รายชื่อธงในประเทศเบลารุส

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เบื้องล่างต่อไปนี้ เป็นข้อมูลอย่างสังเขป เกี่ยวกับธงชาติ และธงอื่นๆ ที่ใช้ใน สาธารณรัฐเบลารุส สำหรับการใช้ศักราชในบทความนี้ใช่ปีคริสต์ศักราช เพื่อความสะดวกในการอ้างอิงถึงประวัติศาสตร์สากลเป็นหลัก

ธงชาติ[แก้]

ดูบทความหลักที่: ธงชาติเบลารุส
ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
Flag of Belarus (1995–2012).svg ค.ศ. 1995-2012 ธงชาติ และ ธงราชการ สัดส่วนธง 1:2
Flag of Belarus.svg ค.ศ. 2012 — ปัจจุบัน

ธงประจำตำแหน่งราชการ[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
Flag of the President of Belarus.svg ค.ศ. 1997 — ปัจจุบัน ธงประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐเบลารุส ธงชาติเบลารุส ขนาดสัดส่วนธง 5:6 กลางธงมีภาพตราแผ่นดินแบบลายเส้นสีทอง

ธงราชการ[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
Flag of the Belarusian State Committee of Aviation.png ค.ศ. 2001 — ปัจจุบัน ธงคณะกรรมาธิการแห่งรัฐ ในกิจการการบิน ธงพื้นสีฟ้า ที่ด้านคันธงมีภาพตราประจำคณะกรรมาธิการ ซึ่งอยู่ภายในรูปสามเหลี่ยมสีแดง
Flag of Belarus Customs.png ค.ศ. 2001 — ปัจจุบัน ธงเจ้าพนักงานกรมศุลกากร ธงพื้นสีเขียว กลางธงมีตราประจำหน่วยงาน
Flag of the Ministry of Foreign Affairs of Belarus.svg ค.ศ. 2018—ปัจจุบัน ธงประจำกระทรวงการต่างประเทศ

ธงกองทัพ[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
ธงเหล่าทัพ
Flag of the Armed Forces of Belarus.svg ค.ศ. 2000—ปัจจุบัน ธงประจำกองทัพเบลารุส ลักษณะอย่างธงชาติ กลางธงมีตราแผ่นดิน
8 มีนาคม ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำกระทรวงกลาโหม ลักษณะอย่างธงกองทัพ กลางธงมีตราราชการกระทรวงกลาโหม รูปดาวทองห้าแฉก รองรับด้วยช่อโอ๊ก
Flag of the Belarusian Land Forces.svg 8 มีนาคม ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำกองทัพบก ธงพื้นแดงมีตราประจำกองทัพบกเบลารุส
Flag of the Belarusian Air Force.svg ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำกองทัพอากาศ ธงพื้นสีฟ้ามีรัศมีสืทอง กลางธงมีตราประจำกองทัพอากาศ ขนาดกว้างยาวเท่ากับ 2 ใน 5 ส่วนของด้านกว้างของธง
Flag of the Special Forces of Belarus.png ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำหน่วยส่งทางอากาศ (เหล่าทหารพลร่ม) ธงพื้นสีฟ้า มีแถบตามยาวสีเขียววางพาด กลางธงมีตราเครื่องหมายเหล่าทหารพลร่ม ขนาดกว้างยาวเท่ากับ 2 ใน 5 ส่วนของด้านกว้างของธง
Flag of the Presidential Seurity Service of Belarus (Reverse).png ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำสำนักงานความมั่นคงกลาง (ด้านหลัง) ลักษณะอย่างธงกองทัพ กลางธงมีตราราชการสำนักงานความมั่นคงกลาง ประกอบคำขวัญใต้ภาพตาราชการว่า "Абавязак. Гонар. Айчына." (หน้าที่. เกียรติยศ. มาตุภูมิ.)
ธงผู้บัญชาการ
Флаг Генерального штаба Вооруженных Сил Республики Беларусь.png ค.ศ. 2007 — ปัจจุบัน ธงประธานเสนาธิการกองทัพ
? — ปัจจุบัน ธงผู้บัญชาการหน่วยส่งทางอากาศ (เหล่าทหารพลร่ม)

ธงกองกำลังกึ่งทหาร[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
Ensign of the Belarusian Frontier Guard.svg ค.ศ. 2000 — ปัจจุบัน ธงนาวีหน่วยพิทักษ์ชายแดน ธงพื้นสีเขียว มีรูปกากบาททแยงสีแดง
Flag of the Chairman of State Committee of Belarusian Frontier Guard.svg ค.ศ. 2000 — ปัจจุบัน ธงประธานคณะกรรมาธิการแห่งรัฐ ประจำหน่วยพิทักษ์ชายแดน ธงพื้นสีเขียว มีรูปกากบาททแยงสีแดง กลางรูปกากบาทมีภาพตราแผ่นดิน
Vlag ontbreekt.svg ค.ศ. 2000 — ปัจจุบัน ธงผู้บัญชาการหน่วยพิทักษ์ชายแดน ธงพื้นสีเขียว มีรูปกากบาททแยงสีแดง กลางกากบาทมีภาพตราหน่วยพิทักษ์ชายแดน
ค.ศ. 2000 — ปัจจุบัน ธงกระทรวงสถานการณ์ฉุกเฉิน
Flag of DOSAAF of the Republic of Belarus.png ค.ศ. 2003 — ปัจจุบัน ธงสมาคมพลเรือนอาสาสมัครเบลารุสของกองทัพเบลารุส (The Voluntary Society of Assistance to the Army, the Air Force and the Navy of the Republic of Belarus - DOSAAF) ธงพื้นสีฟ้า กลางมีตราประจำสมาคม

