ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 15

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Coming Soon[แก้]

Welcome to my sandbox 😀

เรื่องที่เขียนในระยะนี้[แก้]

กระบะทราย : 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
พูดคุย

วรวิชัย บุญรักษา[แก้]

ดาบตำรวจ วรวิชัย บุญรักษา

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

หมวดหมู่:ตำรวจชาวไทย

หมวดหมู่:ผู้รอดชีวิตจากการระเบิด

หมวดหมู่:คนที่ถูกตัดแขนหรือขาชาวไทย

ศักดา พรรณา[แก้]

สิบโท ศักดา พรรณา (ชื่อเล่น เบิ้ม) เป็นทั้งนักกีฬาคาราเต้ทีมชาติไทย

อ้างอิง[แก้]

หมวดหมู่:ทหารพราน

หมวดหมู่:นักคาราเต้ชายชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาทีมชาติไทย

หมวดหมู่:เสียชีวิตจากความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดระนอง

โกริ[แก้]

โกริ
เกิดโทชิยุกิ เทะรุยะ
(1972-05-22) 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1972 (51 ปี)
เมืองนะฮะ จังหวัดโอะกินะวะ ประเทศญี่ปุ่น
ชื่ออื่นโกริเอะ, โกริเอะ มะสึอุระ
อาชีพนักแสดงตลก, พิธีกรรายการวาไรตี้, นักพากย์, ผู้กำกับภาพยนตร์, นักดนตรี

โทชิยุกิ เทะรุยะ (ญี่ปุ่น: 照屋 年之; อังกฤษ: Toshiyuki Teruya) หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ โกริ (ゴリ) หรือ โกริเอะ (ゴリエ) หรือ โกริเอะ มะสึอุระ (松浦ゴリエ) เกิดวันที่ 22 พฤษภาคม ค.ศ. 1972 ที่เมืองนะฮะ จังหวัดโอะกินะวะ ประเทศญี่ปุ่น เป็นนักแสดงตลก, พิธีกรรายการวาไรตี, นักพากย์, ผู้กำกับภาพยนตร์ และนักดนตรีชาวรีวกีว เขาเป็นสมาชิกของหลุ่มโอวะริการาจเซล เขายังได้ปรากฏตัวในภาพของตัวละครเด็กนักเรียนชื่อโกะริเอะและร่วมมือกับจัสมิน แอน อัลเลน และโจแอนน์ ยะมะซะกิ ในการเปิดตัวซิงเกิลสามชุด โดยมิกกี สามารถขึ้นสู่หมายเลขหนึ่งของชาร์ตออริคอนใน ค.ศ. 2004[1]

ผลงานการแสดง[แก้]

ละครโทรทัศน์ญี่ปุ่น[แก้]

  • ซีรีส์ชูระซัง (ค.ศ. 2001, 2003, 2004, 2007) - รับบทเป็นเคะอิโช โคะฮะรุกะ
  • ซีรีส์โอะนิโยะเมะ นิกกิ (ค.ศ. 2005, 2007) - รับบทเป็นคะซุมะ ยะมะซะกิ
  • โอะฮิโตะริซะมะ (ค.ศ. 2009) - รับบทเป็นเดลิเวอรีแมน
  • เคะอิจิ นะรุซะวะ เรียว (ค.ศ. 2009) - รับบทเป็นเอะโดะ
  • จิดัง โคโชนิน โกะทะเคะชิ (ค.ศ. 2011) - รับบทเป็นชินโง ฟุจิอิ
  • โนะบุนะกะโนะเชฟ (ค.ศ. 2013) - รับบทเป็นโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ[2]

ภาพยนตร์[แก้]

  • นินxนิน นินจาฮาโตริ (ค.ศ. 2004) - รับบทเป็นเคมุมากิ เคนโซ
  • เชคอิทเอาท์, โย! (ค.ศ. 2006) - รับบทเป็นฮาจิเมะ เก็นตะ
  • เส้นทางฝันแห่งมัตสึโกะ (ค.ศ. 2006) - รับบทเป็นชูจิ โอคุระ

