วอลเลย์บอลชายทีมชาติญี่ปุ่น

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ญี่ปุ่น
ฉายาเทพเจ้ามังกรญี่ปุ่น​
龍神 NIPPON (รีวจิน นิปปง)
สมาคมสมาคมกีฬาวอลเลย์บอลแห่งประเทศญี่ปุ่น
หัวหน้าผู้ฝึกสอนฝรั่งเศส ฟิลิปป์ เบลน [en] [1][2]
อันดับเอฟไอวีบี11 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน8 (ครั้งแรกเมื่อ 1964)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1972)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน13 (ครั้งแรกเมื่อ 1960)
ผลการแข่งที่ดีที่สุด (1970, 1974)
http://www.jva.or.jp/en/
วอลเลย์บอลชายทีมชาติญี่ปุ่น
เหรียญรางวัล
โอลิมปิกฤดูร้อน
เหรียญทอง - ชนะเลิศ มิวนิก 1972 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เม็กซิโกซิตี 1968 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โตเกียว 1964 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เยอรมนีตะวันออก 1969 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ญี่ปุ่น 1977 ทีม
วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โอซะกะ/นะโงะยะ 2009 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์เอเชีย
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เมลเบิร์น 1975 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โตเกียว 1983 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ คูเวตซิตี 1987 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เพิร์ท 1991 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โซล 1995 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ สุพรรณบุรี 2005 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ มะนิลา 2009 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เตหะราน 2015 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เกรซิก 2017 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โซล 1989 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โดฮา 1997 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ชิบะ/ฟูนาบาชิ 2021 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มานามา 1979 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 นครราชสีมา 1993 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ชางวอน 2001 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 เตหะราน 2019 ทีม
เอเชียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กว่างโจว 2010 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ ฮิโระชิมะ 1994 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ นิวเดลี 1982 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เตหะราน 1974 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1970 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1966 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ โตเกียว 1958 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อินช็อน 2014 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ กรุงเทพมหานคร 1978 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ จาการ์ตา 1962 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ปูซาน 2002 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ปักกิ่ง 1990 ทีม
เอเชียนคัพ
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 หวิญฟุก 2012 ทีม
กู๊ดวิลล์เกมส์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 มอสโก 1986 ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติญี่ปุ่น (ญี่ปุ่น: バレーボール全日本男子; อังกฤษ: Japan men's national volleyball team) เป็นทีมชาติวอลเลย์บอลของประเทศญี่ปุ่น มีชื่อเล่นว่า "龍神 NIPPON" ซึ่ง "龍神" (อ่านว่า รีวจิน) แปลว่า "เทพเจ้ามังกร" และ "NIPPON" แปลว่า "ประเทศญี่ปุ่น"[3]

