ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สะพานพระปกเกล้า"

พิกัด: 13°44′20″N 100°29′56″E / 13.738999°N 100.498981°E / 13.738999; 100.498981
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
Ellywa (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 87: บรรทัด 87:
| สถานที่ = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| สถานที่ = [[แม่น้ำเจ้าพระยา]]
| สะพาน = สะพานพระปกเกล้า
| สะพาน = สะพานพระปกเกล้า
| สัญลักษณ์สะพาน = [[ไฟล์:DRR (Thailand) Logo.svg|35px]]
| สัญลักษณ์สะพาน = [[ไฟล์:Seal of the Department of Rural Roads of Thailand.svg|35px]]
| เหนือ = [[สะพานพระพุทธยอดฟ้า]]
| เหนือ = [[สะพานพระพุทธยอดฟ้า]]
| สัญลักษณ์เหนือ = [[ไฟล์:DRR (Thailand) Logo.svg|35px]]
| สัญลักษณ์เหนือ = [[ไฟล์:Seal of the Department of Rural Roads of Thailand.svg|35px]]
| ใต้ = [[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]
| ใต้ = [[สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]]
| สัญลักษณ์ใต้ = [[ไฟล์:DRR (Thailand) Logo.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถยนต์)|link=]] [[ไฟล์:BTS-Logo.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม)|link=]]
| สัญลักษณ์ใต้ = [[ไฟล์:Seal of the Department of Rural Roads of Thailand.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถยนต์)|link=]] [[ไฟล์:BTS-Logo.svg|35px|สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม)|link=]]
}}
}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 05:41, 5 มิถุนายน 2563

สะพานพระปกเกล้า
สะพานพระปกเกล้า (ใกล้) และสะพานพระพุทธยอดฟ้า (ไกล)
เส้นทางถนนจักรเพชร, ถนนประชาธิปก
ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา
ที่ตั้งเขตพระนคร, เขตคลองสาน
ชื่อทางการสะพานพระปกเกล้า
ผู้ดูแลกรมทางหลวงชนบท
เหนือน้ำสะพานพระพุทธยอดฟ้า
ท้ายน้ำสะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ข้อมูลจำเพาะ
ประเภทสะพานชนิดต่อเนื่อง
วัสดุคอนกรีตอัดแรง
ความยาว212.00 เมตร
ความกว้าง13.20 เมตร
ความสูง8.90 เมตร
ช่วงยาวที่สุด100.00 เมตร
จำนวนช่วง3
ประวัติ
วันเริ่มสร้าง11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524
วันเปิด3 ธันวาคม พ.ศ. 2527
ที่ตั้ง
แผนที่

สะพานพระปกเกล้า (อังกฤษ: Phra Pok Klao Bridge) หรือที่บางคนเรียกกันแบบสั้น ๆ ว่า สะพานปก เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เชื่อมระหว่างถนนจักรเพชร ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับถนนประชาธิปก ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ฝั่งธนบุรี เป็นสะพานคู่ขาไปและขากลับ สร้างเคียงข้างขนานกันกับสะพานพระพุทธยอดฟ้า เนื่องจากการจราจรบริเวณนั้นถึงจุดวิกฤต รัฐบาลจึงเห็นว่าควรมีสะพานอีกแห่งหนึ่งเพื่อช่วยระบายการจราจร โดยได้เว้นที่ช่วงกลางสะพานไว้สำหรับก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลินด้วย ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท

ข้อมูลทั่วไป

  • วันที่ทำการก่อสร้าง : วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524
  • วันเปิดการจราจร : วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2527
  • บริษัทที่ทำการก่อสร้าง : บริษัท สุมิโตโม คอนสตรัคชั่น จำกัด
  • ราคาค่าก่อสร้าง : 475,000,000.00 บาท
  • แบบของสะพาน : เป็นสะพานชนิดต่อเนื่อง
  • โครงสร้างส่วนบน : คอนกรีตอัดแรง
  • สูงจากระดับน้ำ : 8.90 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
  • สร้างสะพานเป็นแบบสะพานคู่ : ห่างกัน 15.00 เมตร (ซึ่งจัดเป็นทางสำหรับโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน)
  • จำนวนช่วงสะพานกลางน้ำ : 3 ช่วง (56.00+100.00+56.00)
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งธนบุรี : 348.20 เมตร
  • เชิงลาดสะพาน ฝั่งพระนคร : 184.80 เมตร
  • ความกว้างของสะพาน : 13.20 เมตร
  • จำนวนช่องทางวิ่ง : 3 ช่องทางจราจร (ของแต่ละสะพาน)
  • ความกว้างผิวจราจรสะพาน : 11.25 เมตร (ของแต่ละสะพาน)
  • ความกว้างช่องละ : 3.25 เมตร
  • ทางเท้ากว้าง : 1.50 เมตร
  • ออกแบบรับน้ำหนัก : H-20-44[1]

ในปัจจุบันมีโครงการก่อสร้าง “สะพานพระปกเกล้าสกายปาร์ค” เพื่อปรับปรุงโครงสร้างเดิมของโครงการรถไฟฟ้าลาวาลินที่สร้างค้างและไม่ได้รับผลประโยชน์มานานกว่า 30 ปี ให้เป็นสวนสาธารณะลอยฟ้าแห่งแรกของประเทศไทย พร้อมมุมพักผ่อน ทางเดิน ทางจักรยาน และจุดชมวิว เชื่อมการสัญจรฝั่งธนบุรีเข้ากับฝั่งพระนคร เริ่มตั้งแต่ปลายสะพานฝั่งธนบุรีเหนือสวนป่าเฉลิมพระเกียรติถึงปลายสะพานฝั่งพระนคร มีระยะทางประมาณ 280 เมตร ระยะเวลาดำเนินการ 360 วัน ลงนามในสัญญาจ้างวันที่ 28 มีนาคม 2562 มีกำหนดแล้วเสร็จวันที่ 23 มีนาคม 2563[2]

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Bureau of Maintenance and Traffic Safety, Thailand. "RAMA VII BRIDGE". สืบค้นเมื่อ 2008-01-06. (อังกฤษ)
  2. เบิกฤกษ์! จาก “รถไฟฟ้าลาวาลิน” สู่ “พระปกเกล้าสกายปาร์ค” สวนสาธารณะเชื่อมต่อฝั่งธนบุรี-พระนคร

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′20″N 100°29′56″E / 13.738999°N 100.498981°E / 13.738999; 100.498981

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาในปัจจุบัน
เหนือน้ำ
สะพานพระพุทธยอดฟ้า
สะพานพระปกเกล้า
ท้ายน้ำ
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถยนต์) สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช (สะพานรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม)