ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 3

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

Coming Soon[แก้]

Welcome to my sandbox 😀

เรื่องที่เขียนในระยะนี้[แก้]

กระบะทราย : 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80
พูดคุย

หมากรุกสากลชิงแชมป์อิสราเอล[แก้]

หมากรุกสากลชิงแชมป์อิสราเอลครั้งแรก

หมากรุกสากลชิงแชมป์อิสราเอล (ฮีบรู: שחמט בישראל; อังกฤษ: Israeli Chess Championship) เป็นการแข่งหมากรุกสากลที่จัดขึ้นทุกปีในประเทศอิสราเอล

ประวัติ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

บรรณานุกรม[แก้]

  • Whyld, Ken (1986), Chess: The Records, Guinness Books, p. 104, ISBN 0-85112-455-0 (results through 1982)
  • Crowther, Mark (30 November 1998), THE WEEK IN CHESS 212, London Chess Center
  • Wolsza, Tadeusz (2007), Arcymistrzowie, mistrzowie, amatorzy. Słownik biograficzny szachistów polskich, vol. 5, Warszawa: Wydawnictwo DiG, ISBN 83-7181-495-X

หมวดหมู่:หมากรุกสากลในประเทศอิสราเอล

en:Israeli Chess Championship

ยูเอสเอส ซีไลออน (SS-315)[แก้]

Sealion (APSS-315), May 1956.
ซีไลออน (APSS-315) ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1956
ประวัติ
United States
อู่เรือGeneral Dynamics Electric Boat, Groton, Connecticut[1]
ปล่อยเรือ25 February 1943[1]
เดินเรือแรก31 October 1943[1]
เข้าประจำการ8 March 1944[1]
ปลดระวาง16 February 1946[1]
นำกลับมาประจำการใหม่2 November 1948[1]
ปลดระวาง30 June 1960[1]
นำกลับมาประจำการใหม่20 October 1961[1]
ปลดระวาง20 February 1970[1]
Stricken15 March 1977[1]
ความเป็นไปSunk as a target off Newport on 8 July 1978[1][2][3]
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: Balao-class diesel-electric submarine[2]
ขนาด (ระวางขับน้ำ): 1,526 long ton (1,550 ตัน) surfaced,[2] 2,424 long ton (2,463 ตัน) submerged[2]
ความยาว: 311 ft 9 in (95.02 m)[2]
ความกว้าง: 27 ft 3 in (8.31 m)[2]
กินน้ำลึก: 16 ft 10 in (5.13 m) maximum[2]
ระบบขับเคลื่อน: แม่แบบ:Fleet-boat-propulsion-late-GM-4-GE
ความเร็ว: 20.25 นอต (37.50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) surfaced,[4] 8.75 นอต (16.21 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) submerged[4]
พิสัยเชื้อเพลิง: 11,000 nm @ 10 kn (20,000 km @ 19 km/h) surfaced[4]
พิสัยปฏิบัติการ: 48 hours @ 2 kn (4 km/h) submerged,[4] 75 days on patrol
ทดสอบความลึก: 400 ft (120 m)[4]
อัตราเต็มที่: 10 officers, 70–71 enlisted[4]
ยุทโธปกรณ์: แม่แบบ:Fleet-boat-armament-5-inch

ยูเอสเอส ซีไลออน (SS-315)

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 Friedman, Norman (1995). U.S. Submarines Through 1945: An Illustrated Design History. Annapolis, Maryland: United States Naval Institute. pp. 285–304. ISBN 1-55750-263-3.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 Bauer, K. Jack; Roberts, Stephen S. (1991). Register of Ships of the U.S. Navy, 1775–1990: Major Combatants. Westport, Connecticut: Greenwood Press. pp. 275–280. ISBN 0-313-26202-0.
  3. Bauer, K. Jack; Roberts, Stephen S. (1991). Register of Ships of the U.S. Navy, 1775-1990: Major Combatants. Westport, Connecticut: Greenwood Press. pp. 275–280. ISBN 0-313-26202-0.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 U.S. Submarines Through 1945 pp. 305–311

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:เรือดำน้ำสมัยสงครามโลกครั้งที่สองของสหรัฐ

หมวดหมู่:เรือดำน้ำสมัยสงครามเย็นของสหรัฐ

en:USS Sealion (SS-315)

กรมทหารพรานที่ 31[แก้]

  • บทบาท: ปราบปรามยาเสพติด[1]
    การลาดตระเวน[2]
  • สีหน่วย:   เขียวย้อมสี (Pigment green)
  • ขึ้นกับ: กองทัพภาคที่ 3
  • ผู้บัญชาการสำคัญ: พันเอก ไมตรี ศรีสันเทียะ[3]
    พันเอก สุทธิ์เขตต์ ศรีนิลทิน[4]

กรมทหารพรานที่ 31 เป็น ???

