รายชื่อธงกองทัพสาธารณรัฐจีน
ตารางเบื้องล่างต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับธงต่างๆ ที่ใช้อยู่ในกองทัพสาธารณรัฐจีนอย่างสังเขป
ธงตำแหน่งราชการ[แก้]
รัฐบาลเป่ยหยาง[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
26 กันยายน ค.ศ. 1927-4 มิถุนายน ค.ศ. 1928 | ธงผู้บัญชาการทหารสูงสุด | ธงแถบห้าสี มุมบนคันธงมีตราแผ่นดินของรัฐบาลเป่ยหยาง มีชายครุยสีเหลือง กว้าง 2 เซนติเมตร | ธงนี้ใช้อยู่ในเมืองเซี่ยงไฮ้ และ ดินแดนทางภาคตะวันออกของเฉียงเหนือของจีน จนถึง พ.ศ. 2471「จอมพลของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน」[1]。 |
รัฐบาลจีนคณะชาติ[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
1 มกราคม ค.ศ. 1925-ปัจจุบัน | ธงประธานาธิบดี | ธงสีแดงขอบสีเหลือง กลางธงมีวงกลมสีน้ำเงินขอบ ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก. | ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด.[2] |
![]() |
20 ธันวาคม ค.ศ. 1929-8 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 | เดิมมีสถานะเป็น「ธงรัฐบาลแห่งชาติ」ภายหลังเปลี่ยนสถานะเป็น「ธงประธานาธิบดี」 เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1948 สัดส่วน 2:3 | ||
![]() |
4 มกราคม ค.ศ. 1934-31 พฤษภาคม ค.ศ. 1946 | ธงประธานคณะกรรมการธิการทหาร | ลักษณะเดียวกับธงประธานาธิบดี เป็นธงสี่เหลี่ยมจตุรัสกว้างด้านละ 90 เซนติเมตร(ขอบสีเหลืองความกว้าง 5 เซนติเมตร),กลางธงมีวงกลมสีน้ำเงินเส้นผ่าศูนย์กลาง 37 เซนติเมตรภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก หมายถึง「พรรคก๊กมินตั๋ง และ กองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน」。 | แสดงตำแหน่งของประธานคณะกรรมการธิการทหาร. |
![]() |
15 กันยายน ค.ศ. 1947-17 ธันวาคม ค.ศ. 1985 | ธงรองประธานาธิบดี | ธงสีแดงแถบสีเหลืองที่ด้านบน และ ด้านล่าง กลางธงมีวงกลมสีน้ำเงินขอบ ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก | แสดงตำแหน่งของรองประธานาธิบดี[3]สัดส่วน 2:3。 |
ธงทหาร[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1958-ปัจจุบัน | ธงประจำกระทรวงกลาโหม | ธงพื้นสีส้ม กลางธงมีตรากระทรวงกลาโหม. | สถานที่ราชการของกระทรวงกลาโหม.[2] |
![]() |
ค.ศ. 1928-ปัจจุบัน | ธงฉานกองทัพเรือ (ธงพรรคก๊กมินตั๋ง) | ธงพื้นสีน้ำเงิน มีภาพดวงอาทิตย์รัศมี 12 แฉกสีขาว เป็นสัญลักษณ์แทนความคิดเชิงก้าวหน้า. | ชักขึ้นที่เสาหัวเรือรบ และ ใช้เป็นธงหมายยศนายพลเรือ[2] |
![]() |
25 กรกฎาคม ค.ศ. 1960-ปัจจุบัน | ธงประจำนาวิกโยธิน | ธงพื้นสีแดง กลางธงมีตรานาวิกโยธินไต้หวัน. | สถานที่ราชการของหน่วยนาวิกโยธิน.[2] |
![]() |
ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน | ธงประจำทหารสารวัตร | ธงพื้นสีเขียว กลางธงมีตราทหารสารวัตรไต้หวัน. | สถานที่ราชการของหน่วยทหารสารวัตร.[2] |
