จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดจันทบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ77.56% (เพิ่มขึ้น1.40%)
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 3 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 142,233 97,039
% 52.70 35.95

ผลการเลือกตั้งตามเขตการเลือกตั้ง
  •   พรรคประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

บรรยากาศก่อนการเลือกตั้ง[แก้]

พลตำรวจตรี สุรพล วิรัตน์โยสินทร์ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัดจันทบุรี เผยว่าทางตำรวจได้เตรียมรักษาความปลอดภัยให้กับผู้สมัครทุกคน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องประวัติและการตามประกบมือปืน พร้อมส่งกำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจติดตามรักษาความปลอดภัยให้กับผู้สมัคร แต่มีข้อแม้ว่า ห้ามเจาะจงบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ มั่นใจว่าชนะการเลือกตั้งเพราะชาวบ้านตอบรับดี เนื่องจากรัฐบาลที่ผ่านมา นำโดยพรรคประชาธิปัตย์ได้ใช้งบประมาณช่วยเหลือเกษตรในจังหวัดจันทบุรีไว้จำนวนมาก พร้อมย้ำตนเป็นคนดี ไม่เหมือนบางที่หากินกับเกษตรกร[2]

ป้ายหาเสียงของผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์ถูกทำลายหลายแห่ง นายธวัชชัย อนามพงษ์ และนายยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา เรียกร้องให้ผู้ที่ไม่หวังดีเห็นใจ พร้อมหยุดพฤติกรรมดังกล่าว เพราะเป็นการเมืองที่ไม่สร้างสรรค์ และทำลายบรรยากาศการเลือกตั้งในจังหวัดจันทบุรี[2]

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ประชาธิปัตย์ 142,233 52.70% ลดลง4.72%
เพื่อไทย 97,039 35.95% เพิ่มขึ้น8.23%
อื่น ๆ 30,632 11.35% ลดลง3.51%
ผลรวม 269,904 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
52.70%
เพื่อไทย
  
35.95%
อื่น ๆ
  
11.35%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 45,235 56.08% 26,510 32.86% 8,921 11.06% 80,666 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 52,565 58.33% 29,318 32.53% 8,231 9.13% 90,114 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 44,433 44.83% 41,211 41.58% 13,480 13.60% 99,124 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 142,233 52.70% 97,039 35.95% 30,632 11.35% 269,904 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดจันทบุรี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 3 138,930 52.72% 3 Steady 100.00%
เพื่อไทย 3 91,390 34.68% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 12 33,226 12.61% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 18 263,546 100.00% 3 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
52.72%
เพื่อไทย
  
34.68%
อื่น ๆ
  
12.61%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 47,770 61.33% 26,934 34.58% 3,189 4.09% 77,893 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 53,709 60.94% 33,665 38.20% 760 0.86% 88,134 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 3 37,451 38.40% 30,791 31.57% 29,277 30.03% 97,519 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ผลรวม 138,930 52.72% 91,390 34.68% 33,226 12.61% 263,546 100.00%

การเปลี่ยนแปลงเขตการเลือกตั้ง[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดจันทบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 97,039 35.95
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 6,770 2.51
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 1,655 0.61
ประชากรไทย (4) 266 0.10
รักประเทศไทย (5) 10,289 3.81
พลังชล (6) 768 0.29
ประชาธรรม (7) 280 0.10
ดำรงไทย (8) 61 0.02
พลังมวลชน (9) 594 0.22
ประชาธิปัตย์ (10) 142,233 52.70
ไทยพอเพียง (11) 494 0.18
รักษ์สันติ (12) 1,389 0.52
ไทยเป็นสุข (13) 212 0.08
กิจสังคม (14) 232 0.09
ไทยเป็นไท (15) 79 0.03
ภูมิใจไทย (16) 363 0.14
แทนคุณแผ่นดิน (17) 85 0.03
เพื่อฟ้าดิน (18) 105 0.04
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 627 0.23
การเมืองใหม่ (20) 214 0.08
ชาติไทยพัฒนา (21) 2,372 0.88
เสรีนิยม (22) 378 0.14
ชาติสามัคคี (23) 70 0.03
บำรุงเมือง (24) 36 0.01
กสิกรไทย (25) 84 0.03
มาตุภูมิ (26) 381 0.14
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 38 0.01
พลังสังคมไทย (28) 41 0.02
เพื่อประชาชนไทย (29) 116 0.04
มหาชน (30) 1,978 0.73
ประชาชนชาวไทย (31) 102 0.04
รักแผ่นดิน (32) 45 0.02
ประชาสันติ (33) 102 0.04
ความหวังใหม่ (34) 61 0.02
อาสามาตุภูมิ (35) 16 0.01
พลังคนกีฬา (36) 67 0.03
พลังชาวนาไทย (37) 35 0.01
ไทยสร้างสรรค์ (38) 18 0.01
เพื่อนเกษตรไทย (39) 68 0.03
มหารัฐพัฒนา (40) 141 0.05
บัตรดี 269,904 90.29
บัตรเสีย 15,204 5.09
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 13,807 4.62
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 298,915 77.56
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 385,384 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองจันทบุรีและอำเภอแหลมสิงห์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ธวัชชัย อนามพงษ์ (10)* 47,770 61.33
เพื่อไทย พลอากาศเอก ชูชาติ ชวนชม (1) 26,934 34.58
ชาติไทยพัฒนา พงษ์ชัย เจริญยศ (21) 1,251 1.61
พลังชล วีระ นามพระจันทร์ (6) 971 1.25
มาตุภูมิ ขวัญเมือง บำรุงพนิชถาวร (26) 645 0.83
ประชาสันติ ธีระพันธ์ เจริญสิทธิ์ (33) 174 0.22
เพื่อฟ้าดิน เฉลิมพล ผลประพฤติ (18) 83 0.11
ไทยเป็นสุข วิชัย อาภรณ์ (13) 65 0.08
ผลรวม 77,893 100.00
บัตรดี 77,893 85.61
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 8,305 9.13
บัตรเสีย 4,788 5.26
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 90,986 77.89
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,820 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอท่าใหม่ อำเภอนายายอาม อำเภอแก่งหางแมว และอำเภอเขาคิชฌกูฏ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ยุคล ชนะวัฒน์ปัญญา (10)* 53,709 60.94
เพื่อไทย วณัฐพงศ์ ชนะสิทธิ์ (1) 33,665 38.20
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย สุรศักดิ์ ศิริชาตรี (19) 474 0.54
ไทยเป็นสุข อ๊อด ไกรนิวรณ์ (13) 185 0.21
พลังคนกีฬา นภสร พานทอง (36) 62 0.07
เพื่อฟ้าดิน ลือชา สุนทราพงษ์ (18) 39 0.04
ผลรวม 88,134 100.00
บัตรดี 88,134 88.74
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,618 4.65
บัตรเสีย 6,570 6.61
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 99,322 78.32
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,814 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอสอยดาว อำเภอโป่งน้ำร้อน อำเภอมะขาม และอำเภอขลุง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดจันทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ พงศ์เวช เวชชาชีวะ (10)* 37,451 38.40
เพื่อไทย พราหมณ์ มุกดาสนิท (1) 30,791 31.57
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน อิสิวุฒิ ตั้งเกียรติ (2) 29,050 29.79
ไทยเป็นสุข สมชาย สนิทเชื้อ (13) 227 0.23
ผลรวม 97,519 100.00
บัตรดี 97,519 89.79
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,322 3.98
บัตรเสีย 6,766 6.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 108,607 76.62
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 141,750 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  2. 2.0 2.1 "ปชป.ส่งหน้าเก่าสมัครส.ส.จันทบุรีทั้ง3เขต". คมชัดลึก. 27 พฤษภาคม 2554. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]