ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ถนนนิตโย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BeckNoDa (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
| หมายเลข = 22
| หมายเลข = 22
| ชื่อ = ถนนนิตโย
| ชื่อ = ถนนนิตโย
| ความยาว-กม = 244.33
| ความยาว-กม = 240.746
| length_ref =
| length_ref =
| length_round = 2
| length_round = 2
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
}}
}}


'''ถนนนิตโย''' หรือ '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 สายอุดรธานี–นครพนม''' เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็น[[ถนนมิตรภาพ|ถนนทหาร]] และ[[ถนนมิตรภาพ|ถนนอุดรดุษฎี]] ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี [[จังหวัดอุดรธานี]] (เส้นเดียวกับ[[ถนนโพศรี]]) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่าน[[อำเภอหนองหาน]] [[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง|อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดสกลนคร]]ที่[[อำเภอสว่างแดนดิน]] ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน [[อำเภอพังโคน]] [[อำเภอพรรณานิคม]] [[อำเภอเมืองสกลนคร]] เทศบาลตำบลท่าแร่ [[อำเภอกุสุมาลย์]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดนครพนม]]ที่[[อำเภอเมืองนครพนม]]ไปบรรจบเส้น[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212]] (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 244.33 กิโลเมตร
'''ถนนนิตโย''' หรือ '''ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 สายอุดรธานี–นครพนม''' เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็น[[ถนนมิตรภาพ|ถนนทหาร]] และ[[ถนนมิตรภาพ|ถนนอุดรดุษฎี]] ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี [[จังหวัดอุดรธานี]] (เส้นเดียวกับ[[ถนนโพศรี]]) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่าน[[อำเภอหนองหาน]] [[แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง|อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดสกลนคร]]ที่[[อำเภอสว่างแดนดิน]] ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน [[อำเภอพังโคน]] [[อำเภอพรรณานิคม]] [[อำเภอเมืองสกลนคร]] เทศบาลตำบลท่าแร่ [[อำเภอกุสุมาลย์]] และเข้าสู่เขต[[จังหวัดนครพนม]]ที่[[อำเภอเมืองนครพนม]]ไปบรรจบเส้น[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212]] (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 240.746 กิโลเมตร


ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม"<ref name="gazette">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่] - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493</ref> ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2493]]<ref name="gazette"/> ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่นาย[[โสภณ นิตตะโย]] อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางชุมแพ<ref name="gazette"/>
ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม"<ref name="gazette">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/D/067/6377.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง ตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่] - ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 67 ตอน 67 ง, 12 ธันวาคม พ.ศ. 2493</ref> ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ [[10 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2493]]<ref name="gazette"/> ในสมัยที่[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่นาย[[โสภณ นิตตะโย]] อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางชุมแพ<ref name="gazette"/>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:15, 28 มีนาคม 2559

ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22
ถนนนิตโย
ข้อมูลของเส้นทาง
ส่วนหนึ่งของ
ความยาว240.746 กิโลเมตร (149.593 ไมล์)
ทางแยกที่สำคัญ
ปลายทางทิศตะวันตก ถ.ทหาร ใน อ.เมือง จ.อุดรธานี
 
ปลายทางทิศตะวันออก ถ.สุนทรวิจิตร ใน อ.เมือง จ.นครพนม
ตำแหน่งที่ตั้ง
ประเทศไทย
ระบบทางหลวง

ถนนนิตโย หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 22 สายอุดรธานี–นครพนม เริ่มจากบริเวณวงห้าแยกเวียนหอนาฬิกา ซึ่งเป็นถนนทหาร และถนนอุดรดุษฎี ในเขตเทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี (เส้นเดียวกับถนนโพศรี) ผ่านเทศบาลตำบลหนองบัวในเขตอำเภอเมืองอุดรธานี ผ่านอำเภอหนองหาน อุทยานประวัติศาสตร์บ้านเชียง และเข้าสู่เขตจังหวัดสกลนครที่อำเภอสว่างแดนดิน ผ่านอำเภอสว่างแดนดิน อำเภอพังโคน อำเภอพรรณานิคม อำเภอเมืองสกลนคร เทศบาลตำบลท่าแร่ อำเภอกุสุมาลย์ และเข้าสู่เขตจังหวัดนครพนมที่อำเภอเมืองนครพนมไปบรรจบเส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 212 (ถนนสุนทรวิจิตร) ในเขตเทศบาลเมืองนครพนม รวมระยะทางทั้งสิ้นประมาณ 240.746 กิโลเมตร

ถนนนิตโยเดิมมีชื่อเรียกว่า "ทางหลวงแผ่นดินสายอุดรธานี-ธาตุนาเวง-นครพนม"[1] ได้รับการตั้งชื่อดังกล่าวเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2493[1] ในสมัยที่จอมพล ป. พิบูลสงครามเป็นนายกรัฐมนตรี เพื่อเป็นเกียรติแก่นายโสภณ นิตตะโย อดีตนายช่างกำกับแขวงการทางชุมแพ[1]

อ้างอิง