![]() |
ค.ศ. 1960-ค.ศ. 1992 | ธงประจำมลฑลทหาร | ธงพื้นสีฟ้า กลางธงมีตรามลฑลทหารไต้หวัน. | สถานที่ราชการของกองบังคับการมลฑลทหาร.[2] |
กองทัพบก[แก้]
รัฐบาลเป่ยหยาง[แก้]
เดิมธงนี้เป็นธงในเหตุการณ์การลุกฮือหวูชาง (Wuchang uprising) เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2454 ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติซินไฮ่ ต่อมาได้ใช้เป็นธงของกองทัพสาธารณรัฐจีนยุคแรก ตั้งแต่ พ.ศ. 2454 - 2471
รัฐบาลจีนคณะชาติ[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงแสดงสัญชาติกองทัพบกสาธารณรัฐจีน
ธงกองทัพบกสาธารณรัฐจีน เป็นธงพื้นสีน้ำเงินขอบสีแดง ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก ก่อนปี ค.ศ. 1934 ใช้เป็นธงของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน และ สถานที่ราชการของกองทัพบก[4][5]
กองทัพอากาศ[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงแสดงสัญชาติกองทัพอากาศสาธารณรัฐจีน
เหล่าทหารพลาธิการ[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงแสดงสัญชาติเหล่าทหารพลาธิการสาธารณรัฐจีน
กองกำลังสำรอง[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงแสดงสัญชาติกองกำลังสำรองสาธารณรัฐจีน
ธงกองกำลังกึ่งทหาร[แก้]
ตำรวจ[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1912-ค.ศ. 1928 | ธงตำรวจเป่ยหยาง | ธงพื้นสีเหลือง กลางธงมีตราดาวห้าแฉกแห่งเป่ยหยาง ความกว้าง 1/5 ของธง สัดส่วน 3:5.(![]() |
แบบธงตำรวจ ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่ 111 ของรัฐบาลเป่ยหยางในดินแดนทางภาคตะวันออกของเฉียงเหนือ. |
![]() |
ค.ศ. 1912-ค.ศ. 1928 | ธงเจ้าพนักงานตำรวจน้ำ | ธงพื้นสีแดง มีรูปสี่เหลี่ยมสีน้ำเงินที่มุมธงด้านคันธง ภายในช่องสีน้ำเงินมีวงกลมสีขาว มีเส้นฟันปลาสีขาว สัดส่วน 3:4。 | แบบธงตำรวจน้ำ ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่ 213「ฉบับที่6 (29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1912)」. |
![]() |
ค.ศ. 1928-ค.ศ. 1949 | ธงชาติไต้หวัน มีเส้นฟันปลาสีขาว สัดส่วน 2:3. | ประกาศใช้เมื่อ ค.ศ. 1929《ธงนาวี》ของกองเรือตำรวจจนถึง ค.ศ. 1969 ปัจจุบันธงนี้ใช้เป็นธงนาวีตำรวจน้ำ. | |
![]() |
ค.ศ. 1932-ค.ศ. 1947 | ธงประจำตำรวจ | ธงพื้นสีน้ำเงิน กลางธงมีรูปสี่เหลี่ยมสีน้ำเงินขอบสีขาว ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก[6]。 | ภาหลังจากการกรีฑาทัพขึ้นเหนือ กระทรวงกิจการภายใน ได้แยกกิจการตำรวจออกจากฝ่ายกลาโหม เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1932 แบบธงตำรวจประกาศใช้ตามบทบัญญัติหยวน เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม โดยมีลักษณะเดียวกับธงหน่วยทหารปืนใหญ่ของกองทัพปฏิวัติแห่งชาติ แต่มีรายละเอียดแตกต่างบางประการ |