ธงในอดีต[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
Lukashenko flag idea 1995.svg ไม่มีการใช้ แบบธงชาติเบลารุส ซึ่งมีการเสนอเมื่อ ค.ศ. 1995 ธงพื้นแดง ขนาบด้วยแถบเล็กสีเขียวที่ตอนบนและตอนล่างของธง
Flag of the Byelorussian Soviet Socialist Republic (1951–1991).svg ค.ศ. 1951 — 1991 ธงชาติไบโลรัสเซียโซเวียต ธงชาติสหภาพโซเวียต มีลวดลายแนวตั้งสีแดงบนพื้นขาวประดับที่ด้านติดคันธง
Flag of the Byelorussian Soviet Socialist Republic (1937-1951).svg ค.ศ. 1944-1951 มีลักษณะเดียวกับธงที่ประกาศใช้เมื่อ ค.ศ. 1937 โดยเพิ่มรูปค้อนเคียวสีเหลืองและดาวแดงขอบเหลืองที่มุมบนคันธง
Flag of Germany (1935–1945).svg ค.ศ. 1941-1944 ธงชาตินาซีเยอรมนี ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เบลารุสตกอยู่ภายใต้การยึดครองของเยอรมนี เป็นส่วนหนึ่งของไรชส์คอมมิสซาเรียทออสท์ลันด์
Flag of the Byelorussian Soviet Socialist Republic (1927-1937).svg ค.ศ. 1937-1940 ธงชาติไบโลรัสเซียโซเวียต ธงพื้นสีแดงมีอักษรย่อเขียนด้วยอักษรซีริลลิกว่า มุมบนคันธง БССР (BSSR)
Flag of the Byelorussian Soviet Socialist Republic (1919–1927).svg ค.ศ. 1919-1937 ธงพื้นสีแดง มุมบนคันธงมีอักษรย่อเขียนด้วยอักษรซีริลลิกว่า ССРБ (SSRB) ด้วยตัวอักษรสีทองภายในกรอบสี่เหลี่ยมขอบสีเหลือง.
Flag of Central Lithuania 1920.svg ค.ศ. 1919-1922 ธงชาติสาธารณรัฐลิทัวเนียกลาง ธงพื้นสีแดงล้วน ใจกลางธงมีตราแผ่นดิน
Flag of the Lithuanian-Byelorussian SSR.svg 17 กุมภาพันธ์-17 กรกฎาคม ค.ศ. 1919 ธงชาติลิทัวเนีย-ไบโลรัสเซียโซเวียต (Lithuanian-Byelorussian SSR) ธงพื้นสีแดงล้วน
Flag of Belarus (government in exile, 1919-1925).svg ค.ศ. 1919-1925 ธงรัฐบาลพลัดถิ่นของสาธารณรัฐเบลารุส ธงพื้นขาว กลางมีแถบสีแดงตามแนวนอน ขนาบด้วยขอบสีดำ สัดส่วนธง 1:2
Flag of Belarus (1918, 1991–1995).svg ค.ศ. 1918-1919;
ค.ศ. 1942-1944;
ค.ศ. 1991-1995
ธงชาติสาธารณรัฐประชาชนเบลารุส ธงแถบตามยาวสีขาว-แดง-ขาว สัดส่วนธง 1:2 อนึ่งธงนี้ใช้เป็นธงของสภากลางเบียโลรัสเซีย ในสมัยการยึดครองโดยนาซีเยอรมนีระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2
Chorągiew królewska króla Zygmunta III Wazy.svg ศตวรรษที่ 17 ธงเครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย
Grunwald Pogoń czerwona.svg ศตวรรษที่ 15 ธงราชรัฐลิทัวเนีย

ธงประจำเขตการปกครอง[แก้]

ภาพธง ระยะเวลาที่ใช้ การใช้ คำอธิบาย
Flag of Minsk, Belarus.svg ค.ศ. 2000 — ปัจจุบัน ธงประจำกรุงมินสค์ ธงพื้นสีฟ้า กลางธงมีตราประจำกรุงมินสค์
Flag of Brest Voblast, Belarus.svg ค.ศ. 2004 — ปัจจุบัน ธงประจำจังหวัดเบรสต์ ธงพื้นสีฟ้า กลางธงมีรูปวัวไบซันสีเหลือง บนแถบซึ่งเป็นรูปดัดแปลงจากหอคอยสีแดง รูปดังกล่าวเป็นตราประจำจังหวัดเบรสต์
Flag of Homyel Voblast.svg ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำจังหวัดกอเมล ธงพื้นสีเขียว กลางธงเฉพาะด้านหน้ามีภาพตราประจำจังหวัด สัดส่วนธง 1:2
Vlag ontbreekt.svg ค.ศ. 2007 — ปัจจุบัน ธงประจำจังหวัดกรอดนา ธงพื้นสีฟ้า กลางธงเฉพาะด้านหน้ามีภาพตราประจำจังหวัด สัดส่วนธง 1:2
Flag of Mahilyow Voblast.svg ค.ศ. 2005 — ปัจจุบัน ธงประจำจังหวัดมากีลอฟ ธงพื้นสีแดง กลางธงเฉพาะด้านหน้ามีภาพตราประจำจังหวัด สัดส่วนธง 1:2
Flag of Viciebsk, Belarus.svg ค.ศ. 2004 — ปัจจุบัน ธงประจำจังหวัดวี​เซียบสค์
Vlag ontbreekt.svg ค.ศ. 2000 — ปัจจุบัน ธงประจำจังหวัด

ดูเพิ่ม[แก้]