จังหวัดอำนาจเจริญในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอำนาจเจริญในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ72.75%
  First party Second party Third party
 
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
Abhisit Vejjajiva 2009 official.jpg
ภาพถ่ายเบื้องหลัง การบันทึกเทป โครงการ ไทยเข้มแข็ง (The Official Site of The Prim - Flickr - Abhisit Vejjajiva (44).jpg
พรรค เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น 1 Steady ลดลง 1
คะแนนเสียง 93,633 75,469 2,914
% 50.22 40.48 1.56

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอำนาจเจริญ พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดอำนาจเจริญ)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
เพื่อไทย 93,633 50.22% เพิ่มขึ้น6.27%
ประชาธิปัตย์ 75,469 40.48% เพิ่มขึ้น3.12%
อื่น ๆ 17,337 9.30% ลดลง9.39%
ผลรวม 186,439 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
เพื่อไทย
  
50.22%
ประชาธิปัตย์
  
40.48%
อื่น ๆ
  
9.30%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 45,557 49.61% 35,574 38.74% 10,697 11.65% 91,828 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 48,076 50.81% 39,895 42.17% 6,640 7.02% 94,611 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 93,633 50.22% 75,469 40.48% 17,337 9.30% 186,439 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดอำนาจเจริญ)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 2 80,871 43.57% 1 Steady 50.00%
เพื่อไทย 2 80,797 43.53% 1 เพิ่มขึ้น1 50.00%
ภูมิใจไทย 2 10,201 5.50% 0 ลดลง1 0.00%
อื่น ๆ 7 13,761 7.41% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 13 185,630 100.00% 2 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
43.57%
เพื่อไทย
  
43.53%
ภูมิใจไทย
  
5.50%
อื่น ๆ
  
7.41%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
50.00%
เพื่อไทย
  
50.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 35,216 38.47% 37,093 40.52% 19,234 21.01% 91,543 100.00% เพื่อไทย ได้ที่นั่ง
เขต 2 45,655 48.52% 43,704 46.45% 4,728 5.03% 94,087 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 80,871 43.57% 80,797 43.53% 23,962 12.91% 185,630 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดอำนาจเจริญ
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 93,633 50.22
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 3,486 1.87
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 1,290 0.69
ประชากรไทย (4) 250 0.13
รักประเทศไทย (5) 1,899 1.02
พลังชล (6) 100 0.05
ประชาธรรม (7) 97 0.05
ดำรงไทย (8) 121 0.06
พลังมวลชน (9) 405 0.22
ประชาธิปัตย์ (10) 75,469 40.48
ไทยพอเพียง (11) 309 0.17
รักษ์สันติ (12) 648 0.35
ไทยเป็นสุข (13) 65 0.03
กิจสังคม (14) 181 0.10
ไทยเป็นไท (15) 102 0.05
ภูมิใจไทย (16) 2,914 1.56
แทนคุณแผ่นดิน (17) 51 0.03
เพื่อฟ้าดิน (18) 119 0.06
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 92 0.05
การเมืองใหม่ (20) 108 0.06
ชาติไทยพัฒนา (21) 2,395 1.28
เสรีนิยม (22) 233 0.12
ชาติสามัคคี (23) 76 0.04
บำรุงเมือง (24) 49 0.03
กสิกรไทย (25) 52 0.03
มาตุภูมิ (26) 83 0.04
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 20 0.01
พลังสังคมไทย (28) 41 0.02
เพื่อประชาชนไทย (29) 120 0.06
มหาชน (30) 1,310 0.70
ประชาชนชาวไทย (31) 87 0.05
รักแผ่นดิน (32) 30 0.02
ประชาสันติ (33) 47 0.03
ความหวังใหม่ (34) 299 0.16
อาสามาตุภูมิ (35) 19 0.01
พลังคนกีฬา (36) 81 0.04
พลังชาวนาไทย (37) 31 0.02
ไทยสร้างสรรค์ (38) 17 0.01
เพื่อนเกษตรไทย (39) 47 0.03
มหารัฐพัฒนา (40) 63 0.03
บัตรดี 186,439 93.74
บัตรเสีย 9,609 4.83
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,846 1.43
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 198,894 72.75
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 273,399 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองอำนาจเจริญ และอำเภอหัวตะพาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอำนาจเจริญ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย สมหญิง บัวบุตร (1) 37,093 40.52
ประชาธิปัตย์ ไพศาล จันทวารา (10)✔ 35,216 38.47
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ธีระชัย ศิริขันธ์ (2)✔ 10,013 10.94
ภูมิใจไทย วิเชียร อุดมศักดิ์ (16)* 8,774 9.58
ความหวังใหม่ โสนิ สุวรรณี (34) 166 0.18
ชาติไทยพัฒนา เสน่ห์ ใจภักดี (21) 131 0.14
เพื่อฟ้าดิน ศรีวิชัย สท้านภพ (18) 60 0.07
ผลรวม 91,543 100.00
บัตรดี 91,543 93.35
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,362 2.41
บัตรเสีย 4,158 4.24
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 97,973 73.32
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 133,615 100.00
เพื่อไทย ได้ที่นั่งจาก ภูมิใจไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอลืออำนาจ อำเภอพนา อำเภอปทุมราชวงศา อำเภอชานุมาน และอำเภอเสนางคนิคม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอำนาจเจริญ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ อภิวัฒน์ เงินหมื่น (10)* 45,655 48.52
เพื่อไทย ชัยศรี กีฬา (1)✔ 43,704 46.45
ชาติไทยพัฒนา นัฐทวี สุรพันธ์ (21) 2,872 3.05
ภูมิใจไทย ธรรมศาสตร์ โพธิ (16) 1,427 1.52
ความหวังใหม่ สิทธิ โสพสิงห์ (34) 304 0.32
เพื่อฟ้าดิน พุทธา ทานะศรี (18) 125 0.13
ผลรวม 94,087 100.00
บัตรดี 94,087 93.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,983 1.96
บัตรเสีย 4,852 4.81
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,922 72.20
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 139,784 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]