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

หมายเลข ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง น้ำหนัก ตบ บล็อก สโมสรฤดูกาล 2022–23
1 นิชิดะ, ยูจิยูจิ นิชิดะ 30 มกราคม 2000 1.87 m (6 ft 2 in) 89 kg (196 lb) 350 ซm (140 in) 335 ซm (132 in) ญี่ปุ่น เจเท็กโตะ สติงส์
2 โอโนะเดระ, ไทชิไทชิ โอโนะเดระ 27 กุมภาพันธ์ 1996 2.01 m (6 ft 7 in) 98 kg (216 lb) 346 ซm (136 in) 323 ซm (127 in) ญี่ปุ่น เจที ธันเดอร์
3 ฟูคัตสึ, อะกิฮิโระอะกิฮิโระ ฟูคัตสึ 23 กรกฎาคม 1987 1.83 m (6 ft 0 in) 68 kg (150 lb) 334 ซm (131 in) 315 ซm (124 in) ญี่ปุ่น โอซากะเบลเซอส์ซาไก
4 โอตาเกะ, อิตเซย์อิตเซย์ โอตาเกะ 3 ธันวาคม 1995 2.02 m (6 ft 8 in) 98 kg (216 lb) 346 ซm (136 in) 327 ซm (129 in) ญี่ปุ่น พานาโซนิคแพนเทอส์
5 โอสึกะ, ทัตสึโนริทัตสึโนริ โอสึกะ 5 พฤศจิกายน 2000 1.94 m (6 ft 4 in) 80 kg (180 lb) 338 ซm (133 in) 325 ซm (128 in) ญี่ปุ่น พานาโซนิคแพนเทอส์
6 ยามาอูจิ, อากิฮิโระอากิฮิโระ ยามาอูจิ 30 พฤศจิกายน 1993 2.04 m (6 ft 8 in) 80 kg (180 lb) 350 ซm (140 in) 335 ซm (132 in) ญี่ปุ่น พานาโซนิคแพนเทอส์
7 ทากานาชิ, เค็นตะเค็นตะ ทากานาชิ 25 มีนาคม 1997 1.89 m (6 ft 2 in) 78 kg (172 lb) 337 ซm (133 in) 320 ซm (130 in) ญี่ปุ่น โวล์ฟด็อกส์ นาโงยะ
8 เซกิตะ, มาซาฮิโระมาซาฮิโระ เซกิตะ 20 พฤศจิกายน 1993 1.75 m (5 ft 9 in) 72 kg (159 lb) 311 ซm (122 in) 295 ซm (116 in) ญี่ปุ่น เจเท็กโตะ สติงส์
9 โอยะ, มาซากิมาซากิ โอยะ 23 เมษายน 1995 1.78 m (5 ft 10 in) 70 kg (150 lb) 320 ซm (130 in) 310 ซm (120 in) ญี่ปุ่น ซันโตรีซันเบิร์ดส์
10 ทากาฮาชิ, เคนทาโรเคนทาโร ทากาฮาชิ 8 กุมภาพันธ์ 1995 2.01 m (6 ft 7 in) 93 kg (205 lb) 355 ซm (140 in) 330 ซm (130 in) ญี่ปุ่น โทเรย์แอร์โรส์
11 โทมิตะ, โชมะโชมะ โทมิตะ 20 มิถุนายน 1997 1.90 m (6 ft 3 in) 80 kg (180 lb) 342 ซm (135 in) 321 ซm (126 in) ญี่ปุ่น โทเรย์แอร์โรส์
12 ทากาฮาชิ, รันรัน ทากาฮาชิ 2 กันยายน 2001 1.88 m (6 ft 2 in) 72 kg (159 lb) 343 ซm (135 in) 315 ซm (124 in) อิตาลี คีโอเอเน ปาโดวา [en]
13 โอกาวะ, โทโมฮิโระโทโมฮิโระ โอกาวะ 4 กรกฎาคม 1996 1.76 m (5 ft 9 in) 66 kg (146 lb) 305 ซm (120 in) 270 ซm (110 in) ญี่ปุ่น โวล์ฟด็อกส์ นาโงยะ
14 อิชิกาวะ, ยูกิยูกิ อิชิกาวะ (C) 11 ธันวาคม 1995 1.92 m (6 ft 4 in) 74 kg (163 lb) 355 ซm (140 in) 324 ซm (128 in) อิตาลี พาวเวอร์วอลเลย์ มิลาโน [en]
16 มิยาอุระ, เคนโตะเคนโตะ มิยาอุระ 22 กุมภาพันธ์ 1999 1.89 m (6 ft 2 in) 73 kg (161 lb) 339 ซm (133 in) 320 ซm (130 in) ญี่ปุ่น เจเท็กโตะ สติงส์
17 ยามาซากิ, อะกิโตะอะกิโตะ ยามาซากิ 16 ตุลาคม 1997 1.90 m (6 ft 3 in) 75 kg (165 lb) 345 ซm (136 in) 315 ซm (124 in) ญี่ปุ่น โวล์ฟด็อกส์ นาโงยะ
18 นากาโมโตะ, เคนยูเคนยู นากาโมโตะ 21 พฤศจิกายน 1997 1.87 m (6 ft 2 in) 68 kg (150 lb) 330 ซm (130 in) 305 ซm (120 in) ญี่ปุ่น พานาโซนิคแพนเทอส์
20 ยามาโมโตะ, โทโมฮิโระโทโมฮิโระ ยามาโมโตะ 5 พฤศจิกายน 1994 1.71 m (5 ft 7 in) 69 kg (152 lb) 301 ซm (119 in) 299 ซm (118 in) ญี่ปุ่น โอซากะเบลเซอส์ซาไก
21 เออิโระ, โมโตกิโมโตกิ เออิโระ 8 มิถุนายน 1996 1.92 m (6 ft 4 in) 80 kg (180 lb) 330 ซm (130 in) 320 ซm (130 in) ญี่ปุ่น โวล์ฟด็อกส์ นาโงยะ
22 ฮิกูจิ, ยูกิยูกิ ฮิกูจิ 27 เมษายน 1996 1.91 m (6 ft 3 in) 79 kg (174 lb) 345 ซm (136 in) 320 ซm (130 in) ญี่ปุ่น โอซากะเบลเซอส์ซาไก
24 ทากาฮาชิ, คาซึยูกิคาซึยูกิ ทากาฮาชิ 26 มกราคม 2000 1.70 m (5 ft 7 in) 61 kg (134 lb) 310 ซm (120 in) 281 ซm (111 in) ญี่ปุ่น เจเท็กโตะ สติงส์
26 มูรายามะ, โกโก มูรายามะ 30 กรกฎาคม 1998 1.92 m (6 ft 4 in) 82 kg (181 lb) 338 ซm (133 in) 315 ซm (124 in) ญี่ปุ่น เจเท็กโตะ สติงส์
30 อีเบด-แดน, แลร์รี่แลร์รี่ อีเบด-แดน 18 สิงหาคม 2000 1.95 m (6 ft 5 in) 81 kg (179 lb) 350 ซm (140 in) 333 ซm (131 in) ญี่ปุ่น พานาโซนิคแพนเทอร์ส
34 ไค, มาซาโตะมาซาโตะ ไค 25 กันยายน 2003 2.00 m (6 ft 7 in) 79 kg (174 lb) 347 ซm (137 in) ญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยเซ็นชู [en]
35 โคมิยะ, ยูอิจิโระยูอิจิโระ โคมิยะ 16 พฤศจิกายน 1992 1.93 m (6 ft 4 in) 86 kg (190 lb) 345 ซm (136 in) 315 ซm (124 in) ญี่ปุ่น พานาโซนิคแพนเทอร์ส

