ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดนครปฐม"

พิกัด: 13°49′N 100°04′E / 13.82°N 100.06°E / 13.82; 100.06
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 36: บรรทัด 36:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Image-Sanam Chan Chaleemongkolasana Residence 2.JPG|thumbnail|left|[[พระราชวังสนามจันทร์]]]]
[[ไฟล์:Image-Sanam Chan Chaleemongkolasana Residence 2.JPG|thumbnail|left|[[พระราชวังสนามจันทร์]]]]
'''นครปฐม''' เป็นอู่อารยธรรมสำคัญที่มีประวัติความเป็นมายาวนานในแผ่นดินสุวรรณภูมิ จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์กล่าวว่า เมืองนครปฐมแต่เดิมนั้นตั้งอยู่ริมทะเล เป็นเมืองเก่าแก่ มีความเจริญรุ่งเรืองมานับตั้งแต่สมัยสุวรรณภูมิ และเป็นราชธานีสำคัญในสมัยทวารวดี ในยุคนั้น นครปฐมเป็นแหล่งเผยแพร่อารยธรรมจากประเทศอินเดีย ซึ่งรวมทั้งพุทธศาสนา นครปฐมจึงเป็นศูนย์กลางของความเจริญ มีชนชาติต่าง ๆ อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่เป็นจำนวนมาก ต่อมาได้เกิดความแห้งแล้งขึ้นในเมืองนครปฐม เพราะกระแสน้ำที่ไหลผ่านตัวเมืองเปลี่ยนเส้นทาง ประชาชนจึงอพยพไปตั้งหลักแหล่งอยู่ริมน้ำ และสร้างเมืองใหม่ขึ้นชื่อ “[[เมืองนครไชยศรี]]” หรือ “ศรีวิชัย” นครปฐมจึงกลายเป็นเมืองร้างมาเป็นเวลาหลายร้อยปี จนกระทั่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะที่ทรงยังผนวชได้ธุดงค์ไปพบพระปฐมเจดีย์ และทรงเห็นว่าเป็นเจดีย์องค์ใหญ่ไม่มีที่ใดเทียบเท่า ครั้นเมื่อได้ครองราชย์ จึงโปรดฯ ให้ก่อเจดีย์แบบลังกาครอบองค์เดิมไว้ โดยให้ชื่อว่า “พระปฐมเจดีย์” ทรงปฏิสังขรณ์สิ่งต่าง ๆ ในบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ให้มีสภาพดี และโปรดฯ ให้ขุดคลองเจดีย์บูชาเพื่อให้การเสด็จมานมัสการสะดวกขึ้น<ref>http://123.242.156.6/Nakhonpathom/file/Recapitulate2554.pdf</ref>

ต่อมาในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ได้เริ่มก่อสร้างทางรถไฟสายใต้ผ่านเมือง นครปฐม ซึ่งขณะนั้นยังเป็นป่ารก พระองค์จึงโปรดฯ ให้ย้ายเมืองจากตำบลท่านา [[อำเภอนครชัยศรี]] มาตั้งที่บริเวณองค์พระปฐมเจดีย์เหมือนเช่นครั้งสมัยโบราณครั้งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดฯ ให้สร้างพระราชวังสนามจันทร์ เป็นที่เสด็จแปรพระราชฐานและฝึกซ้อมรบแบบเสือป่า โดยโปรดฯ ให้ตัดถนนเพิ่มขึ้นอีกหลายสาย รวมทั้ง สร้างสะพานเจริญศรัทธาข้ามคลองเจดีย์บูชาเชื่อมระหว่างสถานีรถไฟกับองค์พระปฐมเจดีย์ ตลอดจนสร้าง พระร่วงโรจนฤทธิ์ทางด้านทิศเหนือขององค์พระปฐมเจดีย์และบูรณะองค์พระปฐมเจดีย์ให้สมบูรณ์สวยงามดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน และได้โปรดให้เปลี่ยนชื่อจากเมือง “นครไชยศรี” เป็น “นครปฐม"

== ภูมิศาสตร์ ==
จังหวัดนครปฐมตั้งอยู่บริเวณลุ่ม[[แม่น้ำท่าจีน]] ซึ่งเป็นพื้นที่บริเวณที่ราบลุ่ม[[ภาคกลาง (ประเทศไทย)|ภาคกลาง]] โดยหน่วยงานบางแห่ง เช่น คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กำหนดให้จังหวัดนครปฐมอยู่[[ภาคตะวันตก]] จังหวัดนี้ตั้งอยู่ระหว่างเส้นละติจูดที่ 13 องศา 45 ลิปดา 10 พิลิปดา เส้นลองจิจูดที่ 100 องศา 4 ลิปดา 28 พิลิปดา มีพื้นที่ 2,168.327 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร่ เท่ากับ ร้อยละ 0.42 ของประเทศ และมีพื้นที่เป็นอันดับที่ 62 ของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครไปตามเส้นทาง[[ถนนเพชรเกษม]] 56 กิโลเมตร หรือตามเส้นทาง[[ถนนบรมราชชนนี]] 51 กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟ 62 กิโลเมตร