ผลงานเพลง[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Mickey". Oricon. สืบค้นเมื่อ 7 October 2012.
  2. "Nobunaga no Chef Manga Gets Live-Action Drama". Anime News Network. 2012-11-13. สืบค้นเมื่อ 2012-11-15.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{lifetime}}

หมวดหมู่:นักแสดงตลกญี่ปุ่น

หมวดหมู่:นักดนตรีชาวญี่ปุ่น

หมวดหมู่:นักพากย์ชาวญี่ปุ่น

{{โครงญี่ปุ่น}}

en:Gori (comedian)

กองเรือที่ 2 ของสหรัฐ[แก้]

กองเรือที่ 2 ของสหรัฐ
ประจำการกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1950 – 30 กันยายน ค.ศ. 2011, 24 สิงหาคม ค.ศ. 2018 – ปัจจุบัน
ประเทศ สหรัฐ
เหล่า กองทัพเรือสหรัฐ
รูปแบบกองเรือ
บทบาทCombat & Maritime Operations, Security Cooperation Activities, and Humanitarian Assistance/Disaster Response
ขึ้นกับU.S. Fleet Forces Command (COMUSFLTCOM)
กองบัญชาการNaval Support Activity Hampton Roads รัฐเวอร์จิเนีย สหรัฐ
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการปัจจุบันVADM Andrew L. Lewis

กองเรือที่ 2 ของสหรัฐ (อังกฤษ: United States Second Fleet)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

2

en:Category:Fleets of the United States Navy

ฟ้อนเจิง[แก้]

ฟ้อนเจิง (ไทยถิ่นเหนือ: ?)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

หมวดหมู่:วัฒนธรรมไทย

ja:フォンジューン

สมาคมอนุรักษ์ธรรมชาติซีเชปเพิร์ด[แก้]

สมาคมอนุรักษ์ธรรมชาติซีเชปเพิร์ด (อังกฤษ: Sea Shepherd Conservation Society) เป็นองค์กรเพื่อการอนุรักษ์ท้องทะเลไม่แสวงผลกำไร ซึ่งมีสำนักงานตั้งอยู่ที่ฟรายเดย์ฮาร์เบอร์ บนเกาะซานจวน รัฐวอชิงตัน ในสหรัฐ[1]

หนังสือที่เขียนโดยสมาชิก[แก้]

  • Laura Dakin, "Cookin' Up a Storm: Stories and Recipes from Sea Shepherd's Anti-Whaling Campaigns" (March 16, 2015; Book Publishing Company). ISBN 978-1570673122
  • Raffaella Tolicetti, "Think! Eat! Act!: A Sea Shepherd Chef's Vegan Cookbook" (July 24, 2014; Microcosm Publishing). ISBN 9781621066668
  • Laurens de Groot, "Hunting the Hunters: At war with the whalers" (January 2, 2014; Adlard Coles). ISBN 978-1472903648.
  • Rik Scarce, Eco-Warriors: Understanding the Radical Environmental Movement, second revised ed. (1990; Left Coast Press, 2005), Ch. 6. ISBN 978-1-59874-028-8
  • Paul Watson, Seal Wars: Twenty-five Years in the Front Lines with the Harp Seals (2002; Firefly Books, 2003). ISBN 978-1-55297-751-4
  • Paul Watson, Ocean Warrior: My Battle to End the Illegal Slaughter on the High Seas (1994; Key Porter Books, 1996). ISBN 978-1-55013-599-2
  • David B. Morris, Earth Warrior: Overboard with Paul Watson and the Sea Shepherd Conservation Society (1995; Golden, CO: Fulcrum Publishing). ISBN 1-55591-203-6
  • Paul Watson, Earthforce! An Earth Warrior's Guide to Strategy (1993; Los Angeles: Chaco Press). ISBN 0-9616019-5-7
  • Paul Watson, "Sea Shepherd : My Fight For Whales And Seals" (1980; W. W. Norton and Company). ISBN 978-0393335804

อ้างอิง[แก้]