ผลงาน[แก้]

โอลิมปิกเกมส์[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1964Bronze เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 1968Silver เหรีญเงิน
  • เยอรมนีตะวันตก 1972Gold เหรียญทอง
  • แคนาดา 1976 – อันดับที่ 4
  • สหภาพโซเวียต 1980 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขันเนื่องจาก การคว่ำบาตรโอลิมปิกฤดูร้อน 1980
  • สหรัฐ 1984 – อันดับที่ 7
  • เกาหลีใต้ 1988 – อันดับที่ 10
  • สเปน 1992 – อันดับที่ 6
  • สหรัฐ 1996 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • ออสเตรเลีย 2000 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • กรีซ 2004 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • จีน 2008 – อันดับที่ 11
  • สหราชอาณาจักร 2012 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • บราซิล 2016 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • ญี่ปุ่น 2020 – อันดับที่ 7

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก[แก้]

  • เชโกสโลวาเกีย 1949 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • สหภาพโซเวียต 1952 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • ฝรั่งเศส 1956 – ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
  • บราซิล 1960 – อันดับที่ 8
  • สหภาพโซเวียต 1962 – อันดับที่ 5
  • เชโกสโลวาเกีย 1966 – อันดับที่ 5
  • บัลแกเรีย 1970 เหรียญทองแดง
  • เม็กซิโก 1974 เหรียญทองแดง
  • อิตาลี 1978 – อันดับที่ 11
  • อาร์เจนตินา 1982 – อันดับที่ 4
  • ฝรั่งเศส 1986 – อันดับที่ 10
  • บราซิล 1990 – อันดับที่ 11
  • กรีซ 1994 – อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 1998 – อันดับที่ 15
  • อาร์เจนตินา 2002 – อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2006 – อันดับที่ 8
  • อิตาลี 2010 – อันดับที่ 13
  • โปแลนด์ 2014 – ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  • อิตาลี บัลแกเรีย 2018 – อันดับที่ 17
  • บราซิล ญี่ปุ่น จีน 2022 – อันดับที่ 12

วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ[แก้]

