ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารออมสิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mda (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 2405:9800:BA30:893F:5944:D3ED:B442:365B (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล หน่วยงานของรัฐ 2
กล่องข้อมูลหน่นของ
บริษัทรัฐวิสาหกิจมหาชน
| ชื่อหน่วยงาน = ธนาคารออมสิน
เจ้าของชื่อMRBOONMEEUDOMJIT392562
| ชื่อในภาษาแม่_1 = Government Savings Bank
ชื่อหน่วยงานบิริธนาคารออมสิน
| ตรา = Gsbthai.jpg
ชื่อในภาษาแม่1GovernmentSavingsBank
| ตรา_กว้าง = 150px
ตราGsbthaijpg
| ตรา_บรรยาย = ตราประจำธนาคารออมสินในปัจจุบัน
ตรากว้าง150px
| วันก่อตั้ง = {{วันเกิด-อายุ|2456|4|1}}
ตราบรรยายตราประจำธนาคารออมสินในปัจจุบัน
| ผู้ก่อตั้ง = [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
วันก่อตั้งวันเกิดอายุ245641
| สืบทอดจาก_1 = แบงก์ลีฟอเทีย
ผู้ก่อตั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
| สืบทอดจาก_2 = คลังออมสิน
สืบทอดจากแบงก์ลีฟอเทีย
| กองบัญชาการ = 470 [[ถนนพหลโยธิน]] แขวงสามเสนใน [[เขตพญาไท]] [[กรุงเทพมหานคร ]] 10400
สืบทอดจาก2คลังออมสิน
|latd= |latm= |lats= |latNS=
กองบัญชาการ470ถนนพหลโยธินแขวงสามเสนในเขตพญาไทกรุงเทพมหานคร10400
|longd= |longm= |longs= |longEW=
latdlatmlatslatNS
|งบประมาณ = 1,392.601 ล้านบาท <small>([[พ.ศ. 2559]])</small><ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/091/17.PDF พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.. 2559] เล่ม 132 ตอนที่ 91ก วันที่ 25 กันยายน 2558</ref>
longdlongmlongslongEW
|หัวหน้า1_ชื่อ = อำนวย ปรีมนวงศ์<ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/029/T_0016.PDF</ref>
งบประมาณ1392601ล้านบาทsmallพศ2559smallrefราชกิจจานุเบกษาhttpwwwratchakitchasocgothDATAPDF2558A09117PDFพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพศ2559เล่ม132ตอนที่91กวันที่25 กันยายน2558refหัวหน้า1ชื่ออำนวยปรีมนวงศ์refhttpwwwratchakitchasocgothDATAPDF2562E029T0016PDFref
|หัวหน้า1_ตำแหน่ง = ประธานกรรมการ
หัวหน้า1ตำแหน่งประธานกรรมการ
|หัวหน้า2_ชื่อ = ชาติชาย พยุหนาวีชัย<ref>http://www.thairath.co.th/content/460289</ref>
หัวหน้าชื่อชาติชายพยุหนาวีชัยrefhttpwwwthairathcothcontent460289refหัวหน้า2ตำแหน่งผู้อำนวยการหัวหน้า3ชื่อบุญสนเจนชัยมหกุลrefhttpswwwgsborthaboutusorganizationalchartbankexecutivesaspxรองผู้อำนวยการอาวุโสrefหัวหน้า3ตำแหน่งรองผู้อำนวยการอาวุโสหัวหน้า4ชื่อ
|หัวหน้า2_ตำแหน่ง = ผู้อำนวยการ
หัวหน้า4ตำแหน่ง
|หัวหน้า3_ชื่อ = บุญสน เจนชัยมหกุล<ref>[https://www.gsb.or.th/about-us/organizational-chart/bank_executives.aspx รองผู้อำนวยการอาวุโส]</ref>
หัวหน้า5ชื่อ
|หัวหน้า3_ตำแหน่ง = รองผู้อำนวยการอาวุโส
|หัวหน้า4_ชื่อ =
หัวหน้า5ตำแหน่ง
|หัวหน้า4_ตำแหน่ง =
หัวหน้า6ชื่อ
|หัวหน้า5_ชื่อ =
หัวหน้า6ตำแหน่ง
|หัวหน้า5_ตำแหน่ง =
หัวหน้า7ชื่อ
|หัวหน้า6_ชื่อ =
หัวหน้า7ตำแหน่ง
|หัวหน้า6_ตำแหน่ง =
หัวหน้า8ชื่อ
|หัวหน้า7_ชื่อ =
หัวหน้า8ตำแหน่ง
|หัวหน้า7_ตำแหน่ง =
หัวหน้า9ชื่อ
|หัวหน้า8_ชื่อ =
หัวหน้า9ตำแหน่ง
|หัวหน้า8_ตำแหน่ง =
หัวหน้า10ชื่อ
|หัวหน้า9_ชื่อ =
หัวหน้า10ตำแหน่ง
ประเภทหน่วยงานรัฐวิสาหกิจกำกับดูแลกระทรวงการคลังประเทศไทยกระทรวงการคลัง
|หัวหน้า9_ตำแหน่ง =
เว็บไซต์httpwwwgsborthwwwgsborth
|หัวหน้า10_ชื่อ =
ธนาคารออมสินมีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลังประเทศไทยกระทรวงการคลังเป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อยเน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทพัฒนาผู้ประกอบการรายย่อยโดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมายอีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชนโครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สินเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อยให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบที่สามารถตรวจสอบได้และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริงเป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลายเหมาะสมกับแต่ละช่วงวัยรวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลามปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด1507แห่งทั่วประเทศคุณบุญมีอุดมจิตร392562
|หัวหน้า10_ตำแหน่ง =
|ประเภทหน่วยงาน = [[รัฐวิสาหกิจ]]
|กำกับดูแล = [[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]]
|เว็บไซต์ = [http://www.gsb.or.th www.gsb.or.th]
}}

