียนไทมส์เติบโตอย่างรวดเร็วภายใต้การบริหารของโอบิส โดยมียอดจำหน่ายเพิ่มขึ้นจาก 10,000 เล่มถึงกว่า 250,000 เล่มใน ค.ศ. 1990 และในปีดังกล่าว โอบิสได้ขายกิจการนิตยสารให้แก่คาวล์สมีเดีย ซึ่งเป็นเจ้าของมินนีแอโพลิสสตาร์ทริบูน ด้วยจำนวนเงิน 10 ล้านดอลลาร์

ใน ค.ศ. 2003 สำนักพิมพ์แอคทีฟอินเทอร์เรสต์มีเดียได้ซื้อสิ่งพิมพ์จากคาวล์สมีเดียและเริ่มจัดพิมพ์ใหม่ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2004 เมื่อครั้งครบรอบปีที่ 30 ของนิตยสาร หลังจากการลงทุนอย่างมีนัยสำคัญ และได้มีการยกเครื่องบรรณาธิการใหม่[1] นิตยสารขยายเนื้อหาครอบคลุมไม่เพียงเฉพาะด้านมังสวิรัติแบบเคร่งครัดเท่านั้น หากแต่ให้ผู้คนได้เห็นถึงวิถีการดำเนินชีวิตที่แข็งแรง และตำรับอาหารเพื่อสุขภาพ เอบีพีได้ปรับเปลี่ยนนิตยสารเป็นมาเป็นสิ่งพิมพ์รายเดือนและเพิ่มการโฆษณาจากที่แทบจะไม่มีมาเป็น 15 ถึง 20 หน้าต่อต่อฉบับ ยอดจำหน่ายได้มีการเติบโตและรายได้เพิ่มขึ้นยี่สิบครั้งไปถึงกว่า 1 ล้านดอลลาร์[1] แม้จะมีการเจริญเติบโต ทางวารสารก็ยังคงสูญเสียเงิน ใน ค.ศ. 1985 เอบีพีที่ได้สิ่งพิมพ์ใหม่และได้ตัดสินใจ

เนื้อหา

ช่วงปี ค.ศ. 2008 เวเจทาเรียนไทมส์

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 1.2 Shields, Michael (5 August 2004). "Mag Rack: Vegetarian Times, Organic Style, AARP". Media Daily News. Media Post News. สืบค้นเมื่อ 13 July 2010.
  2. 2.0 2.1 2.2 Henderson, Harold (10 December 1987). "These are Vegetarian Times: And the world's leading meatless magazine, based in Oak Park, is starting to rake in the green stuff". Chicago Reader. สืบค้นเมื่อ 13 July 2010.

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:นิตยสารอเมริกัน

หมวดหมู่:นิตยสารรายเดือน

en:Vegetarian Times

ฟุตบอลชายหาดทีมชาติโปรตุเกส

ทีมชาติโปรตุเกสในการแข่งขันฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก 2006

ฟุตบอลชายหาดทีมชาติโปรตุเกส (โปรตุเกส: Selecção Portuguesa de Futebol de Praia) เป็นตัวแทนทีมชาติโปรตุเกสในการแข่งฟุตบอลชายหาดระหว่างประเทศ และทีมนี้ได้รับการควบควบคุมโดยสหพันธ์ฟุตบอลโปรตุเกส ซึ่งเป็นองค์กรกีฬาฟุตบอลในประเทศโปรตุเกส ทีมนี้ยังเป็นทีมแรกที่สามารถทำให้ทีมชาติบราซิลหลุดพ้นออกจากการเป็นแชมป์ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก โดยสามารถทำได้ในปี ค.ศ. 2001 และใน ค.ศ. 2005 ในรอบรอง รวมถึงเป็นเพียงทีมเดียวที่ทำเช่นนี้ได้ถึงถิ่นเจ้าภาพบราซิล ที่ซึ่งเกิดขึ้นได้ยากถึงสองครั้ง ปัจจุบัน ทีมฟุตบอลชายหาดโปรตุเกสได้รับการจัดให้อยู่ในอันดับ 3 ของโลก

