จังหวัดอ่างทองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดอ่างทองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554

← พ.ศ. 2550 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2557 (โมฆะ) →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ77.49%
  First party Second party
 
ภาพถ่ายเบื้องหลัง การบันทึกเทป โครงการ ไทยเข้มแข็ง (The Official Site of The Prim - Flickr - Abhisit Vejjajiva (49).jpg
9153ri-Yingluck Shinawatra.jpg
พรรค ชาติไทยพัฒนา เพื่อไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady Steady
คะแนนเสียง 33,887 80,738
% 21.92 52.22

ผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่งเขต

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
เพื่อไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอ่างทอง พ.ศ. 2554 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี 2550 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดอ่างทอง)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ชาติไทยพัฒนา 33,887 21.92% ลดลง6.00%
เพื่อไทย 80,738 52.22% เพิ่มขึ้น9.82%
ประชาธิปัตย์ 27,330 17.68% ลดลง4.40%
อื่น ๆ 12,665 8.19% เพิ่มขึ้น0.58%
ผลรวม 154,620 100.00%
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคชาติไทยพัฒนา เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของพรรคชาติไทย
  • คะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อพรรคเพื่อไทย เปรียบเทียบจากคะแนนเลือกตั้งแบบสัดส่วนของ พรรคพลังประชาชน
คะแนนเสียง
ชาติไทยพัฒนา
  
21.92%
เพื่อไทย
  
52.22%
ประชาธิปัตย์
  
17.68%
อื่น ๆ
  
8.19%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ชาติไทยพัฒนา เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 15,555 20.04% 39,283 50.61% 16,431 21.17% 6,357 8.19% 77,626 100.00% ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง
เขต 2 18,332 23.81% 41,455 53.84% 10,899 14.16% 6,308 8.19% 76,994 100.00% ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง
ผลรวม 33,887 21.92% 80,738 52.22% 27,330 17.68% 12,665 8.19% 154,620 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดอ่างทอง)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ชาติไทยพัฒนา 2 80,070 51.97% 2 Steady 100.00%
เพื่อไทย 2 62,534 40.59% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 4 11,477 7.45% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 8 154,081 100.00% 2 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ชาติไทยพัฒนา
  
51.97%
เพื่อไทย
  
40.59%
อื่น ๆ
  
7.45%
ที่นั่ง
ชาติไทยพัฒนา
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ชาติไทยพัฒนา เพื่อไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 39,404 50.86% 30,830 39.79% 7,244 9.35% 77,478 100.00% ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง
เขต 2 40,666 53.09% 31,704 41.39% 4,233 5.52% 76,603 100.00% ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง
ผลรวม 80,070 51.97% 62,534 40.59% 11,477 7.45% 154,081 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดอ่างทอง
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เพื่อไทย (1) 80,738 52.22
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (2) 676 0.44
ประชาธิปไตยใหม่ (3) 425 0.27
ประชากรไทย (4) 197 0.13
รักประเทศไทย (5) 5,881 3.80
พลังชล (6) 110 0.07
ประชาธรรม (7) 70 0.05
ดำรงไทย (8) 57 0.04
พลังมวลชน (9) 187 0.12
ประชาธิปัตย์ (10) 27,330 17.68
ไทยพอเพียง (11) 231 0.15
รักษ์สันติ (12) 1,399 0.90
ไทยเป็นสุข (13) 39 0.03
กิจสังคม (14) 148 0.10
ไทยเป็นไท (15) 53 0.03
ภูมิใจไทย (16) 232 0.15
แทนคุณแผ่นดิน (17) 34 0.02
เพื่อฟ้าดิน (18) 42 0.03
เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย (19) 730 0.47
การเมืองใหม่ (20) 568 0.37
ชาติไทยพัฒนา (21) 33,887 21.92
เสรีนิยม (22) 184 0.12
ชาติสามัคคี (23) 40 0.03
บำรุงเมือง (24) 33 0.02
กสิกรไทย (25) 54 0.03
มาตุภูมิ (26) 429 0.28
ชีวิตที่ดีกว่า (27) 58 0.04
พลังสังคมไทย (28) 29 0.02
เพื่อประชาชนไทย (29) 84 0.05
มหาชน (30) 235 0.15
ประชาชนชาวไทย (31) 53 0.03
รักแผ่นดิน (32) 56 0.04
ประชาสันติ (33) 38 0.02
ความหวังใหม่ (34) 18 0.01
อาสามาตุภูมิ (35) 13 0.01
พลังคนกีฬา (36) 32 0.02
พลังชาวนาไทย (37) 47 0.03
ไทยสร้างสรรค์ (38) 16 0.01
เพื่อนเกษตรไทย (39) 81 0.05
มหารัฐพัฒนา (40) 86 0.06
บัตรดี 154,620 91.20
บัตรเสีย 10,947 6.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,969 2.34
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 169,536 77.49
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 218,787 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองอ่างทอง อำเภอป่าโมก และอำเภอวิเศษชัยชาญ (ยกเว้นตำบลม่วงเตี้ย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอ่างทอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทยพัฒนา ภราดร ปริศนานันทกุล (21)* 39,404 50.86
เพื่อไทย เพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ชัย (1)✔ 30,830 39.79
ประชาธิปัตย์ อรชุน ประสิทธิ์สมบัติ (10) 6,893 8.90
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน พนินทรา ปิ่นวิเศษ (2) 351 0.45
ผลรวม 77,478 100.00
บัตรดี 77,478 90.52
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,475 4.06
บัตรเสีย 4,640 5.42
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 85,593 76.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 112,504 100.00
ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบไปด้วยอำเภอโพธิ์ทอง อำเภอแสวงหา อำเภอไชโย อำเภอสามโก้ และอำเภอวิเศษชัยชาญ (เฉพาะตำบลม่วงเตี้ย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอ่างทอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทยพัฒนา กรวีร์ ปริศนานันทกุล (21) 40,666 53.09
เพื่อไทย พลตำรวจตรี ประจวบ เปาอินทร์ (1) 31,704 41.39
ประชาธิปัตย์ สมชาย ตลุ่มมุข (10) 4,036 5.27
ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน วีรภัทร สมบูรณ์ทรัพย์ (2) 197 0.26
ผลรวม 76,603 100.00
บัตรดี 76,603 91.26
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,194 2.61
บัตรเสีย 5,147 6.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 83,944 78.98
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 106,283 100.00
ชาติไทยพัฒนา รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554" (PDF). สืบค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2562. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]