'''ธนาคารออมสิน''' มีสถานะ[[รัฐวิสาหกิจ]]สังกัด[[กระทรวงการคลัง (ประเทศไทย)|กระทรวงการคลัง]] เป็น[[ธนาคาร]]เพื่อลูกค้ารายย่อย เน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบท พัฒนา[[ผู้ประกอบการรายย่อย]] โดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมาย อีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชน โครงการธนาคารเพื่อประชาชน โดยให้สินเชื่อระยะสั้น แก่ผู้ประกอบการรายย่อย (ให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบ ที่สามารถตรวจสอบได้ และการเก็บ[[ดอกเบี้ย]]ตามความเป็นจริง) เป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้ จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง อีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศ ของหน่วยงานรัฐบาลและ[[รัฐวิสาหกิจ]] ให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลาย เหมาะสมกับแต่ละช่วงวัย รวมทั้งมีการให้บริการตามหลัก[[ศาสนาอิสลาม]] ปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด 1,507 แห่งทั่วประเทศ


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:00, 3 กันยายน 2562

กล่องข้อมูลหน่นของ บริษัทรัฐวิสาหกิจมหาชน เจ้าของชื่อMRBOONMEEUDOMJIT392562 ชื่อหน่วยงานบิริธนาคารออมสิน ชื่อในภาษาแม่1GovernmentSavingsBank ตราGsbthaijpg ตรากว้าง150px ตราบรรยายตราประจำธนาคารออมสินในปัจจุบัน วันก่อตั้งวันเกิดอายุ245641 ผู้ก่อตั้งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว สืบทอดจากแบงก์ลีฟอเทีย สืบทอดจาก2คลังออมสิน กองบัญชาการ470ถนนพหลโยธินแขวงสามเสนในเขตพญาไทกรุงเทพมหานคร10400 latdlatmlatslatNS longdlongmlongslongEW งบประมาณ1392601ล้านบาทsmallพศ2559smallrefราชกิจจานุเบกษาhttpwwwratchakitchasocgothDATAPDF2558A09117PDFพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพศ2559เล่ม132ตอนที่91กวันที่25 กันยายน2558refหัวหน้า1ชื่ออำนวยปรีมนวงศ์refhttpwwwratchakitchasocgothDATAPDF2562E029T0016PDFref หัวหน้า1ตำแหน่งประธานกรรมการ หัวหน้าชื่อชาติชายพยุหนาวีชัยrefhttpwwwthairathcothcontent460289refหัวหน้า2ตำแหน่งผู้อำนวยการหัวหน้า3ชื่อบุญสนเจนชัยมหกุลrefhttpswwwgsborthaboutusorganizationalchartbankexecutivesaspxรองผู้อำนวยการอาวุโสrefหัวหน้า3ตำแหน่งรองผู้อำนวยการอาวุโสหัวหน้า4ชื่อ หัวหน้า4ตำแหน่ง หัวหน้า5ชื่อ หัวหน้า5ตำแหน่ง หัวหน้า6ชื่อ หัวหน้า6ตำแหน่ง หัวหน้า7ชื่อ หัวหน้า7ตำแหน่ง หัวหน้า8ชื่อ หัวหน้า8ตำแหน่ง หัวหน้า9ชื่อ หัวหน้า9ตำแหน่ง หัวหน้า10ชื่อ หัวหน้า10ตำแหน่ง ประเภทหน่วยงานรัฐวิสาหกิจกำกับดูแลกระทรวงการคลังประเทศไทยกระทรวงการคลัง เว็บไซต์httpwwwgsborthwwwgsborth ธนาคารออมสินมีสถานะรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลังประเทศไทยกระทรวงการคลังเป็นธนาคารเพื่อลูกค้ารายย่อยเน้นการให้สินเชื่อเพื่อพัฒนาชนบทพัฒนาผู้ประกอบการรายย่อยโดยมีรูปแบบของสินเชื่อและชนิดการฝากเงินรายย่อยมากมายอีกทั้งยังสร้างเงินทุนหมุนเวียนในกลุ่มชุมชนโครงการธนาคารเพื่อประชาชนโดยให้สินเชื่อระยะสั้นแก่ผู้ประกอบการรายย่อยให้ประชาชนมาเป็นหนี้ในระบบที่สามารถตรวจสอบได้และการเก็บดอกเบี้ยตามความเป็นจริงเป็นช่องทางการรับและจ่ายเงินกู้จากโครงการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองอีกทั้งยังลงทุนในการพัฒนาประเทศของหน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจให้บริการรูปแบบเงินฝากที่หลากหลายเหมาะสมกับแต่ละช่วงวัยรวมทั้งมีการให้บริการตามหลักศาสนาอิสลามปัจจุบันมีจำนวนสาขาทั้งหมด1507แห่งทั่วประเทศคุณบุญมีอุดมจิตร392562