ประวัติ[แก้]

เดือนมกราคม พ.ศ. 2553 กรมทหารพรานที่ 31 ได้จับกุมเอเยต์ค้ายาบ้า รวมถึงควบคุมตัวผู้พยายามติดสินบนเจ้าหน้าที่ส่งแก่ตำรวจ[5]

โครงสร้าง[แก้]

  • กองร้อยทหารพรานที่ 3101 – ช่วยสร้างบ้านให้แก่ผู้ประสบอัคคีภัยเมื่อปี พ.ศ. 2562[6][7]
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3102
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3103
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3104
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3105
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3106 – สร้างบ้านให้แก่ผู้ยากไร้เมื่อปี พ.ศ. 2561[8]
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3107 – ปะทะแก๊งค้ายาเสพติดเมื่อปี พ.ศ. 2563[9]
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3108
  • กองร้อยทหารพรานที่ 3109 – ตรวจยึดยาบ้าจำนวน 5 แสนเม็ดในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561[10]

กิจกรรมเพื่อสังคม[แก้]

อาทิ มอบผ้าห่มกันหนาวแก่ประชาชนในอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา[11]

เดือนมกราคม พ.ศ. 2563 กองร้อยทหารพรานที่ 3102 ได้จัดกิจกรรมและมอบของขวัญ เนื่องในวันเด็กแห่งชาติ[12] และเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 กรมทหารพรานที่ 31 ได้ลงพื้นที่อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย เพื่อมอบผ้าห่มแก่ประชาชน และผู้ยากไร้ที่ประสบภัยหนาว[13] ส่วนเดือนเมษายน ของปีเดียวกัน กรมทหารพรานที่ 31 ทำการช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากพายุฤดูร้อน ที่อำเภอเชียงของ และอำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย[14][15] ตลอดจนในเดือนพฤษภาคม กรมทหารพรานที่ 31 ได้ร่วมกับภาคเอกชน มอบถุงยังชีพให้แก่ประชาชนที่มีฐานะยากจนในอำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย[16]

อ้างอิง[แก้]

  1. รองผู้บังคับหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 เยี่ยมด่านตรวจยาเสพติดกิ่วทัพยั้ง อ.แม่จัน
  2. ทหารพราน 31 ส่องกล้องพบเห็นหญิง ซุกยาบ้าใต้หินกลางไร่ข้าว
  3. พิธีรับ – ส่งหน้าที่ ผู้บังคับการกรมทหารพรานที่ 31 ผู้การทหารพราน 31 ย้ำสานต่อนโยบาย ทภ.3 ปฎิบัติตามพันธกิจ ทบ.
  4. กรมทหารพราน 31 ออกเยี่ยมพบปะมอบเงินช่วยเหลือบุพการี กำลังพล
  5. ฉก.ทหารพรานที่ 31 จับเอเยนต์ค้ายาบ้าพร้อมของกลาง
  6. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 นำชุดช่างสร้างบ้านให้ผู้ประสบเพลิงไหม้
  7. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 ช่วยเหลือเหตุเพลิงไหม้บ้านพักอาศัย ในอ.เชียงของ
  8. กรมทหารพรานที่ 31 จับมือ ทต.ม่วงยาย สร้างบ้านให้ผู้ยากไร้
  9. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 ยิงปะทะแก๊งค้ายากลางป่า
  10. ล็อตใหญ่! ทหารพรานสกัดกลุ่มลำเลียง "ยาบ้า" เข้าไทย ของกลางมูลค่าครึ่งแสน
  11. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 ลงพื้นที่มอบผ้าห่มกันหนาวให้ ประชาชนในพื้นที่ อำเภอภูซาง พะเยา
  12. ผบ.ฉก.ทพ.31 จัดกำลังพล เล่นกิจกรรมสันทนาการ และมอบของขวัญวันเด็กแห่งชาติ จ.เชียงราย
  13. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 ขึ้นดอย อำเภอแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มอบผ้าห่มช่วยภัยหนาวชาว ตำบลแม่สลองนอก ชาติพันธ์ุคลายหนาว
  14. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 นำกำลังช่วยเหลือชาวบ้านประสบภัยจากพายุฤดูร้อน
  15. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 นำกำลังช่วยเหลือชาวบ้านประสบภัยจากพายุฤดูร้อน
  16. หน่วยเฉพาะกิจกรมทหารพรานที่ 31 ร่วมกับภาคเอกชน นำถุงยังชีพแจกจ่ายให้ประชาชนบนดอยผาตั้ง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