![]() |
ค.ศ. 1947-ค.ศ. 1974 | ธงชาติไต้หวัน มีรูปนกสีเหลืองที่ปลายธง สัดส่วน 2:3.[7]。 | กระทรวงกิจการภายใน ได้ประกาศใช้แบบธงตำรวจผืนใหม่ตามรัฐธรรมนูญ 「โดยมิได้กล่าวถึงความมุ่งมั่นของตำรวจแห่งชาติ」 ใช้มาจนถึง22 กรกฎาคม ค.ศ. 1974. | |
![]() |
23 กรกฎาคม ค.ศ. 1974-ปัจจุบัน | ธงพื้นสีแดงเลือดหมู กลางธงมีตราตำรวจไต้หวัน.[8] |
หน่วยดับเพลิง[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงแสดงสัญชาติหน่วยดับเพลิงสาธารณรัฐจีน
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
1 กันยายน ค.ศ. 1996-ปัจจุบัน | ธงประจำหน่วยดับเพลิงสาธารณรัฐจีน | สถานที่ราชการของหน่วยดับเพลิงไต้หวัน | สัดส่วน 2:3. |
หน่วยยามฝั่ง[แก้]
ดูบทความหลักที่: ธงแสดงสัญชาติหน่วยยามฝั่งสาธารณรัฐจีน
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
1 สิงหาคม ค.ศ. 1992-1 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2000 | ธงประจำหน่วยยามฝั่งสาธารณรัฐจีน | สถานที่ราชการของหน่วยยามฝั่งไต้หวัน และ ชักขึ้นที่เสาหัวเรือตรวการณ์ของหน่วยยามฝั่ง | สัดส่วน 2:3. |
![]() |
28 มกราคม ค.ศ. 2000-ปัจจุบัน | ธงประจำสำนักบริหารกิจการชายฝั่งสาธารณรัฐจีน | ภายหลังจากการจัดส่วนราชการของหน่วยยามฝั่ง เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1992 สัดส่วน 2:3. |
ศุลกากร[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
16 ธันวาคม ค.ศ. 1912-ไม่ปรากฏ | ธงเจ้าพนักงานศุลกากร | ธงแถบห้าสี มุมธงด้านคันธงมีรูปกากบาทแนวทแยงสีเหลืองบนพื้นสีเขียว (ธงศุลกากรสมัยราชวงศ์ชิง) | ธงเจ้าพนักงานศุลกากรของรัฐบาลเป่ยหยางในดินแดนทางภาคตะวันออกของเฉียงเหนือ. |
![]() |
24 มกราคม ค.ศ. 1929-20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1931 | ธงชาติไต้หวัน ปลายธงมีรูปกากบาทสีเหลืองในวงกลมสีเขียว | แบบธงเจ้าพนักงานศุลกากร ประกาศคำสั่งศุลกากร ฉบับที่ 3848 ลงวันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1929. | |
![]() |
20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1931-31 ธันวาคม ค.ศ. 1976 | ธงชาติไต้หวัน มีเส้นฟันปลาสีเขียว | บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงเจ้าพนักงานศุลกากร》โดยแบบธงที่ประกาศก่อนหน้านี้ใช้จนถึงปี ค.ศ. 1931 จนถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1975 ปัจจุบันธงเรือดังกล่าวนี้ยังมีการใช้ในบางโอกาส | |
![]() |
1 มกราคม ค.ศ. 1977-ปัจจุบัน | ธงแถบตามขวางสีเขียว-เหลือง-เขียว กลางธงมีตราศุลกากรไต้หวัน. | สถานที่ราชการของหน่วยศุลกากรไต้หวัน | |
![]() |
ธงผู้ตรวจการณ์กรมศุลกากร | ธงพื้นสีเหลืองขอบสีเขียว กลางธงมีตราศุลกากรไต้หวัน อัตราส่วน 132.5×84 เซนติเมตร. | ||
