แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก |
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง * | |
---|---|
![]() | |
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง | |
พิกัด | 17°24′25″N 103°14′29″E / 17.4069°N 103.2414°Eพิกัดภูมิศาสตร์: 17°24′25″N 103°14′29″E / 17.4069°N 103.2414°E |
ประเทศ | ![]() |
ภูมิภาค ** | เอเชียและแปซิฟิก |
ประเภท | มรดกทางวัฒนธรรม |
เกณฑ์พิจารณา | (iii) |
อ้างอิง | 575 |
ประวัติการขึ้นทะเบียน | |
ขึ้นทะเบียน | 2535 (คณะกรรมการสมัยที่ 16) |
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก ** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก |
ประวัติศาสตร์ไทย | |
---|---|
![]() | |
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ | |
ประวัติศาสตร์ช่วงต้น | |
การเข้ามาอยู่อาศัย | |
แนวคิดถิ่นกำเนิดชนชาติไท | |
บ้านเชียง (ประมาณ 2500 ปีก่อน พ.ศ.) | |
บ้านเก่า (ประมาณ 2000 ปีก่อน พ.ศ.) | |
อาณาจักรมอญ-เขมร | |
ฟูนาน (611–1093) | |
ทวารวดี (พุทธศตวรรษที่ 12–16) | |
ละโว้ (พุทธศตวรรษที่ 12–1630) | |
เขมร (1345–1974) | |
หริภุญชัย (พุทธศตวรรษที่ 13–1835) | |
ตามพรลิงค์ (พุทธศตวรรษที่ 13–14) | |
อาณาจักรของคนไท | |
ลพบุรี (1648–1931) | |
กรุงสุโขทัย (1781–1981) | |
สุพรรณภูมิ (พุทธศตวรรษที่ 18–1952) | |
พะเยา (1637–1881) | |
ล้านนา (1835–2101) | |
น่าน (พุทธศตวรรษที่ 18–1992) | |
นครศรีธรรมราช (พุทธศตวรรษที่ 18–2325) | |
กรุงศรีอยุธยา | |
กรุงศรีอยุธยา (1893–2310) | |
ประเทศราชเชียงใหม่ (2101–2317) | |
นครศรีธรรมราช (พุทธศตวรรษที่ 18–2325) | |
กรุงธนบุรี | |
กรุงธนบุรี (2310–2325) | |
เชียงใหม่ (2317–2437) | |
กรุงรัตนโกสินทร์ | |
กรุงรัตนโกสินทร์ (2325–2475)
| |
ประเทศสยาม | |
ประเทศสยาม (2475–2516)
| |
ประเทศสยาม (2516–2544)
| |
ประเทศไทย | |
ประเทศไทย (2544–ปัจจุบัน)
| |
ประวัติศาสตร์รายภูมิภาค | |
ประวัติศาสตร์แบ่งตามหัวข้อ | |
| |
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง[1] เป็นแหล่งโบราณคดีสำคัญแห่งหนึ่ง อยู่ที่ตำบลบ้านเชียง (ในเขตเทศบาลตำบลบ้านเชียง) อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี ที่ทำให้รับรู้ถึงการดำรงชีวิตในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ย้อนหลังไปกว่า 5,000 ปี
เครื่องมือและอุปกรณ์ยุคโบราณ[แก้]
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา[แก้]
ศิลปะเครื่องปั้นดินเผาของบ้านเชียงนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค ได้แก่
- ภาชนะดินเผาสมัยต้น อายุ 5,600–3,000 ปี มีลายเชือกทาบ ซึ่งคาดกันว่าเป็นปอกัญชา ทั้งยังมีลายขูดขีด และมีการเขียนสีบ่า โดยพบวางคู่กับโครงกระดูก บางใบใช้บรรจุศพเด็ก และยังมีประเพณีการฝังศพ โดยการฝังสิ่งของเครื่องใช้ลงไปเช่น ขวาน ใบหอก เป็นต้น
- ภาชนะดินเผาสมัยกลาง อายุ 3,000–2,300 ปี สมัยนี้เป็นสมัยที่เริ่มมีการขีดทาสีแดง
- ภาชนะดินเผาสมัยปลาย อายุ 2,300–1,800 ปี เป็นยุคที่มีลวดลายที่สวยงามที่สุด ลวดลายพิสดาร สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคมที่สงบสุข ก่อนที่จะกลายมาเป็นการเคลือบน้ำโคลนสีแดงขัดมัน
สำริด[แก้]
ชาวบ้านเชียงโบราณนิยมทำเครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับจากสำริดในระยะแรก ก่อนที่จะได้รู้จักใช้การใช้เหล็ก ชาวพอลินีเซียมีหลักฐานว่านิยมใช้สำริดเช่นกัน เช่นใช้ทำเป็นกลองมโหระทึก
แหล่งมรดกโลก[แก้]
แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงได้จดทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อปี พ.ศ. 2535 ในการประชุมคณะกรรมการมรดกโลกสมัยสามัญครั้งที่ 16 ที่เมืองแซนตาเฟ รัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐ โดยผ่านข้อกำหนดและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาให้เป็นแหล่งมรดกโลก ดังนี้
- เป็นสิ่งที่ยืนยันถึงหลักฐานของวัฒนธรรมหรืออารยธรรมที่ปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบันหรือว่าที่สาบสูญไปแล้ว
ระเบียงภาพ[แก้]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-24. สืบค้นเมื่อ 2010-11-27.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: วัฒนธรรมบ้านเชียง |
![]() |
บทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ประวัติศาสตร์ |