31

หมวดหมู่:จังหวัดพะเยา

en:Yuliya Shvayger

en:Hired Guns

en:Crawl (video game)

en:Minecraft Dungeons

en:Guardian Heroes

บาดร์ ฮารี[แก้]

บาดร์ ฮารี (ดัตช์: Badr Hari)[1] เป็นทั้งนักมวยไทยและคิกบ็อกเซอร์รุ่นเฮฟวีเวท จากประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นชาวดัตช์เชื้อสายโมร็อกโก[2] ผู้มาจากค่ายมวยไมค์ในอูซต์ซาน เขาเป็นอดีตแชมป์มวยเค-วันรุ่นเฮฟวีเวท (ค.ศ. 2007–2008)[3], แชมป์โลกรายการอิสโชว์ไทม์ (ค.ศ. 2009–2010)[4] และ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{lifetime}}

หมวดหมู่:คิกบ็อกเซอร์ชาวดัตช์

หมวดหมู่:นักต่อสู้แบบผสมชาวดัตช์

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวดัตช์

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวโมร็อกโก

หมวดหมู่:นักกีฬาจากอัมสเตอร์ดัม

{{โครงชีวประวัติ}}

en:Badr Hari

แพล็นส์ วีเอส. ซอมบีส์[แก้]

คำเตือน: แสดงชื่อเรื่อง "ผู้ใช้:<i>B20180/กระบะทราย 3</i>" เขียนทับการแสดงชื่อเรื่องก่อนหน้านี้ "ผู้ใช้:B20180/กระบะทราย 3"
แพล็นส์ วีเอส. ซอมบีส์
ปกเวอร์ชันพีซีของ แพล็นส์ วีเอส. ซอมบีส์ ซึ่งเป็นผีดิบลูกกระจ๊อก
ผู้พัฒนาป็อปแคปเกมส์
ผู้จัดจำหน่ายป็อปแคปเกมส์
ออกแบบจอร์จ แฟน[1]
แต่งเพลงลอรา ชิกิฮาระ
เอนจินป็อปแคปเกมส์ เฟรมเวิร์ค
เครื่องเล่นกูเกิล โครม (โครมเว็บสโตร์), ไมโครซอฟท์ วินโดวส์,[2][3] แมคโอเอสเท็น,[2][3] iOS,[4] เอ็กซ์บ็อกซ์ไลฟ์อาเขต,[5] เพลย์สเตชัน เน็ตเวิร์ก, นินเทนโด ดีเอส, DSiแวร์, บาดา, แอนดรอยด์ (อเมซอน แอพสโตร์), วินโดวส์ โฟน 7
วางจำหน่ายพีซี/แมค

ไอโอเอส
เอ็กซ์บ็อกซ์ไลฟ์อาเขต
นินเทนโด ดีเอส
เพลย์สเตชัน เน็ตเวิร์ก
ดีเอสไอแวร์
แอนดรอยด์