ทีมปัจจุบัน

อิงจากเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2013

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK โปรตุเกส โฌ การ์ลูส
2 DF โปรตุเกส ฮุย คอยม์บรา
3 DF โปรตุเกส ลูเซียว การ์มู
4 DF โปรตุเกส บรูโน ตัวร์เฮส
5 MF โปรตุเกส จอร์แดน ซังตูส
7 MF โปรตุเกส มัดเชียร์
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
9 FW โปรตุเกส บรูโน โนโฟ
10 FW โปรตุเกส นูโน เบลซีออร์
14 MF โปรตุเกส โจเซ มาเรีย
16 DF โปรตุเกส นูโน ตาฟารีส
12 GK โปรตุเกส เปาโล กราซา
22 GK โปรตุเกส นูโน อีดาลโก

ผู้ฝึกสอน: โปรตุเกส มาริโอ นาร์ซีโซ
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน: โปรตุเกส ลุยส์ บิลโร และ โปรตุเกส เทียโก เฮส

ผู้เล่นที่มีผลงานโดดเด่น

2007

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

โปรตุเกส

{{โครงฟุตบอล}}

en:Portugal national beach soccer team

ศศิธร หงษ์ประเสริฐ

ศศิธร หงษ์ประเสริฐ
ข้อมูลส่วนบุคคล
สัญชาติ ไทย
เกิด13 มิถุนายน พ.ศ. 2527 (40 ปี)
กรุงเทพ ประเทศไทย
ส่วนสูง1.65 m (5 ft 5 in)
น้ำหนัก57 กก. (126 lb)
กีฬา
กีฬายิงปืน
ประเภทปืนยาวอัดลม 10 เมตร (AR40)
ปืนยาว 3 ท่า 50 เมตร (STR3X20)
รายการเหรียญรางวัล

ศศิธร หงษ์ประเสริฐ เกิดวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2527 ที่กรุงเทพมหานคร เป็นนักกีฬายิงปืนชาวไทย[1]

อ้างอิง

  1. Evans, Hilary; Gjerde, Arild; Heijmans, Jeroen; Mallon, Bill; และคณะ. "Sasithorn Hongprasert". Olympics at Sports-Reference.com. Sports Reference LLC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-12-04. สืบค้นเมื่อ 10 January 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักกีฬายิงปืนชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาโอลิมปิกทีมชาติไทย

หมวดหมู่:นักยิงปืนในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาจากกรุงเทพมหานคร

{{โครงชีวประวัติ}}

en:Sasithorn Hongprasert

ลูซซูเรีย

ลูซซูเรีย (ルッスーリア)
ตัวละครใน ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!
ไฟล์:ลูซซูเรีย.jpg
ลูซซูเรีย ตัวละครจากการ์ตูนเรื่องครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!
ให้เสียงโดยโคอิจิโร่ ยูซุวะ
ประวัติ
ญาติเป็นหนึ่งในสมาชิกกลุ่มวาเรีย
ข้อมูล
สัญชาติ อิตาลี
ปรากฏตัวครั้งแรก92 (มังงะ)
41 (อนิเมะ)
เกิดวันที่4 เมษายน
ส่วนสูง185 ซม.
น้ำหนัก78 กก.

ลูซซูเรีย (ญี่ปุ่น: ルッスーリア; อังกฤษ: Lussuria) เป็นตัวละครจากการ์ตูนเรื่อง ครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น! พากย์เสียงภาษาญี่ปุ่นโดยโคอิจิโร่ ยูซุวะ ปรากฏตัวครั้งแรกในมังงะตอนที่ 92 และในอนิเมะตอนที่ 41 เป็นผู้ใช้วิชามวยไทยในการต่อสู้ ซึ่งอยู่ในกลุ่มของวาเรีย ภาพลักษณ์ของเขาคือมักสวมแว่นกันแดดและมีการสวมเสื้อโค้ทที่มีขนสีส้มอยู่รอบคอ และมีผมเป็นสีน้ำตาลกับปอยผมสีเขียว มีกล้ามเนื้อที่แข็งแกร่ง นอกจากนี้ ลูซซูเรียยังมีเข่าเหล็กที่ข้างซ้ายสำหรับการโจมตีและทำลายคู่ต่อสู้

