รายชื่อธงในจักรวรรดิเยอรมัน
หน้านี้คือรายชื่อธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ใน สมาพันธรัฐเยอรมันเหนือ (ค.ศ. 1866/67–1871) และ จักรวรรดิเยอรมัน (ค.ศ. 1871–1918)
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: Flags of the German Empire |
ธงชาติ[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1866–1918 | ธงชาติ และ ธงค้าขาย | ธงแบ่งเป็นแถบแนวนอนสี 3 แถบ ดำ-ขาว-แดง |
ธงเรือ[แก้]
ธงราชการ[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1896–1918 | ธงเรือช่วยรบ และ ธงเรือพลเรือนบังคับการโดยทหาร | ธงค้าขายแบบเพิ่มเติมมีรูปกางเขนเหล็ก. |
![]() |
ค.ศ. 1871–1892 | ธงเรือราชการ | มีรูปสมอเรือสีฟ้าที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี. |
![]() |
ธงเรือศุลกากร | มีรูปสมอเรือสีฟ้าประกอบอักษรย่อสีแดง "KZ" ที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี, . | |
![]() |
ธงเรือนำร่อง | มีรูปสมอเรือสีฟ้าไขว้ที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี. | |
![]() |
ธงเรือขนส่งสินค้า | มีรูปสมอเรือสีแดง4สมอไขว้ที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี | |
![]() |
ธงเรือไปรษณีย์ | มีรูปแตรสีทองที่มุมล่างคันธงบนธงนาวี | |
![]() |
ค.ศ. 1892–1918 | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปแตรสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงกลมสีขาว. | |
![]() |
ค.ศ. 1893–1918 | ธงราชการ | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูมงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงกลมสีขาว. |
![]() |
ธงเรือราชการสำหรับใช้ในทะเล | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงกลมสีขาว. |
ธงนาวี[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1871–1892 | ธงนาวี | |
![]() |
ค.ศ. 1892–1903 | ธงจักรพรรดินาวี | .[1] |
![]() |
ค.ศ. 1903–1918 | . |
ธงฉาน[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1866/67–1871 | ธงฉาน | อัตราส่วน 2:3[2] |
![]() |
ค.ศ. 1871–1918 | อัตราส่วน 3:5 | |
![]() |
ค.ศ. 1871–1892 | ธงฉานเรือไปรษณีย์ | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปแตรสีทอง |
![]() |
ธงฉานเรือราชการ | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือสีฟ้า สำหรับเรือราชการในดินแดนแอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี | |
![]() |
ธงฉานเรือศุลกากร | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือสีฟ้าประกอบอักษรย่อสีแดง "KZ" | |
![]() |
ธงฉานเรือนำร่อง | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีรูปสมอเรือสีฟ้าไขว้ | |
![]() |
ธงฉานเรือขนส่งสินค้า | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธง มีรูปสมอเรือสีแดง4สมอไขว้. |
ธงเรือยอชต์[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1893–1918 | ธงเรือยอชต์หลวงคีล Kaiserlichen Yachtklubs Kiel | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีตราอาร์มนกอินทรีปรัสเซียประกอบสมอสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงรีสีขาว |
![]() |
ค.ศ. 1906–1918 | ธงเรือยอชต์ Segelklubs „Rhe“ in Königsberg | Der Preußische Adler aufgelegt auf ein Schild, dieses aufgelegt auf ein Schild mit dem „Deutschordenskreuz“ |
![]() |
ค.ศ. 1911–1918 | ธงเรือยอชต์ Großherzoglich Mecklenburgischen Jachtklubs in Rostock | ลักษณะเดียวกับธงชาติ ประกอบธงรอสสต็อกที่มุมบนคันธง |
![]() |