วินโดวส์ โฟน 7
แนวป้องกันหอคอย
รูปแบบผู้เล่นคนเดียว, หลายผู้เล่น

แพล็นส์ วีเอส. ซอมบีส์ (อังกฤษ: Plants vs. Zombies) เป็นวิดีโอเกมแนวแอ็คชั่นป้องกันหอคอย พัฒนาและวางจำหน่ายครั้งแรกโดยป็อปแคปเกมส์สำหรับไมโครซอฟท์ วินโดวส์ และแมคโอเอสเท็น โดยเป็นเกมที่เกี่ยวข้องกับเจ้าของบ้านที่ใช้พืชหลายชนิดสำหรับการขับไล่กองทัพซอมบี้จาก "การกินสมองของพวกเขา" ซึ่งได้รับการเปิดตัวครั้งแรกในวันที่ 5 พฤษภาคม ค.ศ. 2009 และสำหรับระบบสตรีมในวันเดียวกัน[2][8] ส่วนเวอร์ชันสำหรับไอโอเอสได้รับการเปิดตัวในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010 และเวอร์ชัน HD สำหรับไอแพด[9] รวมถึงมีการขยายสู่เวอร์ชันเอ็กซ์บ็อกซ์ไลฟ์อาเขตโดยมีการแนะนำโหมดการเล่นกับคุณลักษณะใหม่ ซึ่งได้รับการเปิดตัวในวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2010 [5] และทางป็อบแคปได้เปิดตัวเวอร์ชันนินเทนโด ดีเอสในวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2011 ซึ่งมีเนื้อหาแตกต่างไปจากแพลตฟอร์มเดิม[10] เวอร์ชั่นเพลย์สเตชัน 3 เปิดตัวในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2011 ส่วนเกมเวอร์ชั่นแอนดรอยด์มีเฉพาะสำหรับอะเมซอนแอนดรอยด์แอพสโตร์ โดยเปิดตัวในวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ. 2011 [11] นอกจากนี้ ทั้งเวอร์ชันต้นตำรับอย่างวินโดว์สและแมคต่างได้รับการเปิดตัวใหม่ด้วยการเพิ่มเนื้อหาในเวอร์ชัน เกมออฟเดอะเยียร์ เกมนี้ได้รับการตอบรับในเชิงบวกจากนักวิจารณ์ รวมถึงได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัล

การตอบรับ[แก้]

แพลนท์ vs. ซอมบี้ เป็นเกมที่ได้รับการตอบรับจากนักวิจารณ์ในเชิงบวก โดยได้รับคะแนนรวม 88/100 คะแนนจากเมตาคริทิค และ 89.5% จากเกมแรงกิงส์[12][13] แอนดี้ เจ โคโลสกี บรรณาธิการเว็บไซต์ไอจีเอ็น ออกความเห็นว่าเป็นเกมที่มีเนื้อหาโดดเด่นกว่าเกมอื่นในประเภทเดียวกัน ตลอดจนยกย่องถึงการติดเกมโดยธรรมชาติ[14] อย่างไรก็ตาม เวอร์ชันดีเอส

รางวัล[แก้]

แพลนท์ vs. ซอมบี ได้รับการเสนอเข้าชิงรางวัลความสำเร็จทางอินเตอร์แอ็คทีฟสาขา "เกมสบาย ๆ แห่งปี" รวมถึง "ความสำเร็จที่โดดเด่นในการออกแบบเกม"

อ้างอิง[แก้]

  1. "Plants vs. Zombies: Credits". Popcap.com. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30. [ลิงก์เสีย]
  2. 2.0 2.1 2.2 "Plants vs. Zombies GOTY Edition". Steam. Valve Corporation. สืบค้นเมื่อ 2010-08-11.
  3. 3.0 3.1 Ocampo, Jason (2009-04-04). "No Joke — PopCap Reveals Plants vs. Zombies". IGN. สืบค้นเมื่อ 2010-08-11. PC and Mac initially, with other platforms under consideration.
  4. "PopCap's Plants vs. Zombies Dances Into Retail for PC and Mac". Popcap.com. สืบค้นเมื่อ 2010-03-16.
  5. 5.0 5.1 5.2 "Plants vs. Zombies XBLA Dated, Awesome". IGN.com. สืบค้นเมื่อ 2010-08-18.
  6. 6.0 6.1 6.2 "Plants vs. Zombies". Popcap.com. สืบค้นเมื่อ 2010-07-31. [ลิงก์เสีย]
  7. Bailey, Kat (2010-02-15). "Plants vs. Zombies Now Available on iTunes". 1UP.com. สืบค้นเมื่อ 2010-02-15.
  8. "Plants vs. Zombies Now Available". Steam. Valve Corporation. 2009-05-05. สืบค้นเมื่อ 2010-08-11.
  9. "PopCap Launches Plants vs. Zombies HD App for iPad". Popcap.com. สืบค้นเมื่อ 2010-06-14.
  10. Pereira, Chris (2010-08-23). "Plants vs. Zombies Gets Extra Content and Heads to DS". 1UP.com. สืบค้นเมื่อ 2010-08-23.
  11. Pereira, Chris (2011-05-31). "Amazon's Android Appstore Gets Another Huge Exclusive: Plants vs Zombies". techcrunch.com. สืบค้นเมื่อ 2011-06-09.
  12. "Plants vs. Zombies". Metacritic. 2009-05-05. สืบค้นเมื่อ 2010-03-16.
  13. "Plants vs. Zombies". GameRankings. สืบค้นเมื่อ 2010-03-16.
  14. Hatfield, Daemon (2009-05-05). "Plants vs. Zombies Review - PC Review at IGN". Pc.ign.com. สืบค้นเมื่อ 2010-06-30.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:วิดีโอเกมที่ออกวางจำหน่ายในปี พ.ศ. 2552