เนื้อเรื่องย่อ

ลูซซูเรียได้เข้าร่วมทำศึก Sun Ring Battle โดยได้พบกับซาซางาวะ เรียวเฮ แม้ว่าเขาจะใส่แว่นกันแดดในเวทีที่สว่างจ้าด้วยความมั่นใจ แต่เรียวเฮย์ก็สามารถใช้แมกซิมัมแคนนอนทำลายขาโลหะของลูซซูเรียลงได้ จากการที่เขาใช้วิชามวยไทยลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เขาพยายามที่จะสู้ต่อ แต่ถูกยิงกลับโดย Gola Mosca ผู้ซึ่งตัดสินให้ลูซซูเรียเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ เขาได้รับการเปิดเผยว่าจะยังคงมีชีวิตอยู่ระหว่าง Sky Ring Battle จากการถูกบังคับให้เข้าร่วม ซึ่งเรียวเฮย์ยังได้ให้ยาแก้พิษ Death Heater แก่เขาด้วย แม้ว่าจะอยู่ฝ่ายตรงข้ามกับเขาก็ตาม

ฟิวเจอร์อาร์ค

ความสามารถ

ลูซซูเรียคือสมาชิกกลุ่มวาเรียผู้มีความเชี่ยวชาญด้านศิลปะการต่อสู้ มีร่างกายที่แข็งแกร่ง สามารถทำร้ายร่างกายคู่ต่อสู้ด้วยพลังความร้อน รูปแบบการต่อสู้ของเขาเป็นแบบมวยไทยที่ใช้ทั้งแขนและขา รวมทั้งรูปแบบการต่อสู้ของเขายังมีการใช้เข่าเหล็กที่ใช้ป้องกันตัวและสามารถสร้างความเสียหายให้แก่ศัตรู

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{รีบอร์น!}}

{{ตัวละครที่เป็นนักมวยไทย}}

หมวดหมู่:ตัวละครในครูพิเศษจอมป่วน รีบอร์น!

หมวดหมู่:ตัวละครที่เป็นนักมวยไทย

{{โครงการ์ตูน}}

ม้าเวียน

ม้าเวียนแบบทำที่บ้าน

ม้าเวียน (อังกฤษ: roundabout หรือ merry-go-round)

นวัตกรรม

{{โครงของเล่น}}

en:Roundabout (play)

fr:Roundabout (play)

ม้าหมุน

ม้าหมุนในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

ม้าหมุน (อังกฤษ: carousel)

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:ม้าหมุน

en:Carousel

มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์

มูลนิธิ ฮีลเดอะเวิลด์ (อังกฤษ: Heal the World Foundation) เป็นองค์กรการกุศล ที่ก่อตั้งขึ้นโดย ไมเคิล แจ็คสัน ใน ค.ศ. 1992 โดยการจัดมูลนิธิได้รับแรงบันดาลใจมาจากซิงเกิลการกุศลในชื่อเดียวกัน การช่วยเหลือผ่านทางมูลนิธินี้ ไมเคิล แจ็คสัน ได้ส่งพัสดุทางอากาศ 46 ตันสู่ซาราเยโว, การจัดให้มีการศึกษาถึงโทษของยาเสพติดและสารแอลกอฮอล์ และบริจาคเงินนับล้านดอลลาร์สำหรับเด็กด้อยโอกาส รวมถึงการชำระเงินเต็มจำนวนสำหรับการการปลูกถ่ายตับของเด็กๆชาวฮังการี และจากภาวะล้มละลายของแฟ้มงบบัญชีประจำปีทำให้มูลนิธิได้รับการยกเว้นการชำระภาษีในปี ค.ศ. 2002 สำหรับองค์กรอื่นที่มิได้มีส่วน

โลโก้มูลนิธิฮีลเดอะเวิลด์เป็นไปตามปกซิงเกิลของเพลงเดียวกันนี้

อ้างอิง

{{ไมเคิล แจ็กสัน}}

หมวดหมู่:มูลนิธิ

หมวดหมู่:ไมเคิล แจ็กสัน

{{โครงหน่วยงาน}}

en:Heal the World Foundation

es:Heal the World Foundation

fa:بنیاد دنیا را التیام بده

it:Heal the World Foundation

pt:Fundação Heal the World

fi:Heal the World Foundation

tr:Heal the World Vakfı

zh:治愈世界基金会

หมัดงู

หมัดงู (จีน: 蛇拳; อังกฤษ: Snake Kung Fu)

