ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นตำแหน่งราชการฝ่ายพลเรือนในประเทศไทย มีสถานะเป็นข้าราชการพลเรือนสามัญ ประเภทบริหาร ระดับสูง สายงานบริหารงานปกครอง สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย โดยผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้[1] เป็นข้าราชการพลเรือนสามัญในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ดำรงตำแหน่งในตำแหน่งหนึ่งมาแล้ว เช่น ประเภทบริหาร ระดับต้น ไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือ ประเภทบริหาร ระดับต้น และ ประเภทอำนวยการ รวมกันไม่น้อยกว่า 3 ปี

ด้านล่างนี้เป็น ผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทยในปัจจุบัน (ไม่รวมกรุงเทพมหานครซึ่งเป็นเขตการปกครองเทียบเท่า)[2]

ผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทยในปัจจุบัน
จังหวัด รูปภาพ ชื่อ วาระ หมายเหตุ
กระบี่ สมชาย หาญภักดีปฏิมา ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566 -
กาญจนบุรี ร้อยโท ทศพล ไชยโกมินทร์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
กาฬสินธุ์ สนั่น พงษ์อักษร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
กำแพงเพชร ชาธิป รุจนเสรี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ขอนแก่น ไกรสร กองฉลาด ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
จันทบุรี มนต์สิทธิ์ ไพศาลธนวัฒน์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ฉะเชิงเทรา ชลธี ยังตรง ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ชลบุรี ธวัชชัย ศรีทอง ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ชัยนาท นที มนตริวัต ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
ชัยภูมิ อนันต์ นาคนิยม ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ชุมพร วิสาห์ พูลศิริรัตน์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
เชียงราย พุฒิพงศ์ ศิริมาตย์ ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
เชียงใหม่ นิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ตรัง ทรงกลด สว่างวงศ์ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ตราด ณัฐพงษ์ สงวนจิตร ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ตาก สมชัย กิจเจริญรุ่งโรจน์ ตั้งแต่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564
นครนายก สุภภิณห์ แวงชิน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
นครปฐม สุรศักดิ์ เจริญศิริโชติ[3] ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
นครพนม วันชัย จันทร์พร ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
นครราชสีมา ชัยวัฒน์ ชื่นโกสุม ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567
นครศรีธรรมราช ขจรเกียรติ รักพานิชมณี ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
นครสวรรค์ ทวี เสริมภักดีกุล ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
นนทบุรี สุธี ทองแย้ม ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
นราธิวาส ว่าที่ร้อยตรี ตระกูล โทธรรม ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
น่าน ชัยนรงค์ วงศ์ใหญ่ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
บึงกาฬ จุมพฏ วรรณฉัตรศิริ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
บุรีรัมย์ นฤชา โฆษาศิวิไลซ์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ปทุมธานี ภาสกร บุญญลักษม์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ประจวบคีรีขันธ์ สมคิด จันทมฤก ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567
ปราจีนบุรี รณรงค์ นครจินดา ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
ปัตตานี พาตีเมาะ สะดียามู ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
พระนครศรีอยุธยา นิวัฒน์ รุ่งสาคร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
พะเยา รัฐพล นราดิศร ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
พังงา สุพจน์ รอดเรือง ณ หนองคาย ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
พัทลุง นิศากร วิศิษฏ์สรอรรถ ตั้งแต่ 28 มกราคม พ.ศ. 2566
พิจิตร อดิเทพ กมลเวชช์ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
พิษณุโลก ภูสิต สมจิตต์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
เพชรบุรี ณัฏฐชัย นำพูลสุขสันติ์ ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
เพชรบูรณ์ กฤษณ์ คงเมือง[4] ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
แพร่ ชุติเดช มีจันทร์ ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
ภูเก็ต โสภณ สุวรรณรัตน์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
มหาสารคาม วิบูรณ์ แววบัณฑิต ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
มุกดาหาร วรญาณ บุญณราช ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
แม่ฮ่องสอน ชูชีพ พงษ์ไชย ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567
ยโสธร ชรินทร์ ทองสุข ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ยะลา อำพล พงศ์สุวรรณ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ร้อยเอ็ด ทรงพล ใจกริ่ม ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ระนอง นริศ นิรามัยวงศ์ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ระยอง ไตรภพ วงศ์ไตรรัตน์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ราชบุรี เกียรติศักดิ์ ตรงศิริ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ลพบุรี อำพล อังคภากรณ์กุล ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ลำปาง ชัชวาลย์ ฉายะบุตร ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
ลำพูน สันติธร ยิ้มละมัย ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
เลย ชัยพจน์ จรูญพงศ์ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
ศรีสะเกษ อนุพงศ์ สุขสมนิตย์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สกลนคร ชูศักดิ์ รู้ยิ่ง ตั้งแต่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2567 -
สงขลา สมนึก พรหมเขียว ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สตูล ศักระ กปิลกาญจน์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สมุทรปราการ ศุภมิตร ชิณศรี ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
สมุทรสงคราม ศิริศักดิ์ ศิริมังคะลา ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
สมุทรสาคร ผล ดำธรรม ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สระแก้ว ปริญญา​ โพธิสัตย์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2564
สระบุรี บัญชา เชาวรินทร์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สิงห์บุรี สุเมธ ธีรนิติ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
สุโขทัย สุชาติ ทีคะสุข ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
สุพรรณบุรี ณัฐภัทร สุวรรณประทีป[3] ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563
สุราษฎร์ธานี เจษฎา จิตรัตน์ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566
สุรินทร์ พิจิตร บุญทัน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
หนองคาย สมภพ สมิตะสิริ ตั้งแต่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2567
หนองบัวลำภู สุวิทย์ จันทร์หวร ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
อ่างทอง พิริยะ ฉันทดิลก ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
อำนาจเจริญ ว่าที่พันตรี อดิศักดิ์ น้อยสุวรรณ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
อุดรธานี วันชัย คงเกษม ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2565
อุตรดิตถ์ ศิรวัฒน์ บุปผาเจริญ ตั้งแต่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2566
อุทัยธานี ธีรพัฒน์ คัชมาตย์ ตั้งแต่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
อุบลราชธานี ศุภศิษย์ กอเจริญยศ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2566

ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้รับนโยบายและคำสั่งจากนายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ารัฐบาล คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มาปฏิบัติการให้เหมาะสมกับท้องที่และประชาชน และเป็นหัวหน้าบังคับบัญชาบรรดาข้าราชการฝ่ายบริหาร ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ในราชการส่วนภูมิภาคในเขตจังหวัด และรับผิดชอบในราชการจังหวัดและอำเภอ[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. ประกาศกระทรวงมหาดไทย
  2. รายนามผู้ว่าราชการจังหวัด
  3. 3.0 3.1 "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-08-25. สืบค้นเมื่อ 2023-04-19.
  4. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งข้าราชการพลเรือนสามัญ" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-08-25. สืบค้นเมื่อ 2023-04-19.
  5. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