  1. Lynch, Jim (March 21, 2004). "Friday Harbor, Wash., Activist Elicits Dual Images of Hero, Foe". The Oregonian.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

en:Sea Shepherd Conservation Society

แฟรงก์ แซมโบนี[แก้]

แฟรงก์ แซมโบนี (อังกฤษ: Frank Zamboni)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{lifetime}}

หมวดหมู่:นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน

หมวดหมู่:ชาวอเมริกันเชื้อสายอิตาลี

หมวดหมู่:เสียชีวิตจากมะเร็งปอด

en:Frank Zamboni

สึนามิ จ.ชัยวัฒน์[แก้]

สึนามิ จ.ชัยวัฒน์
(Tsunami Jor. Chaiwat)
ไฟล์:Tsunami Jor. Chaiwat.jpg

สึนามิ จ.ชัยวัฒน์ เป็นนักมวยไทยชาวไทย ฉายาของเขามาจากชื่อของคลื่นยักษ์สึนามิ และเป็นผู้เข้าร่วมแข่งขันในรายการใหญ่หลายรายการ ตลอดจนได้รับเลือกเข้าแข่งขันในคู่เอกของรายการศึกมวยไทยลุมพินี ที่ได้รับการจัดเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษ[1]

ประวัติ[แก้]

สึนามิ จ.ชัยวัฒน์ ได้เข้าร่วมแข่งขันในคู่เอกของรายการศึกมวยไทยลุมพินี ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554 โดยเขาได้พบกับคู่ชกอย่างตลาดแขก ศักดิ์สัมฤทธิ์ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดผ่านทางช่องทีจีเอ็น[2] และในปีเดียวกันนี้ สึนามิได้เข้าร่วมแข่งขันในรายการศึกจ้าวมวยไทย ซึ่งจัดขึ้นที่เวทีมวยอ้อมน้อย โดยพบกับคู่ชกชื่อจ้าวผาหิน ศิษย์อิติสุคโต ซึ่งสึนามิเป็นฝ่ายแพ้ทีเคโอในยกสุดท้าย[3] ใน พ.ศ. 2555 เขาเข้าพบกับคู่ชกผู้มีนามว่าน้องใหม่ ทีเด็ด99 ซึ่งเป็นคู่เอกของรายการศึกมวยไทยลุมพินีทีจีเอ็น ที่สนามมวยเวทีลุมพินี จากการแข่งขันในครั้งดังกล่าว สึนามิเป็นฝ่ายแพ้น็อค[4] วันที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 สึนามิเข้าร่วมแข่งขันในคู่เอกของรายการศึกมวยไทยลุมพินี โดยได้พบกับโชคดี ส.สมรักษ์[5]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

หมวดหมู่:สึนามิ

{{โครงนักกีฬา}}

อีที ปตท.ทองทวี[แก้]

ET Portortor Tongtawee

ชื่อจริง: ชัยวัฒน์ อติกานันนท์

อีที ปตท.ทองทวี หรือ อีที เพชรสมนึก ชื่อเล่น ต้อม เกิดที่อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด[1] เป็นนักมวยไทยชาวไทย ซึ่งชื่อที่ใช้ในการชกของเขามาจากตัวละคร อี.ที. เพื่อนรัก

ประวัติ[แก้]

อีที ปตท.ทองทวี มีชื่อจริงคือ ชัยวัฒน์ อติกานันนท์ เริ่มชกมวยไทยเมื่ออายุได้ 10 ปีในความดูแลของเทพนิมิต ศิษย์เซียนกุ่ย โดยใช้ชื่อในการชกครั้งแรกคือ “จอมโว ศิษย์เซียนกุ่ย” เมื่อชกได้กว่า 10 ครั้งก็ได้ย้ายไปอยู่ภายใต้การดูแลของสมนึก ต้นโศก ผู้เป็นหัวหน้าค่ายเพชรสมนึกขณะอายุ 11 ปี และได้เปลี่ยนชื่อในการชกมาเป็น “อีที” ซึ่งสมนึกได้เปิดเผยว่าหน้าตาของเขาคล้ายกับมนุษย์ต่างดาว มีรูปร่างผอมสูงและผิวคล้ำ โดยเขามีค่าตัวในช่วงเริ่มต้นที่ 300 บาท และปัจจุบันมีค่าตัวที่ 2.5 หมื่นบาท รวมถึงเคยได้รับค่าตัวที่ 3.5 หมื่นบาทสมัยเฟื่องฟู และมีเสี่ยไก่ ปตท.ทองทวี เป็นผู้ให้การสนับสนุน[1]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 ซีเนียร์. ชื่อนี้มีที่มา. มวยสยามรายวัน. ปีที่ 20 ฉบับที่ 7252. วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556. หน้า 25