ในวัฒนธรรมร่วมสมัย

อ้างอิง

หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของจีน

en:Snake Kung Fu

es:Kung Fu de la Serpiente

fr:She quan

it:Shequan

zh:蛇拳

พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย

พิพิธภัณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทย (อังกฤษ: Bank of Thailand Museum)

การจัดแสดง

อ้างอิง

{{coord}}

หมวดหมู่:พิพิธภัณฑ์ในกรุงเทพมหานคร

{{โครงสถานที่}}

en:Bank of Thailand Museum

พอยท์แบลงค์

พอยท์แบลงค์
ผู้พัฒนาZepetto
ผู้จัดจำหน่าย เกาหลีใต้: NCsoft
 รัสเซีย: Innova Systems
 ตุรกี: Nfinity Games
 ไทย: hitsplay
 อินโดนีเซีย: Gemscool
 บราซิล: Bwin.Party Digital Entertainment
 เปรู: Kaybo
 สหรัฐ: SG Interactive
 ฟิลิปปินส์: E-Games
 จีน: Shanda Games
เอนจินICube
เครื่องเล่นไมโครซอฟท์ วินโดวส์
วางจำหน่าย เกาหลีใต้: ตุลาคม ค.ศ. 2008
 ไทย: กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2009
 อินโดนีเซีย: กรกฎาคม ค.ศ. 2009
 รัสเซีย: 4 ธันวาคม ค.ศ. 2009
 บราซิล: 3 สิงหาคม ค.ศ. 2010
 ตุรกี: 10 สิงหาคม ค.ศ. 2010
 เปรู: 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 2010
 สหรัฐ: 10 ธันวาคม ค.ศ. 2010
 ฟิลิปปินส์: 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2011
 จีน:
แนวเกมยิงมุมมองบุคคลที่หนึ่ง
รูปแบบวิดีโอเกมผู้เล่นคนเดียว
วิดีโอเกมหลายผู้เล่น

พอยท์แบลงค์ (เกาหลี: 포인트 블랭크; อังกฤษ: Point Blank) เป็นเกมออนไลน์ยุทธวิธียิงปืนมุมมองบุคคลที่หนึ่งที่ได้รับการพัฒนาโดย Zepetto ซึ่งเป็นบริษัทในประเทศเกาหลีใต้

รูปแบบการเล่น

พอยท์แบลงค์เป็นเกมยิงก้าวเท้าอย่างรวดเร็วในมุมมองบุคคลที่หนึ่ง ซึ่งมีลักษณะคล้ายกันกับเคาน์เตอร์-สไตรก์มากในแง่ของการเล่น

การพัฒนา

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

หมวดหมู่:เกมออนไลน์

หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่พัฒนาขึ้นในประเทศเกาหลีใต้

{{โครงเกม}}

{{Link FA}}

en:Point Blank (2008 video game)

เซนต์เซย์ย่า ภาคโหมโรงสู่ภาคสวรรค์

B20180/กระบะทราย 2
กำกับชิเงยาสุ ยามาอุจิ
เขียนบทบทภาพยนตร์:
มิชิโกะ โยโกเตะ
อากาสุกิ ยามาโทยะ
เรื่องต้นฉบับ:
มาซามิ คุรุมาดะ
นักแสดงนำโทรุ ฟุรุยะ
เคย์โก ฮัง
ยุริกะ ฮิโนะ
ฮิกะรุ มิโดริกะวะ
ตัดต่อชิเกะรุ นิชิยะมะ
ดนตรีประกอบเซอิจิ โยะโกะฮะมะ
บริษัทผู้สร้าง
ผู้จัดจำหน่ายโตเอคอมพานี
วันฉายญี่ปุ่น 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004
บราซิล 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2006
อิตาลี 24 มกราคม ค.ศ. 2009
ความยาว85 นาที
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ภาษาญี่ปุ่น
ก่อนหน้านี้Saint Seiya: Warriors of the Final Holy War

เซนต์เซย์ย่า ภาคโหมโรงสู่ภาคสวรรค์ (ญี่ปุ่น: 聖闘士星矢 天界編 序奏 〜overture〜; อังกฤษ: Saint Seiya Heaven Chapter: Overture) เป็นภาพยนตร์อนิเมชัน ค.ศ. 2004 ที่ดัดแปลงมาจากอะนิเมะและมังงะซีรีส์เซนต์เซย์ย่า กำกับโดย ชิเงยาสุ ยามาอุจิ เขียนบทโดย มิชิโกะ โยโกเตะ และ อากาสุกิ ยามาโทยะ ภาพยนตร์ชุดนี้เปิดตัวครั้งแรกในโรงภาพยนตร์ของญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2004