จังหวัดที่ติดต่อกับจังหวัดนครปฐม วนตามเข็มนาฬิกาจากทิศเหนือ ได้แก่ [[จังหวัดสุพรรณบุรี]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา]] [[จังหวัดนนทบุรี]] [[กรุงเทพมหานคร]] [[จังหวัดสมุทรสาคร]] [[จังหวัดราชบุรี]] และ[[จังหวัดกาญจนบุรี]]

== สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ==
<gallery>
<gallery>
ไฟล์:ตรานครปฐม.gif |ตราประจำจังหวัดนครปฐม
ไฟล์:ตรานครปฐม.gif |ตราประจำจังหวัดนครปฐม

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:23, 14 มิถุนายน 2561

จังหวัดนครปฐม
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันChangwat Nakhon Pathom
คำขวัญ: 
ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวงาม
ข้าวหลามหวานมัน สนามจันทร์งามล้น พุทธมณฑลคู่ธานี
พระปฐมเจดีย์เสียดฟ้า สวยงามตาแม่น้ำท่าจีน
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดนครปฐมเน้นสีแดงประเทศมาเลเซียประเทศพม่าประเทศลาวประเทศเวียดนามประเทศกัมพูชาจังหวัดนราธิวาสจังหวัดยะลาจังหวัดปัตตานีจังหวัดสงขลาจังหวัดสตูลจังหวัดตรังจังหวัดพัทลุงจังหวัดกระบี่จังหวัดภูเก็ตจังหวัดพังงาจังหวัดนครศรีธรรมราชจังหวัดสุราษฎร์ธานีจังหวัดระนองจังหวัดชุมพรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดเพชรบุรีจังหวัดราชบุรีจังหวัดสมุทรสงครามจังหวัดสมุทรสาครกรุงเทพมหานครจังหวัดสมุทรปราการจังหวัดฉะเชิงเทราจังหวัดชลบุรีจังหวัดระยองจังหวัดจันทบุรีจังหวัดตราดจังหวัดสระแก้วจังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดนครนายกจังหวัดปทุมธานีจังหวัดนนทบุรีจังหวัดนครปฐมจังหวัดกาญจนบุรีจังหวัดสุพรรณบุรีจังหวัดพระนครศรีอยุธยาจังหวัดอ่างทองจังหวัดสิงห์บุรีจังหวัดสระบุรีจังหวัดลพบุรีจังหวัดนครราชสีมาจังหวัดบุรีรัมย์จังหวัดสุรินทร์จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดอุบลราชธานีจังหวัดอุทัยธานีจังหวัดชัยนาทจังหวัดอำนาจเจริญจังหวัดยโสธรจังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดมหาสารคามจังหวัดขอนแก่นจังหวัดชัยภูมิจังหวัดเพชรบูรณ์จังหวัดนครสวรรค์จังหวัดพิจิตรจังหวัดกำแพงเพชรจังหวัดตากจังหวัดมุกดาหารจังหวัดกาฬสินธุ์จังหวัดเลยจังหวัดหนองบัวลำภูจังหวัดหนองคายจังหวัดอุดรธานีจังหวัดบึงกาฬจังหวัดสกลนครจังหวัดนครพนมจังหวัดพิษณุโลกจังหวัดอุตรดิตถ์จังหวัดสุโขทัยจังหวัดน่านจังหวัดพะเยาจังหวัดแพร่จังหวัดเชียงรายจังหวัดลำปางจังหวัดลำพูนจังหวัดเชียงใหม่จังหวัดแม่ฮ่องสอน
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดนครปฐมเน้นสีแดง
แผนที่ประเทศไทย จังหวัดนครปฐมเน้นสีแดง
ประเทศ ไทย
การปกครอง
 • ผู้ว่าราชการ ชาญนะ เอี่ยมแสง
(ตั้งแต่ พ.ศ. 2560)
พื้นที่
 • ทั้งหมด2,168.327 ตร.กม.[1] ตร.กม. (Formatting error: invalid input when rounding ตร.ไมล์)
อันดับพื้นที่อันดับที่ 66
ประชากร
 (พ.ศ. 2560)
 • ทั้งหมด911,492 คน[2] คน
 • อันดับอันดับที่ 25
 • อันดับความหนาแน่นอันดับที่ 8
รหัส ISO 3166TH-73
สัญลักษณ์ประจำจังหวัด
 • ต้นไม้จัน
 • ดอกไม้แก้ว
 • สัตว์น้ำกุ้งก้ามกราม
ศาลากลางจังหวัด
 • ที่ตั้งภายในศูนย์ราชการจังหวัดนครปฐม เลขที่ 99 หมู่ที่ 6 ถนนบางเตย-ดอนยายหอม ตำบลถนนขาด อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000
 • โทรศัพท์0 3434 0003-4
 • โทรสาร0 3434 0003-4
เว็บไซต์http://www.nakhonpathom.go.th
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

จังหวัดนครปฐม เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร จังหวัดนี้มีประวัติศาสตร์เก่าแก่ยาวนาน เชื่อว่าเป็นที่ตั้งเก่าแก่ของเมืองในสมัยทวารวดี โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดีเป็นจำนวนมาก

ประวัติ

พระราชวังสนามจันทร์

การเมืองการปกครอง

หน่วยการปกครอง

การปกครองส่วนภูมิภาค

แผนที่อำเภอในจังหวัดนครปฐม

การปกครองส่วนภูมิภาคในจังหวัดนครปฐม แบ่งออกเป็น 7 อำเภอ ประกอบด้วย 106 ตำบล และ 930 หมู่บ้าน โดยอำเภอต่าง ๆ มีดังนี้

  1. อำเภอเมืองนครปฐม
  2. อำเภอกำแพงแสน
  3. อำเภอนครชัยศรี
  4. อำเภอดอนตูม
  5. อำเภอบางเลน
  6. อำเภอสามพราน
  7. อำเภอพุทธมณฑล

การปกครองส่วนท้องถิ่น

พื้นที่จังหวัดนครปฐมประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 117 แห่ง แบ่งตามประเภทและอำนาจบริหารจัดการภายในท้องที่ได้เป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 4 แห่ง เทศบาลตำบล 18 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 93 แห่ง [3]

เขตเทศบาลในจังหวัดนครปฐม
ข้อมูลเทศบาลในจังหวัดนครปฐม
ลำดับ ชื่อเทศบาล พื้นที่
(ตร.กม.)
ตั้งเมื่อ
(พ.ศ.)[# 1]
อำเภอ ครอบคลุมตำบล ประชากร
สิ้นปี 2555
(คน)[4]
ทั้งตำบล บางส่วน รวม
เทศบาลนคร
1   เทศบาลนครนครปฐม 19.85 2542 เมืองนครปฐม 1 8 9 79,148
เทศบาลเมือง
2 (1)   เทศบาลเมืองสามพราน 8.15 2551[5] สามพราน 4 4 16,820
3 (2)   เทศบาลเมืองไร่ขิง 25.4 2551[6] สามพราน 1 1 26,392
4 (3)   เทศบาลเมืองกระทุ่มล้ม 10.9 2551[7] สามพราน 1 1 22,701
5 (4)   เทศบาลเมืองนครปฐม 22.20 2556[8] เมืองนครปฐม 1 1 12,107
เทศบาลตำบล
6 (1)   เทศบาลตำบลขุนแก้ว 2538 นครชัยศรี 1 1 7,081[9]
7 (2)   เทศบาลตำบลดอนยายหอม 2542 เมืองนครปฐม 1 1 6,574
8 (3)   เทศบาลตำบลธรรมศาลา 2542 เมืองนครปฐม 1 1 7,300
9 (4)   เทศบาลตำบลโพรงมะเดื่อ 2542 เมืองนครปฐม 1 1 10,521
10 (5)   เทศบาลตำบลกำแพงแสน 2542 กำแพงแสน 2 2 6,936
11 (6)   เทศบาลตำบลนครชัยศรี 2542 นครชัยศรี 5 5 8,169
12 (7)   เทศบาลตำบลห้วยพลู 2542 นครชัยศรี 1 1 2,066
13 (8)   เทศบาลตำบลสามง่าม 2542 ดอนตูม 2 2 13,565
14 (9)   เทศบาลตำบลบางเลน 2542 บางเลน 2 2 7,999
15 (10)   เทศบาลตำบลบางหลวง 2542 บางเลน 1 1 2,322
16 (11)   เทศบาลตำบลรางกระทุ่ม 2542 บางเลน 1 1 2,303
17 (12)   เทศบาลตำบลลำพญา 2542 บางเลน 1 1 1,977
18 (13)   เทศบาลตำบลอ้อมใหญ่ 12 2542 สามพราน 1 1 2 23,527
19 (14)   เทศบาลตำบลศาลายา 13.50 2542 พุทธมณฑล 1 1 11,567
20 (15)   เทศบาลตำบลคลองโยง 31.68 2550 พุทธมณฑล 1 1 8,628
21 (16)   เทศบาลตำบลบางกระทึก 12.85 2551 สามพราน 1 1 10,861
22 (17)   เทศบาลตำบลมาบแค 2555 เมืองนครปฐม 1 1
23 (18)   เทศบาลตำบลบ่อพลับ 2555 เมืองนครปฐม 1 1
  1. หมายถึงปีที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลในระดับปัจจุบัน

รายชื่อผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม

ลำดับ ชื่อ ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
1 พระยาศิริชัยสุรินทร์ ไม่ทราบข้อมูล
2 พระยาศรีวิชัย ไม่ทราบข้อมูล
3 พระยาภูมิพิชัย ไม่ทราบข้อมูล
4 พระยาสำราญนฤปกิจ ไม่ทราบข้อมูล
5 พระยาจินดารักษ์ ไม่ทราบข้อมูล
6 พระยาศรีสุทัศน์ ไม่ทราบข้อมูล
7 พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพยอาภา พ.ศ. 2474 - พ.ศ. 2476
8 พระยาพิพิธอำพล พ.ศ. 2476 - พ.ศ. 2478
9 พระอรรถนิพนธ์ปรีชา พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2478
10 พระกล้ากลางสมร พ.ศ. 2478 - พ.ศ. 2479
11 พระณรงฤทธี พ.ศ. 2479 - พ.ศ. 2480
12 หลวงประสิทธิบุรีรักษ์ พ.ศ. 2480 - พ.ศ. 2482
13 หลวงนรกิจบริหาร พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2482
14 หลวงประชากรบริรักษ์ พ.ศ. 2482 - พ.ศ. 2487
15 นายทวี แรงขำ พ.ศ. 2487 - พ.ศ. 2488
16 นายอรรถสิทธิ สิทธิสุนทร 15 พฤษภาคม 2488 - 29 กุมพาพันธ์ 2490
17 ขุนนครรัฐเขต 1 มีนาคม 2490 - 21 ธันวาคม 2490
18 ขุนไมตรีประชารักษ์ 1 มกราคม 2491 - 20 มีนาคม 2494
19 นายแม้น อรจันทร์ 3 เมษายน 2494 - 31 ธันวาคม 2494
20 นายพยุง ตันติลีปิกร 8 มกราคม 2495 - 3 เมษายน 2496
21 ขุนคำณวนวิจิตร 3 เมษายน 2496 - 31 ธันวาคม 2500
22 นายพล วงศาโรจน์ 9 เมษายน 2501 - 26 ตุลาคม 2510
23 นายดำรง สุนทรศารทูล 26 ตุลาคม 2510 - 1 ตุลาคม 2513
ลำดับ ชื่อ ระยะเวลาดำรงตำแหน่ง
24 นายประพจน์ เลขะรุจิ 1 ตุลาคม 2513 - 16 กรกฎาคม 2518
25 นายคล้าย จิตพิทักษ์ 16 กรกฎาคม 2518 - 1 ตุลาคม 2520
26 นายเจริญ ธำรงเกียรติ 1 ตุลาคม 2520 - 1 ตุลาคม 2524
27 นายสมพร ธนสถิตย์ 1 ตุลาคม 2524 - 30 กันยายน 2527
28 นายสุชาติ พัววิไล 1 ตุลาคม 2527 - 30 กันยายน 2530
29 นายสุกิจ จุลลนันทน์ 1 ตุลาคม 2530 - 30 กันยายน 2534
30 นายประเวศ ต่อตระกูล 1 ตุลาคม 2534 - 30 กันยายน 2537
31 นายณัฏฐ์ ศรีวิหค 1 ตุลาคม 2537 - 30 กันยายน 2539
32 นายวิชัย ธรรมชอบ 1 ตุลาคม 2539 - 30 เมษายน 2540
33 นายสุชาญ พงษ์เหนือ 1 พฤษภาคม 2540 - 30 กันยายน 2542
34 นายมานิต ศิลปอาชา 1 ตุลาคม 2542 - 30 กันยายน 2544
35 นายนาวิน ขันธหิรัญ 1 ตุลาคม 2544 - 30 กันยายน 2547
36 นายประสาท พงษ์ศิวาภัย 1 ตุลาคม 2547 - 30 กันยายน 2549
37 นายปรีชา บุตรศรี 13 พฤศจิกายน 2549 - 30 กันยายน 2550
38 นายชนินทร์ บัวประเสริฐ 1 ตุลาคม 2550 - 30 กันยายน 2552
39 หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล 1 ตุลาคม 2552 - 30 กันยายน 2553
40 นายชิดพงษ์ ฤทธิประศาสน์ 1 ตุลาคม 2553 - 30 กันยายน 2554
41 นายนิมิต จันทน์วิมล 13 มกราคม 2555 - 30 กันยายน 2555
42 นายวันชาติ วงษ์ชัยชนะ 8 ตุลาคม 2555 - 30 กันยายน 2557
43 นายชาติชาย อุทัยพันธ์ 3 พฤศจิกายน 2557 - 30 กันยายน 2559
44 นายอดิศักดิ์ เทพอาสน์ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
45 นายชาญนะ เอี่ยมแสง 1 ตุลาคม 2560 - ปัจจุบัน
สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎรจังหวัดนครปฐม
ปีประชากร±%
2549 820,704—    
2550 830,970+1.3%
2551 843,599+1.5%
2552 851,426+0.9%
2553 860,246+1.0%
2554 866,064+0.7%
2555 874,616+1.0%
2556 882,184+0.9%
อ้างอิง:กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย[10]