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

หมวดหมู่:อี.ที. เพื่อนรัก

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดร้อยเอ็ด

จูมง เอกบางไทร[แก้]

Jumong Ekbangsai

จูมง เอกบางไทร มีชื่อจริงคือ ชูอิฟ บิลเหล็บ ชื่อเล่น อิฟ เป็นนักมวยไทยชาวไทย ฉายาของเขาได้มาจากตัวละครเอกซีรีส์เกาหลี จูมง มหาบุรุษกู้บัลลังก์ นามว่า จูมง (주몽)

จูมง เอกบางไทร เป็นพี่ชายของจูล่ง เอกบางไทร

อ้างอิง[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสงขลา

หมวดหมู่:ชาวไทยที่นับถือศาสนาอิสลาม

โรโบค็อป ส.ท.ม่อนโพนทอง[แก้]

โรโบค็อป ส.ท.ม่อนโพนทอง เป็นนักมวยไทยชาวไทย

อ้างอิง[แก้]

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

สมาคมมวยไทยฮ่องกง[แก้]

สมาคมมวยไทยฮ่องกง (จีน: 香港泰拳理事會; อังกฤษ: World Muay Thai Council) เป็นองค์กรที่ให้การส่งเสริมกีฬามวยไทยในฮ่องกง มีประธานคือนายเป่ย จุนฉี[1] ซึ่งได้รับการยอมรับการเป็นสมาชิกจากสภามวยไทยโลก ปัจจุบัน สมาคมมวยไทยฮ่องกงมีที่ทำการอยู่ที่ แผนกเอฟ, จี/เอฟ คอมพาเนียนคอร์ท, 15 ซี ถนนออสติน จิมซาจุ่ย เกาลูน ฮ่องกง

ประวัติ[แก้]

27 เมษายน ค.ศ. 2002 ได้มีการก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการ โดยมีการแต่งตั้งนายเหวย จีซุ่น เป็นประธานกิตติมศักดิ์

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:องค์กรกีฬาในฮ่องกง

หมวดหมู่:มวยไทย

{{โครงกีฬา}}

zh:香港泰拳理事會

GX (จรวด)[แก้]

GX เป็นการออกแบบสำหรับระบบปล่อยตัว โดยมีวัตถุประสงค์ในการปล่อยตัวดาวเทียมเชิงพาณิชย์ ตัวระบบได้รับการพัฒนาโดยกาแล็กซี่เอ็กซ์เพรสคอร์ปอเรชั่น เป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง ไอเอชไอคอร์ปอเรชัน (IHI), องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA), ยูไนเต็ดลันช์อลิอันซ์ (ULA), ล็อคฮีดมาร์ตินคอร์ปอเรชัน (LM) และบริษัทญี่ปุ่นอื่นๆอีกหลายบริษัท[1]

ประวัติ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{โครงเทคโนโลยี}}

en:GX (rocket)

fr:GX (fusée)

ko:GX 로켓

ja:GXロケット

ไฮเก แลงกุธ[แก้]

ไฮเก แลงกุธ (เยอรมัน: Heike Langguth) เกิดวันที่ 22 ตุลาคม ค.ศ. 1979 เป็นแชมป์มวยไทยสองสมัยชาวเยอรมัน

อ้างอิง[แก้]

สิ่งตีพิมพ์[แก้]