โครงเรื่อง

ตัวละครใหม่

อาร์เทมิส (アルテミス)
พากย์โดย: ยูกิระ ฮิโนะ
อพอลโล (アポロン)
พากย์โดย: คาสุฮิโระ ยามะจิ

แองเจิ้ล

เหล่าแองเจิ้ล (天闘士) ต่างได้รับเลือก

อิคารอส (イカロス)
พากย์โดย: ฮิคารุ มิโดริคาวะ
โอดิซุส (オデュッセウス)
พากย์โดย: ฮิโรกิ ทาคาฮาชิ
เธเซอุส (テセウス)
พากย์โดย: โทะชิยุกิ โมะริกะวะ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{เซนต์เซย์ย่า}}

หมวดหมู่:เซนต์เซย์ย่า

หมวดหมู่:อะนิเมะที่ออกฉายในปี พ.ศ. 2547

หมวดหมู่:การ์ตูนญี่ปุ่นแนวเซเน็น

{{โครงการ์ตูน}}

en:Saint Seiya Heaven Chapter: Overture

es:Saint Seiya Tenkai-hen ~Overture~

fr:Tenkai-hen Josō : Overture

it:Le porte del paradiso

ja:聖闘士星矢 天界編 序奏〜overture〜

pl:Saint Seiya: Niebiański Rozdział – Uwertura

pt:Prólogo do Céu

มหาวิทยาลัยออสโล

en:University of Oslo

ฮวาง อินซิก

ฮวาง อินซิก
ไฟล์:ฮวาง อินซิก.jpg
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิด13 กันยายน พ.ศ. 2483 (83 ปี)
อาชีพนักแสดง
ไฟล์:ฮวาง อินซิก กับ บรูซ ลี.jpg
ฉากการต่อสู้ระหว่างฮวาง อินซิก กับบรูซ ลี ในไอ้หนุ่มซินตึ๊ง บุกกรุงโรม

ฮวาง อินซิก (เกาหลี: 황인식; อังกฤษ: Hwang In-Shik)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{lifetime}}

en:Hwang In-Shik

จี ฮันแจ

จี ฮันแจ
สารนิเทศภูมิหลัง
เกิดค.ศ. 1936 (อายุ 87–88 ปี)
อันดง จังหวัดคย็องซังเหนือ ประเทศเกาหลีใต้
อาชีพนักแสดง
ไฟล์:จี ฮันแจ กับ บรูซ ลี.jpg
ฉากการต่อสู้ระหว่างจี ฮันแจ กับบรูซ ลี ในไอ้หนุ่มซินตึ๊ง เกมมังกร

จี ฮันแจ (เกาหลี: 지한재; อังกฤษ: Ji Han-Jae)

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

{{lifetime}}

en:Ji Han-Jae

ชาวบราซิล

ชาวบราซิล
(Brasileiros)

แถวที่ 1: Pedro II of Brazil • Duke of Caxias • Machado de Assis
แถวที่ 2: Alberto Santos Dumont • เปเล่ • อาอีร์ตง เซนนา
แถวที่ 3: จิเซล บุนเชน • Sérgio Vieira de Mello • Alice Braga
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ธงของประเทศบราซิล บราซิล        190 ล้านคน[1]
 ปารากวัยประมาณ 350,000 คน[2]
 สหรัฐ110,650 คน[3]
 ญี่ปุ่น106,967 คน[4]
ฝรั่งเศส เฟรนช์เกียนาประมาณ 70,000 คน[5]
 สหราชอาณาจักร56,000 คน[6]
 โปรตุเกสประมาณ 55,000 คน[7]
 แองโกลาประมาณ 40,000 คน[8]
 เยอรมนีประมาณ 40,000 คน[9]
 ซูรินามประมาณ 40,000 คน[10]
 สวิตเซอร์แลนด์ประมาณ 40,000 คน[11]
 อาร์เจนตินา34,712 คน[12]
 สเปนประมาณ 30,000 คน[13]
 อิตาลี26,690 คน[14]
 ชิลีประมาณ 15,000 คน
 แคนาดาประมาณ 7,000 คน
 เนเธอร์แลนด์ประมาณ 2,000 คน[15]
ภาษา
โปรตุเกส (99%)
Indigenous languages (0.2%)
เยอรมัน (Hunsrückisch, Pomeranian และ Plautdietsch) (0.8%)
ศาสนา
อย่างเด่นคือ โรมันคาทอลิก (68%)
โปรเตสแตนต์ (19%)
ไม่มีศาสนา (7.4%)
ลัทธิเจตนิยม (1.3%)
อิสลาม (0.5%)
Afro-Brazilian religions (0.3%)
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
ชาวโปรตุเกส • Italian • Latin Americans • Africans • Indigenous peoples • Japanese • Brasiguayos • Other Lusophone peoples • German  • Other Europeans