หมวดหมู่:เกมในระบบปฏิบัติการแมคโอเอสเทน

หมวดหมู่:เกมบนเครื่องเล่นนินเทนโด ดีเอส

หมวดหมู่:วิดีโอเกมซอมบี

en:Plants vs. Zombies

ปาจี๋เฉวียน[แก้]

ปาจี๋เฉวียน (จีน: 八極拳; ญี่ปุ่น: 八極拳) หรือที่รู้จักกันในชื่อของ หมัดแปดปรมัตถ์[1] เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของจีนที่มีการโจมตีระยะสั้นด้วยการระเบิดพลังจากข้างใน และมีชื่อเสียงในด้านการงัดข้อศอก ศิลปะการต่อสู้นี้มีต้นกำเนิดที่มณฑลเหอเป่ยของจีนตอนบน แต่ในปัจจุบันเป็นที่รู้จักกันดีในสถานที่อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ไต้หวัน ชื่อเต็มของศิลปะการต่อสู้ดังกล่าวคือ ไคเหมินปาจี๋เฉวียน (開門八極拳) ซึ่งหมายถึง "หมัดเปิดแปดทวาร"

ต้นกำเนิด[แก้]

สิงโตเหล็กแห่งชางโจวสัญลักษณ์แห่งชางโจว

หมัดแปดปรมัตถ์มีต้นกำเนิดมาจากอำเภอชาง ตำบลชาง มณฑลเหอเป่ย ของประเทศจีน โดยชาวท้องถิ่นเรียกรูปแบบการต่อสู้นี้ว่า "ปาจื่อเฉวียน" (巴子拳 หรือ 鈀子拳) ซึ่ง ปาจื่อ นี้มีความหมายแปลว่า จอบ ดังนั้น ปาจื่อเฉวียน จึงมีความหมายว่า มวยจอบ

ทั้งนี้ แม่ทัพในสมัยราชวงศ์หมิงซึ่งมีชื่อว่าชีจี้กวง ได้ทำการบันทึกถึงปาจื่อเฉวียนว่าเป็นรูปแบบการต่อสู้ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในช่วงนั้น จากหลักฐานนี้เอง ที่ทำให้ทราบว่ารูปแบบการต่อสู้ดังกล่าวอาจมีมาตั้งแต่สมัยราชวงศ์หมิง แต่เนื่องด้วยการออกเสียงคำว่า ปาจื่อ ทางตอนเหนือของจีน ออกเสียงคล้ายกับคำว่า ปาจี๋ และไม่มีการบันทึกคำศัพท์ทางการในสมัยก่อน จึงทำให้เสียงเปลี่ยนไปอีกทั้งยังมีความหมายที่ไม่ไพเราะเท่าที่ควร จึงได้เขียนเป็นปาจี๋เฉวียน ซึ่งมีความหมายสื่อถึงแปดปรมัตถ์ ตามรูปแบบการจู่โจมที่ใช้แปดท่า แปดส่วน แทน

ไม่มีใครทราบถึงต้นกำเนิดที่แท้จริงของรูปแบบการต่อสู้ดังกล่าว เนื่องจากไม่มีหลักฐานหลงเหลืออยู่ในปัจจุบัน ทราบแต่เพียงว่าเป็นศิลปะการแสดงอย่างหนึ่งของท้องถิ่น ก่อนที่จะพัฒนาเป็นศิลปะการต่อสู้ที่มีชื่อเสียงของท้องถิ่น และได้เริ่มทำการบันทึกในสมัยราชวงศ์หมิงดังที่กล่าวมา