ค.ศ. 1913–1918 | ธงเรือยอชต์ Königlich Württembergischen Jachtklubs in Friedrichshafen | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางค่อนมาทางคันธงมีตราอาร์มเวือร์ทเทิมแบร์ค |
![]() |
ค.ศ. 1914–1918 | ธงเรือยอชต์หลวงมอร์เตอร์ยอชต์ เบอร์ลิน-ชาลอทเต็นเบิร์ก Kaiserlichen Motorjacht-Klubs Berlin-Charlottenburg | ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางค่อนมาทางคันธงมีตราอาร์มนกอินทรีปรัสเซียประกอบสมอและฟันเฟืองสีทองภายใต้มงกุฎพระจักรพรรดิ์ในวงรีสีขาว |
![]() |
ค.ศ. 1914–1918 | ธงเรือยอชต์ Deutschen Seglerverbands in Hamburg | Der Preußische Adler auf ein Wappenschild gelegt |
ธงดินแดนอาณานิคม[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
แอฟริกาตะวันออกของเยอรมนี | หัวสิงโตภายในอาร์มสีแดง | |
![]() |
แคเมอรูนของเยอรมนี | ช้างภายในอาร์มสีแดง | |
![]() |
โตโกแลนด์ | งูเห่า2ตัวเลื้อยเข้าหาต้นปาล์มภายในอาร์มสีเขียวอ่อน | |
![]() |
แอฟริกาตะวันตกเฉียงใต้ของเยอรมนี | หัวควายภายในอาร์มสีน้ำเงินประกอบตราอาร์มนกอินทรีในช่องสีเหลือง | |
![]() |
ซามัวของเยอรมนี | ต้นมะพร้าวประกอบคลื่นทะเลภายในอาร์มสีแดง | |
![]() |
นิวกินีของเยอรมนี | นกปักษาสวรรค์ภายในอาร์มสีเขียว |
ธงในพระราชวงศ์[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงพระอิสริยยศสำหรับพระมหากษัตริย์แห่งจักรวรรดิเยอรมัน
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1871 | ธงพระอิสริยยศพระจักรพรรดิ | . |
![]() |
ค.ศ. 1871–1888 | . | |
![]() |
ค.ศ. 1888–1918 | .[3] | |
![]() |
ค.ศ. 1871–1901 | ธงพระอิสริยยศพระจักรพรรดินี | .[4] |
![]() |
ค.ศ. 1888–1918 | . | |
![]() |
ค.ศ. 1871–1888 | ธงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมาร | . |
![]() |
ค.ศ. 1888–1918 | . |
ธงยศทหาร[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1900–1901 | ธงผู้บัญชาการกองกำลังเยอรมนี | คทาจอมพลเยอรมันไขว้ประกอบธงฉาน |
ธงทหารบก[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1871–1918 | ธงผู้บัญชาการกองทัพบก | |
![]() |
ธงผู้บัญชาการกองกำลัง | ||
![]() |
ธงผู้บัญชาการกองพล | ลักษณะเดียวกับธงชาติ เป็นรูปสามเหลี่ยมปลายแหลม |
ธงทหารเรือ[แก้]
ธงเรือราชสำนัก[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1895–1918 | ธงผู้บังคับการเรือพระจักรพรรดิ | |
![]() |
ค.ศ. 1908–1918 | ธงผู้บังคับการเรือพระจักรพรรดินี |
ธงผู้บังคับบัญชา[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1889–1918 | Flagge des Staatssekretärs im Reichs-Marine-Amt | Flagge eines Admirals mit zwei gekreuzten, gelben klaren Ankern in der inneren, unteren Ecke. Da es sich bei dieser Flagge um kein Kommandozeichen handelte, blieben Flaggen von Admiralen usw. gehisst. |
![]() |
ค.ศ. 1871–1889 | ธงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงทหารเรือ | Um das verkleinerte Kreuz einer Admiralsflagge liegen vier kreuzweise angeordnete, rote, klare Anker |
![]() |
ค.ศ. 1889–1899 | ธงผู้บังคับบัญชานายพลเรือ | ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาว กลางธงมีรูปมงกุฎพระจักรพรรดิ์บนตรากางเขนเหล็ก.' |
![]() |
ค.ศ. 1899–1900 | ธงผู้ตรวจราชการกองทัพเรือ[5] | ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาวขอบสีแดงตรากางเขนเหล็ก. |
![]() |
ค.ศ. 1900 | ||
![]() |
ค.ศ. 1900–1918 | ||
![]() |
ค.ศ. 1908–1918 | ธงพลเรือเอก ในฐานะเสนาธิการทหารเรือ | ลักษณะเดียวกับธงนายพลเรือทุกชั้นยศ กลางธงมีรูปดาบรองรับด้วยเชือกภายในวงกลมสีขาว |