ประวัติ

ธนาคารออมสิน กำเนิดขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้ทรงริเริ่มนำกิจการด้านการออมสินมาใช้เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2450 โดยได้ทดลองตั้งธนาคารรับฝากเงินขึ้นเรียกว่า "แบงก์ลีฟอเทีย" ณ พระตำหนักสวนจิตรลดา (ในบริเวณวังปารุสกวัน) สำหรับให้มหาดเล็กและข้าราชบริพารของพระองค์ได้เรียนรู้วิธีการดำเนินงานของธนาคาร และส่งเสริมนิสัยรักการออม ส่วนมูลเหตุอันเป็นที่มาของชื่อ "แบงก์ลีฟอเทีย" นั้น นำมาจากชื่อย่อของผู้เป็นกรรมการ ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 ท่าน อันได้แก่

ลี แปลว่า ใหญ่ ได้แก่ รัชกาลที่ 6 ขณะทรงดำรงอิสริยยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ ซึ่งเป็นประธานกรรมการหรือ เจ้าของแบงค์

ฟอ ได้แก่ เฟื้อ หม่อมหลวง เฟื้อ พึ่งบุญ - พลเอกเจ้าพระยารามราฆพ เป็นกรรมการผู้จัดการ.

เทีย ได้แก่ เทียบ เทียบ อัศวรักษ์ - พระยาคธาธรบดี เป็นกรรมการ

ในปี พ.ศ. 2456 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติคลังออมสินขึ้น และประกาศใช้ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน โดยให้เรียกว่า "คลังออมสิน" ขึ้นตรงต่อกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ

ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดำริจะขยายกิจการคลังออมสินให้กว้างขวางขึ้น จึงโอนกิจการคลังออมสิน จากกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ไปสังกัดกรมไปรษณีย์โทรเลข (ปัจจุบันเป็น สำนักงาน กสทช. แต่ก่อนจะแปรสภาพ ส่วนหนึ่งแยกไปจัดตั้งเป็น บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) และ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด) กระทรวงพาณิชย์และคมนาคม (ปัจจุบันคือกระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงคมนาคม) มีสถานะเป็นแผนกคลังออมสินในกองบัญชี เมื่อปี พ.ศ. 2472 เป็นผลให้ราษฎรสามารถฝากและถอนเงิน ณ ที่ทำการไปรษณีย์ได้ เช่นเดียวกับบริการออมสิน ของกรมไปรษณีย์ประเทศญี่ปุ่น และกรมไปรษณีย์ประเทศเยอรมนี

กระทั่งปี พ.ศ. 2489 รัฐบาลในสมัยที่ ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ เป็นนายกรัฐมนตรี ยกระดับให้คลังออมสิน เปลี่ยนสถานะเป็น "ธนาคารออมสิน" มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2490เพื่อทำหน้าที่การธนาคาร และเป็นสถาบันการออมทรัพย์ที่สมบูรณ์แบบ เช่นเดียวกับธนาคารนานาประเทศ