![]() |
ธงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง | ธงฉานซ้อนบนธงกากบาทแนวทแยงสีเหลืองบนพื้นสีเขียว อัตราส่วน 160×115 เซนติเมตร. |
ไปรษณีย์[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1919 - ค.ศ. 1929 | ธงเจ้าพนักงานไปรษณีย์ | ธงพื้นสีขาว มุมธงด้านคันธงมีรูปธงแถบห้าสี ใต้รูปธงมีข้อความภาษาอังกฤษ "Post"และ ภาษาจีน "邮" มีรูปห่านที่ปลายธง สัดส่วน 5:8. | แบบธงเจ้าพนักงานไปรษณีย์ ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่... วันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1929. |
![]() |
ค.ศ. 1929-ค.ศ. 1935 | ลักษณะเดียวกับข้างต้น มุมธงด้านคันธงเปลี่ยนจากธงห้าสีเป็นธงฉาน (ธงพรรคก๊กมินตั๋ง).[9] | ||
![]() |
ค.ศ. 1946-ปัจจุบัน | ธงพื้นสีเขียว มีเส้นโค้งรูปคลื่นสีขาว มีอักษรจีนสีแดง "郵" ภายในวงแหวนสีน้ำเงินบนวงกลมสีขาว |
ธงเรือ[แก้]
ภาพธง | ระยะเวลาที่ใช้ธง | การใช้ | คำอธิบาย | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
![]() |
ค.ศ. 1912-ค.ศ. 1929 | ธงเจ้าพนักงานภาษี | ธงกากบาทแนวทแยงมุมสีขาวบนพื้นสีน้ำเงินหม่น ในแต่ละช่องมีรูปสามเหลี่ยมสีขาว สัดส่วน 4:3. | บทบัญญัติ ค.ศ. 1914《ธงเจ้าพนักงานภาษี》สำหรับเรือตรวจการณ์.[10][11] |
![]() |
ค.ศ. 1929-ค.ศ. 1949 | ธงชาติไต้หวันพื้นสีขาว มีเส้นฟันปลาสีน้ำเงิน | บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงเจ้าพนักงานภาษี》ในสังกัดของรัฐบาล ไม่ปรากฏการใช้. | |
![]() |
ค.ศ. 1929-ค.ศ. 1966 | ธงค้าขายสาธารณรัฐจีน | ธงชาติไต้หวัน มีเส้นฟันปลาสีเหลือง | บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงค้าขายสาธารณรัฐจีน》เป็นธงนาวีของกองเรือพาณิชยนาวี ตามบทบัญญัติหยวน ค.ศ.1966「ธงดังกล่าวต้องชักคู่กับธงชาติเสมอ」[12],ธงภายหลังสิ้นสุดสงครามกลางเมืองจีน ตามมาตรา 5 ของสนธิสัญญาการเดินเรือทะเล และ ใช้ในเวทีกิจกรรมนานาชาติ. |
![]() |
ค.ศ. 1929-ค.ศ. 2003[13] | ธงประจำตำแหน่งรัฐมนตรี | ธงสีน้ำเงินขอบสีขาว ภายในมีรูปพระอาทิตย์สีขาวมีรัศมี 12 แฉก. | บทบัญญัติ ค.ศ. 1929《ธงประจำตำแหน่งรัฐมนตรี》หมายถึง ผู้บริหารระดับสูงในคณะรัฐบาล ไม่ปรากฏการใช้. |
![]() |
10 เมษายน ค.ศ. 1935-ค.ศ. 1949 | ธงเจ้าพนักงานประมง | ธงชาติไต้หวัน มีรูปดาวกระจายจำนวน 15 ดวง และ 16 ดวง ตามลำดับ | แบบธงเจ้าพนักงานประมง ประกาศในรัฐกิจจานุเบกษา เล่มที่1712 วันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1935. |
ธงชัย[แก้]
กระทรวงกลาโหม[แก้]
กองทัพบก[แก้]
รัฐบาลเป่ยหยาง[แก้]
การกรีฑาทัพขึ้นเหนือ[แก้]
ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2[แก้]
ทหารราบ[แก้]
ธงกองพลน้อย ค.ศ. 1934-1935
สนับสนุนการรบ[แก้]
สนับสนุนปฏิบัติการรบ[แก้]
สนับสนุนการช่วยรบ[แก้]
รัฐบาลจีนคณะชาติ[แก้]