![]() |
ธงพลเรือโท ในฐานะเสนาธิการทหารเรือ | ||
![]() |
ธงพลเรือตรี ในฐานะเสนาธิการทหารเรือ | ||
![]() |
ค.ศ. 1900–1918 | ธงจอมพลเรือ | ธงสี่เหลี่ยมจตุรัสพื้นสีขาว กลางธงมีคทาจอมพลเยอรมันไขว้ประกอบมงกุฎพระจักรพรรดิ์บนตรากางเขนเหล็ก. |
ธงนายพลเรือ[แก้]
ธงแสดงตำแหน่ง[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาการใช้ | การใช้ | คำอธิบาย |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1871–1918 | ธงพลเรือจัตวา | ธงหางแซงแซวพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก. |
![]() |
ธงพลเรือจัตวา (für Schiffe geringerer Leistungsfähigkeit)[6] | ธงหางแซงแซวพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีดำ 1 วง. | |
![]() |
ค.ศ. 1904–1918 | ธงพลเรือจัตวา (für einen stellvertretenden Kommodore der zweiten Flotte)[7] | ธงหางแซงแซวพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก มุมบนคันธงมีวงกลมสีแดง 1 วง. |
![]() |
ค.ศ. 1871–1918 | ธงผู้บัญชาการกองเรือรบ | |
![]() |
ธงผู้บังคับหมวดเรือ | ธงสามเหลี่ยมพื้นสีขาวตรากางเขนเหล็ก. | |
![]() |
ธงผู้บังคับการเรือ | ธงหางจระเข้สีขาว ต้นธงมีตรากางเขนเหล็ก ความยาวของธงนี้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาการประจำการของเรือลำนั้นๆ | |
![]() |
ค.ศ. 1902–1918 | ธงผู้บังคับหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจ | . |
![]() |
ค.ศ. 1866–1918 | ธงนำร่อง | ธงค้าขายมีขอบสีขาวความกว้าง 1/5 ของธง. |
ธงตำแหน่งราชการ[แก้]
Flagge | Datum | Verwendung | Beschreibung |
---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1892–1918 | ธงราชการต่างประเทศ | ลักษณะเดียวกับธงราชการ กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งจักรวรรดิในวงกลมสีขาว |
![]() |
ค.ศ. 1893–1918 | ธงนำร่องอาณานิคม | ลักษณะเดียวกับธงราชการต่างประเทศ มีรูปสมอเรือสีเหลืองประกอบอักษรย่อสีแดง "LV" . |
![]() |
ธงศุลกากรอาณานิคม | ลักษณะเดียวกับธงราชการต่างประเทศ มีรูปสมอเรือสีเหลืองประกอบอักษรย่อสีแดง "ZV". | |
![]() |
ค.ศ. 1891–1918 ค.ศ. 1898–1918 |
ธงผู้ว่าราชการแอฟริกาตะวันออก ธงผู้ว่าราชการชิงเต่า |
ลักษณะเดียวกับธงชาติ กลางธงมีตรานกอินทรีแห่งจักรวรรดิ |
![]() |
ค.ศ. 1878–1894 | ธงหมู่เกาะราลิก (หมู่เกาะมาแชล) | ธงแถบแนวนอนสี 5 แถบ ดำ-ขาว-แดง-ขาว-ดำ. |
ธงตกแต่ง[แก้]
ดูเพิ่ม[แก้]
- รายชื่อธงในประเทศเยอรมนี
- รายชื่อธงในสาธารณรัฐไวมาร์
- รายชื่อธงในเยอรมนี (ค.ศ. 1933–1935)
- รายชื่อธงเรือในนาซีเยอรมนี
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Hugo Gerard Ströhl (Hrsg.): Deutsche Wappenrolle. Stuttgart 1897, S. 83.
- ↑ Ströhl: Deutsche Wappenrolle, S. 84.
- ↑ Hugo Gerard Ströhl (Hrsg.): Deutsche Wappenrolle. Stuttgart 1897, S. 80.
- ↑ Es existiert eine Angabe von Dreyhaupt flaggenkunde.de, dass die Anzahl der Adler in späteren Jahren auf 18 reduziert wurde. Karaschewski, 2008, erwähnt dagegen eine solche Reduzierung nicht.
- ↑ Nach Dreyhaupt flaggenkunde.de soll diese Version kurzfristig Verwendung gefunden haben.
- ↑ Angaben nach Karaschewski, 2008. Dreyhaupt ist dagegen der Auffassung, dass es sich bei diesem Stander um denjenigen des Stellvertreters eines Flaggoffiziers oder Kommodores handelt. flaggenkunde.de
- ↑ Angaben nach Dreyhaupt (1999), der den Stander ohne weiteren Kommentar auf einer Flaggentafel zeigt.