สถานศึกษา

ระดับอุดมศึกษา
ระดับอาชีวศึกษา
  • วิทยาลัยอาชีวศึกษานครปฐม
  • วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทศบาลนครปฐม
  • วิทยาลัยเทคนิคนครปฐม
  • วิทยาลัยสารพัดช่างนครปฐม
  • วิทยาลัยการอาชีพนครปฐม
  • วิทยาลัยการอาชีพบางแก้วฟ้า
  • การอาชีพพุทธมณฑล
  • กาญจนาภิเษกวิทยาลัย ช่างทองหลวง สังกัด อาชีวศึกษามหานคร
  • วิทยาลัยเทคโนโลยีนครปฐม
โรงเรียน
ดูที่ รายชื่อโรงเรียนในจังหวัดนครปฐม

สถานที่ท่องเที่ยว

ภาพซากพระราชวังปฐมนครในรัชกาลที่ 4
  • วัดไร่ขิง
  • วัดพระประโทน
  • วัดดอนยายหอม
  • วัดอ้อน้อย
  • พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระปฐมเจดีย์ (ด้านทิศใต้ขององค์พระปฐมเจดีย์ ด้านพระศิลาขาว)
  • พิพิธภัณฑ์ศิลปะนกฮูก
  • เจษฎา เทคนิค มิวเซียม (Jesada Technik Museum)
  • วู้ดแลนด์ เมืองไม้ (Woodland Museum & Resort) อำเภอนครชัยศรี

บุคคลที่มีชื่อเสียง

ศาสนา
บันเทิง
กีฬา

อ้างอิง

  1. ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ข้อมูลการปกครอง." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dopa.go.th/padmic/jungwad76/jungwad76.htm [ม.ป.ป.]. สืบค้น 18 เมษายน 2553.
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/pk/pk_57.pdf 2558. สืบค้น 5 กุมภาพันธ์ 2560.
  3. กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. กระทรวงมหาดไทย. "สรุปข้อมูล อปท ทั่วประเทศ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dla.go.th/work/abt/index.jsp 2556. สืบค้น 20 กันยายน 2556.
  4. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "รายงานสถิติจำนวนประชากร และบ้าน ทั่วประเทศ และรายจังหวัด ณ เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/pop55_1.html 2556. สืบค้น 1 เมษายน 2556.
  5. สำนักงานเทศบาลเมืองสามพราน. "ข้อมูลทั่วไป: สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานสำคัญ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.samphrancity.go.th/index.php?options=content&mode=cate&id=1 [ม.ป.ป.]. สืบค้น 23 ธันวาคม 2555.
  6.  กระทรวงมหาดไทย. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นเทศบาลเมืองไร่ขิง.
  7. สำนักงานเทศบาลเมืองกระทุ่มล้ม. "ข้อมูลสภาพทั่วไป." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.krathumlom.com/basic/general.php [ม.ป.ป.]. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2556.
  8. กระทรวงมหาดไทย. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลนครปฐม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม เป็นเทศบาลเมืองนครปฐม.
  9. เทศบาลตำบลขุนแก้ว. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนหมู่บ้านประชากร 23 กุมภาพันธ์ 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.khunkaew.go.th/about 2557. สืบค้น 24 เมษายน 2557.
  10. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

13°49′N 100°04′E / 13.82°N 100.06°E / 13.82; 100.06