  • Christian Dornbusch/Hans-Peter Killguss: Unheilige Allianzen. Black Metal zwischen Satanismus, Heidentum und Neonazismus, rat (reihe antifaschistischer texte), Unrast Verlag, Hamburg/Münster 2005.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวเยอรมัน

หมวดหมู่:นักมวยไทยหญิง

en:Heike Langguth

de:Heike Langguth

มูฮาเร็ม ฮาซานี[แก้]

มูฮาเร็ม ฮาซานี (เยอรมัน: Muharrem Hasani) เกิดวันที่ 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1985 ในโคโซโว เป็นนักมวยไทยชาวโคโซโว-สวิส ในปี ค.ศ. 2009 เขาได้รับรางวัล WPKC แชมป์โลกวิล ในรุ่นเฮฟวี่เวท

ในสายอาชีพ[แก้]

มูฮาเร็ม ฮาซานี ใช้ชีวิตช่วงสิบสี่ปีก่อนที่สวิตเซอร์แลนด์ เมื่อเขามีอายุได้ 15 ปี เข้าได้เริ่มฝึกฝนมวยไทย ปีต่อมาเขาได้แชมป์สวิสรุ่นจูเนียร์เป็นครั้งแรก และในค.ศ. 2002 เขาได้ครอบตำแหน่งแชมป์โลกคาราเต้รุ่นจูเนียร์ ต่อมา ในค.ศ. 2004

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวสวิส

de:Muharrem Hasani

เวลาในประเทศจีน[แก้]

เวลาในประเทศจีนมีเขตเวลาครอบคลุมต่างกัน 5 โซน จาก UTC+05:00 ในฝั่งตะวันตก ถึง UTC+09:00 ในฝั่งตะวันออก ใน ค.ศ. 1949 ประเทศจีนมีเวลามาตรฐานเพียงเวลาเดียวที่ UTC+08:00 เวลา UTC+06:00 ยังใช้อย่างไม่เป็นทางการที่เขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ และทิเบต

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

Government departments responsible for time services:

หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์จีน

en:Time in China

เดวิสคัพ[แก้]

ถ้วยรางวัลเดวิสคัพ

เดวิสคัพ (อังกฤษ: Davis Cup) เป็นรายการแข่งขันเทนนิสชายระดับโลก ซึ่งดำเนินการโดยสหพันธ์เทนนิสนานาชาติ (ไอทีเอฟ)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:เทนนิส

{{โครงกีฬา}}

en:Davis Cup

ชโคดา ฟาเบีย[แก้]

Škoda FabiaII RS

ชโคดา ฟาเบีย (เช็ก: Škoda Fabia) เป็น

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{โครงรถ}}

en:Škoda Fabiab

ไดโงะ อุเมะฮะระ[แก้]

ไดโงะ อุเมะฮะระ
ไฟล์:Daigo1.jpg
Daigo at Super Battle VS 20-X
สถานะActive
เกิด (1981-05-19) 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1981 (42 ปี)
ภูมิลำเนากรุงโตเกียว
สัญชาติญี่ปุ่น
ลีกSuper Battle Opera
Evolution Championship Series
เกมStreet Fighter II Turbo
Street Fighter III 3rd Strike
Street Fighter IV
Street Fighter Alpha 3
Darkstalkers
Capcom vs. SNK 2
Guilty Gear
Capcom Fighting Evolution
Marvel vs. Capcom 3
Nickname(s)The Beast

ไดโงะ อุเมะฮะระ (ญี่ปุ่น: 梅原 大吾; อังกฤษ: Daigo Umehara; 19 พฤษภาคม ค.ศ. 1981 – ) เป็นนักเล่นเกมต่อสู้อาเขตชาวญี่ปุ่น เขามีความเชี่ยวชาญในเกมต่อสู้อาเขต 2 มิติ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกมที่ได้รับการเปิดตัวโดยแคปคอม

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{lifetime}}

หมวดหมู่:เกมอาเขต

หมวดหมู่:สตรีทไฟเตอร์

en:Daigo Umehara