นักมวยไทย
นักมวยไทย หมายถึงนักมวยในกีฬามวยไทย จนถึงปัจจุบันนี้ มีนักมวยไทยจากค่ายมวยไทยมากมายทั้งในประเทศและต่างประเทศ มีสถาบันฝึกสอนนักมวยไทยทั้งที่เป็นสำนักเรียน สถาบันการพลศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนวิชามวยไทยในระดับปริญญาตรี และปริญญาโท ซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บ้านจอมบึงได้มีโครงการจัดสอนถึงระดับปริญญาเอก[1] รวมถึงมีองค์กรส่งเสริมควบคุมมาตรฐานและการจัดการแข่งขันมวยไทยระดับชาติและนานาชาติ มีกฎหมายในการควบคุมและคุ้มครองการจัดชกมวย
ทั้งนี้ ฉายาของนักมวยไทย มักมีที่มาจากในหลายลักษณะ อาทิ ลักษณะการชก ความแข็งแกร่ง ความสามารถ และอาจรวมถึงเอกลักษณ์เฉะพาะตัว หรือในบางครั้ง อาจตั้งตามกระแสสังคม หรือ นำมาจากผู้มีชื่อเสียงในวงการต่างๆ เช่น การเมือง บันเทิง กีฬา มาเป็นแบบอย่าง[2] โดยทั่วไปในปัจจุบัน เครื่องแต่งกายของนักมวยไทยจะสวมกางเกงขาสั้น และมีการสวมใส่นวม มีประเจียดรัดต้นแขน และมงคลสวมศีรษะขณะทำการไหว้ครูรำมวย
นักมวยไทยมีชื่อเสียง[แก้]
นักมวยไทยในประวัติศาสตร์[แก้]
|
ก่อน พ.ศ. 2499[แก้]
|
|
พ.ศ. 2499 - พ.ศ. 2520[แก้]
|
|
พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2540[แก้]
พ.ศ. 2540 - ปัจจุบัน[แก้]
ดูเพิ่ม[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ ปริญญาเอกมวยไทยแห่งแรก ม.ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
- ↑ สมบัติ สวางควัฒน์. (2554). ย้อนตำนานแวดวงมวยไทย จากอดีตถึงปัจจุบัน. สำนักพิมพ์ ก้าวแรก. ISBN 978-616-7446-13-4. หน้า 178-183
- ↑ มวยไทย กับ ฝรั่ง สมัย ร.1
- ↑ นักมวยไทย จอมล้มยักษ์ ก้าวไกล แก่นนรสิงห์
- ↑ ประวัตินักมวยไทย สกัดเพชร อินแกรมยิม
- ↑ ซีอุยหลั่งเลือดเชือดขวัญเมืองเดือดมวย 7 สี
- ↑ อันดับนักมวยสภามวยไทยโลก
- ↑ "อภิสิทธิ์"เฮศึกอัศวิน
- ↑ F-16 rises up to down champion Kongsak (อังกฤษ)
- ↑ มาลัยเพชรชนะหืดขึ้นคอ มวยหญิงแพ้ค้านสายตา
- ↑ Big Ben Wins Welterweight Crown (อังกฤษ)
- ↑ 10 ยอดมวยแห่งสยามปี 2554. มวยสยามรายวัน. ปีที่ 19 ฉบับที่ 6695. วันพฤหัสบดีที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2554. หน้า 16
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ นักมวยไทย