แต่เดิมศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวนี้ได้ถูกปกปิดเป็นความลับของท้องถิ่น แต่ต่อมาที่ชางโจวซึ่งอยู่ห่างจากท้องถิ่นดังกล่าวออกไปราว 35 กิโลเมตร ได้เริ่มต้นกำเนิดรูปแบบของปาจี๋เฉวียนขึ้น และมีศิลปะการต่อสู้อีกรูปแบบที่นิยมฝึกฝนควบคู่กัน ซึ่งก็คือ ฝ่ามือปากัว ดังนั้น ผู้ฝึกวิชาปาจี๋เฉวียนส่วนใหญ่จึงได้ทำการฝึกวิชาฝ่ามือปากัวด้วยเช่นกัน

บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์[แก้]

ในวัฒนธรรมสมัยนิยม[แก้]

โดยมีสิงโตเหล็กแห่งชางโจวเป็นสัญลักษณ์ควบคู่ ในมังงะอย่าง en:Kenji (manga) รวมถึงมีการปรากฏอยู่ในเกมต่อสู้ en:Virtua Fighter (anime)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของจีน

{{โครงจีน}}

en:Bājíquán

บทความเกี่ยวกับหมัดแปดปรมัตถ์[แก้]

ลี ไล่ซาน[แก้]

B20180/กระบะทราย 3
เหรียญรางวัล
วินเซิร์ฟ หญิง
ตัวแทนของ ฮ่องกง
กีฬาโอลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ แอตแลนตา 1996 Board (Mistral)

ลี ไล่ซาน (จีน: 李麗珊; อังกฤษ: Lee Lai Shan) เกิดวันที่ 5 กันยายน ค.ศ. 1970 ที่ 長洲 ฮ่องกง เป็นอดีตแชมป์โลกและผู้ชนะเหรียญทองโอลิมปิก เธอเป็นนักกีฬาวินเซิร์ฟอาชีพจากฮ่องกง ซึ่งเป็นคนแรกและคนสุดท้าย

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:นักกีฬาชาวฮ่องกง

{{โครงนักกีฬา}}

en:Lee Lai Shan

ko:리라이샨

it:Lee Lai Shan

ja:リー・ライ・シャン

zh:李麗珊

ศุภชัย โกยทรัพย์[แก้]

B20180/กระบะทราย 3
เหรียญรางวัล
กรีฑา (T54)
ตัวแทนของ  ไทย
กีฬาพาราลิมปิก
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2000 Sydney 200m - T54
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2000 Sydney 4x100m - T54
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2004 Athens 4x100m - T53-54
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2004 Athens 4x400m - T53-54
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2000 Sydney 4x400m - T54
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2008 Beijing 4x100m - T53-54
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2008 Beijing 4x400m - T53-54
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2008 Beijing 100m - T54

ศุภชัย โกยทรัพย์ เป็นนักกีฬาพาราลิมปิกจากประเทศไทย

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

หมวดหมู่:นักกีฬาพาราลิมปิก

{{โครงนักกีฬา}}

en:Supachai Koysub

ดาม ศรีจันทร์[แก้]

ดาม ศรีจันทร์ เป็นผู้ฝึกสอนมวยไทย

เกียรติประวัติ[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

{{อายุขัย}}

หมวดหมู่:นักมวยไทยชาวไทย

หมวดหมู่:นักมวยสากลชาวไทย

หมวดหมู่:นักคาราเต้ชาวไทย

หมวดหมู่:นักเทควันโดชาวไทย

หมวดหมู่:คิกบ็อกเซอร์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาทีมชาติไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญเงินซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:นักกีฬาเหรียญทองแดงซีเกมส์ชาวไทย

หมวดหมู่:ผู้ฝึกสอนมวยไทย

หมวดหมู่:นักแสดงชายชาวไทย

หมวดหมู่:นักแสดงสังกัดช่อง 7

หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดนครราชสีมา

หมวดหมู่:บุคคลจากคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

หมวดหมู่:บุคคลจากคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.ภ.