ตราสัญลักษณ์

ไฟล์:ตราธนาคารออมสิน.jpg
ตราประจำธนาคารออมสินเมื่อแรกเริ่มใช้

ตราสัญลักษณ์ของธนาคารออมสิน เป็นรูปวงกลม ภายในแบ่งออกเป็นสามส่วน แต่ละส่วนประกอบด้วย วชิราวุธ เบญจปฎลเศวตฉัตร (ฉัตรห้าชั้น) และต้นไทร อันมีความหมายดังต่อไปนี้

  • วชิราวุธ เป็นเครื่องหมายประจำพระองค์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ผู้ทรงพระราชทานกำเนิดคลังออมสินขึ้นในประเทศไทย
  • เบญจปฎลเศวตฉัตร เป็นเครื่องหมายประจำพระองค์ พลเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบุรฉัตรไชยากร กรมพระกำแพงเพชรอัครโยธิน ผู้ทรงวางรากฐาน และทำนุบำรุงกิจการธนาคารออมสิน ให้มีความเจริญก้าวหน้า
  • ต้นไทร หมายถึงความร่มเย็น ความมั่นคง และความเจริญงอกงามตลอดกาล

สลากออมสิน

สลากออมสิน เป็นรูปแบบหนึ่งของการออมทรัพย์ที่มีลักษณะพิเศษ ผลตอบแทนที่ผู้ฝากได้รับนอกจากดอกเบี้ยแล้วยังสามารถทวีเงินออมโดยผู้ฝากมีสิทธิถูกรางวัลตามที่ธนาคารกำหนด โดยทั้งดอกเบี้ยและเงินรางวัลที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี ซึ่งธนาคารมักจะโฆษณาด้วยข้อความที่ว่า สลากออมสินไม่กินทุน

สลากออมสินนี้เป็นสลากที่เสนอขายแก่ประชาชนทั่วไปได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายนอกเหนือจากสลากกินแบ่งรัฐบาล และสลากที่ออกโดยธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธกส.) ซึ่งยังไม่มีธนาคารเอกชนรายใดได้รับอนุญาตให้ดำเนินการในลักษณะนี้ได้

วันออมสิน

วันออมสิน ตรงกับวันที่ 1 เมษายนของทุกปี กำหนดขึ้นเพื่อระลึกถึงการตั้งธนาคารออมสินโดยจัดกิจกรรมเป็นประจำทุกปีเพื่อเป็นการรักนิสัยการออมเงินสำหรับเด็ก เยาวชนและประชาชนโดยทั่วไป โดยธนาคารออมสินทั่วประเทศได้จัดให้มีการรับฝากเงิน โดยผู้ที่ฝากเงินตั้งแต่ 50 บาท ขึ้นไป จะได้รับการแจกของขวัญ เป็นประจำทุกปี[1]

ไฟล์:Bank ppb.jpg
โครงการธนาคารประชาชน

กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน

ครั้งที่ ชื่อ ชนิดกีฬา กีฬา
1
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2552
"กรุงเทพมหานคร"
4 ชนิดกีฬา
ฟุตบอล, บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล, กรีฑา
2
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 2 ประจำปี 2553
"เชียงใหม่"
4 ชนิดกีฬา
ฟุตบอล, บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล, กรีฑา
3
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 3 ประจำปี 2554
"นครราชสีมา"
9 ชนิดกีฬา
ฟุตบอล, บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล,
กรีฑา, เซปักตะกร้อ, เปตอง,
เทเบิลเทนนิส, เทนนิส, แบดมินตัน
4
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 4 ประจำปี 2555
"นครสวรรค์"
9 ชนิดกีฬา
ฟุตบอล, บาสเกตบอล, วอลเลย์บอล,
กรีฑา, เซปักตะกร้อ, เปตอง,
เทเบิลเทนนิส, เทนนิส, แบดมินตัน
5
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 5 ประจำปี 2556
1 ชนิดกีฬา
ฟุตซอล
6
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 6 ประจำปี 2557
"ขอนแก่น"
3 ชนิดกีฬา
ฟุตซอล, วอลเลย์บอล, เทเบิลเทนนิส
7
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 7 ประจำปี 2558
2 ชนิดกีฬา
ฟุตบอล, วอลเลย์บอล
8
กีฬาธนาคารโรงเรียน ธนาคารออมสิน ครั้งที่ 8 ประจำปี 2559
3 ชนิดกีฬา
ฟุตบอล, วอลเลย์บอล, บาสเกตบอล

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น