ชาวบราซิล (โปรตุเกส: Brasileiros; อังกฤษ: Brazilian people) หมายรวมถึงผู้คนทั้งหมดที่เกิดในประเทศบราซิล และชาวบราซิลยังรวมถึงบุคคลที่เกิดในต่างประเทศโดยมีพ่อแม่เป็นชาวบราซิล หรือชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในประเทศบราซิลจนได้รับสิทธิการเป็นพลเมืองของประเทศบราซิล

ชาวบราซิล

ตามรัฐธรรมนูญแห่งประเทศบราซิล ระบุว่าชาวบราซิลคือ:

ตามรัฐธรรมนูญ ประชาชนทุกคนที่ถือสัญชาติของประเทศบราซิลต่างมีสิทธิเท่าเทียมกัน โดยมิคำนึงถึงเผ่าพันธุ์, เชื้อชาติ, เพศ หรือศาสนา[17]

อ้างอิง

  1. "Censo aponta 190,7 milhões de brasileiros em 2010". G1. สืบค้นเมื่อ 2010-11-29.
  2. "As situation remains tense in Paraguay, Brazilian official calls on Congress to help Brasiguaios". Agência Brasil (Priscilla Mazenotti). สืบค้นเมื่อ 2012-03-12.
  3. "Detailed Tables – American FactFinder". Factfinder.census.gov. สืบค้นเมื่อ 2011-12-29.
  4. 平成19年末現在における外国人登録者統計について. moj.go.jp
  5. G1 > Mundo – NOTÍCIAS – Brasileiros tentam a sorte na Guiana Francesa. G1.globo.com. Retrieved on 2012-05-19.
  6. Agnieszka Kubal, Oliver Bakewell and Hein de Haas (International Migration Institute, University of Oxford) The Evolution of Brazilian Migration to the UK. Scoping Study Report (January 2011)
  7. "Imigração Brasileira em Portugal". Lusotopia (Carlos Fontes). สืบค้นเมื่อ 2011-12-03. (โปรตุเกส)
  8. Angola, Brazil: A culture shock divide · Global Voices. Globalvoicesonline.org (2012-05-15). Retrieved on 2012-05-19.
  9. Swapping Caipirinhas for Currywurst: Immigration from Brazil to Germany Is on the Rise. Spiegel.de (2005-09-09). Retrieved on 2012-05-19.
  10. Guyana: Caught in Brazil's Net?; Small Nation, New to Free Markets, Fears Loss of Its Identity – New York Times. Nytimes.com (2000-03-30). Retrieved on 2012-05-19.
  11. "Brasileiros na Suíça buscam melhor organização". Swissinfo.ch (Swiss Broadcasting Corporation). สืบค้นเมื่อ 2008-01-21. (โปรตุเกส)
  12. Población extranjera empadronada en el país por lugar de nacimiento, según sexo y grupos de edad. Año 2001. indec.mecon.ar
  13. Avance del Padrón Municipal a 1 de enero de 2008. Datos provisionales. INE.es (2008-01-28) . Retrieved on 2012-05-19.
  14. [1].
  15. "CBS Statline". Centraal Bureau voor de Statistiek. สืบค้นเมื่อ 2009-11-27.
  16. Fuente: Instituto Nacional de Estadística. Revisión del Padrón municipal 2001. Población extranjera por sexo, país de nacionalidad y edad.
  17. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ autogenerated1

แหล่งข้อมูลอื่น

en:Brazilian people