กองทัพเรือ[แก้]
นาวิกโยธิน[แก้]
กองทัพอากาศ[แก้]
เหล่าทหารพลาธิการ[แก้]
เหล่าทหารสารวัตร[แก้]
มลฑลทหาร และ กำลังสำรอง[แก้]
กองทหารเกียรติยศ[แก้]
โรงเรียน และ วิทยาลัยทหาร[แก้]
วิทยาลัยในสังกัดกระทรวงกลาโหม[แก้]
วิทยาลัยกลาโหมแห่งชาติ ค.ศ. 1968-ค.ศ. 2000
โรงเรียนทหารบก[แก้]
โรงเรียนทหารเรือ[แก้]
โรงเรียนนายเรือสาธารณรัฐจีน ค.ศ. 1958-ปัจจุบัน
โรงเรียนทหารอากาศ[แก้]
โรงเรียนตำรวจ[แก้]
ตำรวจ และ ดับเพลิง[แก้]
หน่วยยามฝั่ง[แก้]
ธงหมายยศ[แก้]
กระทรวงกลาโหม[แก้]
ค.ศ. 1947-1950[แก้]
ค.ศ. 1950-1958[แก้]
ค.ศ. 1958-1986[แก้]
ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน[แก้]
กองทัพบก[แก้]
ค.ศ. 1958-1986[แก้]
ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน[แก้]
กองทัพเรือ[แก้]
ค.ศ. 1912-1958[แก้]
ค.ศ. 1958-1962[แก้]
ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน[แก้]
นาวิกโยธิน[แก้]
กองทัพอากาศ[แก้]
ค.ศ. 1958-1962[แก้]
ค.ศ. 1962-1981[แก้]
ค.ศ. 1981-1986[แก้]
ค.ศ. 1986-ปัจจุบัน[แก้]
เหล่าทหารพลาธิการ[แก้]
ผู้บัญชาการเหล่าทหารพลาธิการ[แก้]
รักษาการณ์ผู้บัญชาการ[แก้]
มลฑลทหาร และ กำลังสำรอง[แก้]
ตำรวจ[แก้]
ยามฝั่ง[แก้]
ดูเพิ่ม[แก้]
- ธงชาติสาธารณรัฐจีน
- ธงชาติรัฐบาลปฏิรูปสาธารณรัฐจีน
- ธงคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งสาธารณรัฐจีน
- รายชื่อธงในสาธารณรัฐจีน
- เพลงชาติสาธารณรัฐจีน
- เพลงธงชาติสาธารณรัฐจีน
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 大元帥令:「茲制定大元帥旗公布之,此令!」. 北京: 中華民國政府公報(4105號). 1927年9月27日.
{{cite book}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help) - ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 陸海空軍軍旗條例附圖
- ↑ ระเบียบว่าด้วย《ธงหมายยศตำแหน่งทหารเรือ》ยกเลิกการใช้เมื่อ ค.ศ. 1985.
- ↑ 軍史館「國民革命軍總司令旗」
- ↑ "文化部「國民革命軍總司令旗」". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-02. สืบค้นเมื่อ 2015-06-16.
- ↑ 國史館收藏「國民政府檔案---警察旗式制定卷」
- ↑ 內政部訓令 (1947年10月2日). 制定「警察隊旗製用辦法」,並將舊有警察隊旗式廢止. 南京: 中華民國國民政府公報. pp. 頁5-6.
{{cite book}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|date=
(help)[ลิงก์เสีย] - ↑ "警徽警旗製用規定". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-07. สืบค้นเมื่อ 2015-06-16.
- ↑ Postal Ensigns (Chinese Republic)
- ↑ 《政府公報》,1914年3月27日第677號,第25冊352,財政部公佈鹽務巡船旗式
- ↑ Flag of the Salt Administration (1912-1929) - FOTW
- ↑ 行政院民國55年9月20日台五十五交字第7049號令:「我國商船在動員戡亂時期,暫停使用商船旗並經常懸掛國旗。」
- ↑ 確切停用年代不明,《各項船舶旗幟圖》依行政程序法第174條之1,於2003年1月1日自動失效。
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
บทความเกี่ยวกับธงขององค์กรหรือรัฐนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล |