วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น
![]() | |||
สมาคม | สมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น | ||
---|---|---|---|
สมาพันธ์ | สมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | คุมิ นากาดะ[1] | ||
อันดับเอฟไอวีบี | ? (ณ เดือนตุลาคม ค.ศ. 2018) | ||
เครื่องแบบ | |||
| |||
โอลิมปิกฤดูร้อน | |||
เข้าแข่งขัน | 11 สมัย | ||
ชิงแชมป์โลก | |||
เข้าร่วมแข่งขัน | 13 สมัย (ครั้งแรกใน 1960) | ||
ผลการแข่งที่ดีที่สุด | ![]() | ||
www.jva.or.jp (ญี่ปุ่น) |
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: バレーボール全日本女子; อังกฤษ: Japan women's national volleyball team หรือ All-Japan women's volleyball team) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งปัจจุบันอยู่ในอันดับ 6 ของโลก โดยสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ[2] และมีหัวหน้าผู้ฝึกสอนคนปัจจุบันคือคุมิ นากาดะ[1]
หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของทีมคือชนะการแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ที่กรุงโตเกียว โดยทีมชาติญี่ปุ่นเป็นฝ่ายชนะทีมชาติสหภาพโซเวียตและได้รับรางวัลเหรียญทอง[3]
ทีมชาติญี่ปุ่นได้รับเลือกให้เข้าแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2004 จากการเป็นฝ่ายชนะรอบคัดเลือกทีมโอลิมปิกหญิง ตั้งแต่วันที่ 8 ถึง 16 พฤษภาคม ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และที่กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ ทีมดังกล่าวได้อันดับห้าจากการแข่งขัน
และในการแข่งขันวอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย 2013 ทีมชาติญี่ปุ่นได้พบกับทีมชาติไทย ในรอบชิงชนะเลิศ[4] โดยเป็นฝ่ายแพ้ให้กับทีมชาติไทยที่ 3-0 เซต
ผลงานในกีฬาโอลิมปิก 2012[แก้]
ทีมวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่นผ่านการคัดเลือกในฐานะที่สุดของเอเชีย ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มเอ สายเดียวกับรัสเซียอิตาลี สาธารณรัฐโดมินิกัน สหราชอาณาจักร และแอลจีเรีย และก็ทำผลงานได้ดี เข้ารอบเป็นที่สามของกลุ่มนี้ และในรอบก่อนรองชนะเลิศ ญี่ปุ่น พบกับทีมชาติจีน และเอาชนะไปได้อย่างสนุก 3-2 เซต สร้างปรากฏการณ์ชนะจีนเป็นครั้งแรกในรอบ 11 ปีในการแข่งขันภายใต้สหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และในแมตช์นี้ ซะโอะริ คิมุระ และยุกิโกะ เอะบะตะ ทำคะแนนสูงสุด 33 คะแนนภายในแมตช์นี้แมตช์เดียว หลังจากนั้นก็มาแพ้บราซิล อันดับ 1 ของโลก 0-3 เซต และสุดท้ายในการแข่งขันชิงเหรียญทองแดงกับเกาหลีใต้ ที่ไปชนะอิตาลี อันดับ 4 ของโลกในปัจจุบัน 3-1 เซต ญี่ปุ่นก็สามารถชนะเกาหลีใต้ไปได้อย่างขาดลอย 3-0 เซต คว้าเหรียญทองแดงมาให้กับญี่ปุ่นได้สำเร็จในมหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]
- หัวหน้าผู้ฝึกสอน: คุมิ นากาดะ
ญี่ปุ่น
- อ้างอิงรายชื่อนักกีฬาชุดปัจจุบันจาก : สหพันธ์วอลเลย์บอลระหว่างประเทศ[5]
เบอร์ | ชื่อ | วันเกิด | ส่วนสูง | ตบ | บล็อก | ตำแหน่ง |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | มิยุ นางาโอกะ | 25 กรกฎาคม ค.ศ. 1991 | 179 | 308 | 303 | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา |
2 | ซารินะ โคกะ | 21
พฤษภาคม ค.ศ 1996 |
180 | 302 | 290 | ตัวตบหัวเสา |
3 ![]() |
นานะ อิวาซากะ | 3
กรกฎาคม ค.ศ. 1990 |
187 | 297 | 293 | บอลเร็ว |
4 | ริซะ ชินนาเบะ | 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 | 173 | 292 | 285 | ตัวตบหัวเสา |
5 | เอริกะ อารากิ | 3 สิงหาคม ค.ศ. 1984 | 186 | 302 | 297 | บอลเร็ว |
6 | ฮะรุกะ มิยะชิตะ | 1 กันยายน ค.ศ. 1994 | 177 | 291 | 272 | ตัวเซต |
7 | ยูกิ อิชิอิ | 8
พฤษภาคม ค.ศ. 1991 |
180 | 305 | 287 | ตัวตบหัวเสา |
8 | มะมิ อุชิเซโตะ | 25 ตุลาคม ค.ศ. 1991 | 170 | 295 | 285 | ตัวตบหัวเสา |
9 | ฮายูโระ ชิมามูระ | 4 มีนาคม ค.ศ. 1992 | 182 | 297 | 290 | บอลเร็ว |
10 | โคโยมิ อิวาซากิ | 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1989 | 175 | 295 | 280 | ตัวเซต |
11 | ยูริเอะ นาเบย่า | 15 ธันวาคม ค.ศ. 1993 | 176 | 305 | 292 | ตัวตบหัวเสา |
12 | มิยะ ซาโตะ | 7 มีนาาคม ค.ศ. 1990 | 175 | 278 | 275 | ตัวเซต |
13 | มาอิ โอคุมูระ | 31 ตุลาคม ค.ศ. 1990 | 177 | 295 | 285 | บอลเร็ว |
14 | มาโกะ โคบาตะ | 15
สิงหาคม ค.ศ. 1992 |
164 | 285 | 274 | ตัวรับอิสระ |
15 | โคโตเอะ อิโนอูเอะ | 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 | 162 | 286 | 275 | ตัวรับอิสระ |
16 | ไอ คุโรโกะ | 14 มิถุนายน ค.ศ. 1998 | 180 | 306 | 295 | ตัวตบหัวเสา |
17 | คานามิ ทาชิโร่ | 25 มีนาคม ค.ศ. 1991 | 173 | 284 | 273 | ตัวเซต |
18 | อาคาเนะ โมริยะ | 8 มกราคม ค.ศ. 1991 | 165 | 280 | 260 | ตัวรับอิสระ |
19 | ยูกะ อิมามูระ | 2 กันยายน ค.ศ. 1993 | 176 | 295 | 291 | ตัวตบหัวเสา |
20 | อะยา วาตานาเบะ | 23 เมษายน ค.ศ. 1991 | 176 | 301 | 0 | บอลเร็ว |
21 | มิวาโกะ โอซานาอิ | 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1997 | 175 | 293 | 270 | ตัวตบหัวเสา |
22 | ยูริ โยชิโนะ | 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 | 173 | 290 | 280 | ตัวตบหัวเสา |
23 | มาอิ ไอริซาวะ | 2 มิถุนายน ค.ศ. 1999 | 188 | 309 | 293 | บอลเร็ว |
24 | ไอกะ อาคุตากาวะ | 3 สิงหาคม ค.ศ. 1991 | 180 | 300 | 280 | บอลเร็ว |
25 | นานามิ เซกิ | 12 สิงหาคม ค.ศ. 1999 | 170 | 282 | 0 | ตัวเซต |
27 | มิยู นาคากาวะ | 8 มกราคม ค.ศ. 2000 | 180 | 307 | 300 | ตัวตบตรงข้ามหัวเสา |
ผลงานเหรียญทองระดับโลก[แก้]
..
ปี | การแข่งขัน | เจ้าภาพ | อันดับที่ 2 | อันดับที่ 3 |
---|---|---|---|---|
1962 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1962 | ![]() |
![]() |
![]() |
1964 | โอลิมปิกฤดูร้อน 1964 | ![]() |
![]() |
![]() |
1967 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1967 | ![]() |
![]() |
![]() |
1974 | วอลเลย์บอลหญิงชิงแชมป์โลก 1974 | ![]() |
![]() |
![]() |
1976 | โอลิมปิกฤดูร้อน 1976 | ![]() |
![]() |
![]() |
1977 | วอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 1977 | ![]() |
![]() |
![]() |
รางวัล[แก้]
โอลิมปิกฤดูร้อน[แก้]
1964 –
เหรียญทอง
1968 –
เหรียญเงิน
1972 –
เหรียญเงิน
1976 –
เหรียญทอง
1980 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
1984 –
เหรียญทองแดง
1988 – อันดับที่ 4
1992 – อันดับที่ 5
1996 – อันดับที่ 9
2000 – ไม่ผ่านการคัดเลือก
2004 – อันดับที่ 5
2008 – อันดับที่ 5
2012 –
เหรียญทองแดง
2016 – อันดับที่ 5
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]
1956 : ไม่ผ่านการคัดเลือก
1960 :
เหรียญเงิน
1962 :
เหรียญทอง
1967 :
เหรียญทอง
1970 :
เหรียญเงิน
1974 :
เหรียญทอง
1978 :
เหรียญเงิน
1982 : อันดับที่ 4
1986 : อันดับที่ 7
1990 : อันดับที่ 8
1994 : อันดับที่ 7
1998 : อันดับที่ 8
2002 : อันดับที่ 7
2006 : อันดับที่ 6
2010 :
เหรียญทองแดง
2014 : อันดับที่ 7
2018 : อันดับที่ 6
เวิลด์คัพ[แก้]
1973 :
เหรียญเงิน
1977 :
เหรียญทอง
1981 :
เหรียญเงิน
1985 : อันดับที่ 4
1989 : อันดับที่ 4
1991 : อันดับที่ 7
1995 : อันดับที่ 6
1999 : อันดับที่ 6
2003 : อันดับที่ 5
2007 : อันดับที่ 7
2011 : อันดับที่ 4
2015 : อำดับที่ 5
2019 : อำดับที่ 5
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]
1993 : อันดับที่ 4
1997 : อันดับที่ 5
2001 :
เหรียญทองแดง
2005 : อันดับที่ 5
2009 : อันดับที่ 4
2013 :
เหรียญทองแดง
2017 : อันดับที่ 5
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์[แก้]
1993 : อันดับที่ 6
1994 : อันดับที่ 4
1995 : อันดับที่ 7
1996 : อันดับที่ 8
1997 : อันดับที่ 4
1998 : อันดับที่ 7
1999 : อันดับที่ 7
2000 : อันดับที่ 8
2001 : อันดับที่ 6
2002 : อันดับที่ 5
2003 : อันดับที่ 9
2004 : อันดับที่ 9
2005 : อันดับที่ 5
2006 : อันดับที่ 6
2007 : อันดับที่ 9
2008 : อันดับที่ 6
2009 : อันดับที่ 6
2010 : อันดับที่ 6
2011 : อันดับที่ 5
2012 : อันดับที่ 9
2013 : อันดับที่ 4
2014 :
เหรียญเงิน
2015 : อันดับที่ 6
2016 : อันดับที่ 9
2017 : อันดับที่ 7
เนชันส์ลีก[แก้]
เอเชียนเกมส์[แก้]
1962 :
เหรียญทอง
1966 :
เหรียญทอง
1970 :
เหรียญทอง
1974 :
เหรียญทอง
1978 :
เหรียญทอง
1982 :
เหรียญเงิน
1986 :
เหรียญเงิน
1990 :
เหรียญทองแดง
1994 :
เหรียญทองแดง
1998 :
เหรียญทองแดง
2002 :
เหรียญทองแดง
2006 :
เหรียญเงิน
2010 : อันดับที่ 6
2014 : อันดับที่ 4
2018 : อันดับที่ 4
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย[แก้]
1975 :
เหรียญทอง
1979 :
เหรียญเงิน
1983 :
เหรียญทอง
1987 :
เหรียญเงิน
1989 :
เหรียญทองแดง
1991 :
เหรียญเงิน
1993 :
เหรียญเงิน
1995 :
เหรียญทองแดง
1997 :
เหรียญทองแดง
1999 :
เหรียญทองแดง
2001 : อันดับที่ 4
2003 :
เหรียญเงิน
2005 :
เหรียญเงิน
2007 :
เหรียญทอง
2009 :
เหรียญทองแดง
2011 :
เหรียญเงิน
2013 :
เหรียญเงิน
2015 : อันดับที่ 6
2017 :
เหรียญทอง
2019 :
เหรียญทอง
เอเชียนคัพ[แก้]
2008 : อันดับที่ 4
2010 : อันดับที่ 4
2012 : อันดับที่ 5
2014 : อันดับที่ 4
2016 : อันดับที่ 4
2018 :
เหรียญเงิน
นักวอลเลย์บอลในอดีต[แก้]
- คุมิ นะกะดะ
- เคโกะ ฮะระ (ค.ศ. 2001–2002)
- เมะงุมิ คุริฮะระ
- ไอ อินเด็น (ค.ศ. 2008, 2010)
- เอะริกะ อะระกิ (ค.ศ. 2006–2012)
- มิซะโตะ คิมุระ (ชุดเอเชียนเกมส์-น้องสาวซะโอะริ คิมุระ)
- โคะโตะเอะ อิโนะอุเอะ (เยาวชน-ยุวชน-ชุดใหญ่)
- ชิโฮะ โยะชิมุระ (ชุดกีฬามหาวิทยาลัยโลก)
- คะโอะริ โคะไดระ (ชุดเอเชียนคัพ)
- ทะเคะชิตะ โยะชิเอะ (ค.ศ. 1998–2012)
- คะโอะริ อิโนะอุเอะ
- ไอ โอะโทะโมะ
- ยูโกะ ซะโนะ
- ไมโกะ คะโนะ
- อะกิโกะ ไอโนะ
- ฮิโตะมิ นะกะมิชิ (ค.ศ.2010-2013)
- อะริซะ ซะโต (ค.ศ.2012-2013)
- ริซะ ชินนะเบะ (ค.ศ.2011-2014)
- คะนะ โอะโนะ (ค.ศ.2013-2014)
- ซาโอริ คิมูระ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 วอลเลย์บอลไทย: ญี่ปุ่น หวังกลับมาทวงความยิ่งใหญ่
- ↑ อันดับโลก
- ↑ Volleyball at the 1964 Tokyo Summer Games: Women's Volleyball
- ↑ สะใจกองเชียร์! สาวไทยพลิกโค่นจีน 3-2 ลิ่วชิงวอลเลย์อช.
- ↑ "Team Roster – Japan". Japan Volleyball Association. สืบค้นเมื่อ 12 June 2015.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติญี่ปุ่น
- เว็บไซต์ทางการ
- FIVB profile