  • โปแลนด์ 1965 — อันดับที่ 4
  • เยอรมนีตะวันออก 1969 เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1977 เหรียญเงิน
  • ญี่ปุ่น 1981 — อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1985 — อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1989 — อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 1991 — อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1995 — อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 1999 — อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2003 — อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2007 — อันดับที่ 9
  • ญี่ปุ่น 2011 — อันดับที่ 10
  • ญี่ปุ่น 2015 — อันดับที่ 6
  • ญี่ปุ่น 2019 — อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1990 — อันดับที่ 6
  • อิตาลี 1991 — อันดับที่ 7
  • อิตาลี 1992 — อันดับที่ 10
  • บราซิล 1993 — อันดับที่ 6
  • อิตาลี 1994 — อันดับที่ 7
  • บราซิล 1995 — อันดับที่ 8
  • เนเธอร์แลนด์ 1996 — อันดับที่ 9
  • รัสเซีย 1997 — อันดับที่ 12
  • อิตาลี 1998 — ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • อาร์เจนตินา 1999 — ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • เนเธอร์แลนด์ 2000 — ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • โปแลนด์ 2001 — อันดับที่ 9
  • บราซิล 2002 — อันดับที่ 13
  • สเปน 2003 — อันดับที่ 13
  • อิตาลี 2004 — อันดับที่ 10
  • เซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005 — อันดับที่ 10
  • รัสเซีย 2006 — อันดับที่ 13
  • โปแลนด์ 2007 — อันดับที่ 13
  • บราซิล 2008 — อันดับที่ 6
  • เซอร์เบีย 2009 — อันดับที่ 15
  • อาร์เจนตินา 2010 — ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • โปแลนด์ 2011 — อันดับที่ 15
  • บัลแกเรีย 2012 — อันดับที่ 15
  • อาร์เจนตินา 2013 — อันดับที่ 18
  • อิตาลี 2014 — อันดับที่ 20
  • บราซิล 2015 — อันดับที่ 13
  • โปแลนด์ 2016 — อันดับที่ 24
  • บราซิล 2017 — อันดับที่ 14

วอลเลย์บอลเนชันส์ลีก[แก้]

  • ฝรั่งเศส 2018 — อันดับที่ 12
  • สหรัฐ 2019 — อันดับที่ 10
  • อิตาลี 2021 — อันดับที่ 11
  • โปแลนด์ 2023 เหรียญทองแดง

วอลเลย์บอลเวิลด์แกรนด์แชมป์เปี้ยนคัพ[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1993 — อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 1997 — อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2001 — อันดับที่ 5
  • ญี่ปุ่น 2005 — อันดับที่ 4
  • ญี่ปุ่น 2009 เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 2013 — อันดับที่ 6

เอเชียนเกมส์[แก้]

  • ญี่ปุ่น 1958 เหรียญทอง
  • อินโดนีเซีย 1962 เหรียญเงิน
  • ไทย 1966 เหรียญทอง
  • ไทย 1970 เหรียญทอง
  • อิหร่าน 1974 เหรียญทอง
  • ไทย 1978 เหรียญเงิน
  • อินเดีย 1982 เหรียญทอง
  • เกาหลีใต้ 1986 — อันดับที่ 4
  • จีน 1990 เหรียญทองแดง
  • ญี่ปุ่น 1994 เหรียญทอง
  • ไทย 1998 — อันดับที่ 4
  • เกาหลีใต้ 2002 เหรียญทองแดง
  • ประเทศกาตาร์ 2006 — อันดับที่ 5
  • จีน 2010 เหรียญทอง
  • เกาหลีใต้ 2014 เหรียญเงิน
  • อินโดนีเซีย 2018 — อันดับที่ 5

เอเชียนคัพ[แก้]

  • ไทย 2008 – อันดับ 4
  • อิหร่าน 2010 – อันดับ 8
  • เวียดนาม 2012 เหรียญทองแดง
  • คาซัคสถาน 2014 – อันดับ 6

กู๊ดวิลล์เกมส์[แก้]

  • สหภาพโซเวียต 1986 เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 1990 — ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน

นักวอลเลย์บอลในอดีต[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "JAPAN ANNOUNCES NEW NATIONAL TEAM HEAD COACHES". asianvolleyball.net. สืบค้นเมื่อ 5 November 2021.
  2. "【バレーボール】女子日本代表監督に眞鍋政義氏が内定…男子はフィリップ・ブラン氏" (ภาษาญี่ปุ่น). sports.yahoo.co.jp. สืบค้นเมื่อ 5 November 2021.
  3. https://www.jva.or.jp/en/senior_men/nickname.html
  4. "FIVBバレーボールネーションズリーグ2022 予選ラウンド - 日本代表メンバー" (ภาษาญี่ปุ่น). JVA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2022. สืบค้นเมื่อ 12 May 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]