รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ต่อไปนี้คือรายชื่อรัฐวิสาหกิจไทยที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง (ไม่รวมบริษัทลูก / บริษัทในเครือ)

รัฐวิสาหกิจในปัจจุบัน[แก้]

ลำดับ ชื่อรัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการที่กำกับดูแล จัดตั้งโดย ปีที่จัดตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสาขา หมายเหตุ
1 ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[1] พ.ศ. 2456 การเงิน เดิมมีชื่อว่า คลังออมสิน
2 บริษัท ขนส่ง จำกัด กระทรวงคมนาคม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2473 ขนส่ง
3 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[2] พ.ศ. 2486 การเงิน เดิมชื่อ ธนาคารเพื่อการสหกรณ์[3]
4 บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด กระทรวงคมนาคม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2491 ขนส่ง
5 การท่าเรือแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม พระราชบัญญัติ[4] พ.ศ. 2494 ขนส่ง รับโอนกิจการจากสำนักงานท่าเรือกรุงเทพฯ
6 การรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม พระราชบัญญัติ[5] พ.ศ. 2494 ขนส่ง เดิมคือ กรมรถไฟ
7 องค์การสะพานปลา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชบัญญัติ[6] พ.ศ. 2496 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
8 ธนาคารอาคารสงเคราะห์ กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[7] พ.ศ. 2496 การเงิน
9 องค์การตลาด กระทรวงมหาดไทย พระราชกฤษฎีกา[8] พ.ศ. 2496 พาณิชย์และบริการ
10 องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พระราชกฤษฎีกา[9] พ.ศ. 2497 สังคมและเทคโนโลยี เดิมมีชื่อว่า องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย
11 โรงพิมพ์ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ระเบียบ พ.ศ. 2497 อุตสาหกรรม เป็นรัฐวิสาหกิจประเภท 2 (ไม่เป็นนิติบุคคล)
12 องค์การคลังสินค้า กระทรวงพาณิชย์ พระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2498 พาณิชย์และบริการ
13 สำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ระเบียบ พ.ศ. 2498 สังคมและเทคโนโลยี
14 องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พระราชกฤษฎีกา[10] พ.ศ. 2499 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
15 บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จำกัด กระทรวงการคลัง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2499 พาณิชย์และบริการ
16 บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด กระทรวงกลาโหม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2500 อุตสาหกรรม
17 การไฟฟ้านครหลวง กระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติ[11] พ.ศ. 2501 พลังงาน รวมกิจการ การไฟฟ้ากรุงเทพ กับกองไฟฟ้าหลวง เข้าด้วยกัน
18 การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พระราชบัญญัติ[12] พ.ศ. 2502 พาณิชย์และบริการ เดิมเป็นสำนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยว กรมโฆษณาการ ต่อมาเป็นองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย[13]
19 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติ[14] พ.ศ. 2503 พลังงาน เริ่มดำเนินการในนามแผนกไฟฟ้า กองบุราภิบาล กรมสาธารณสุข กระทรวงมหาดไทย เมื่อปี พ.ศ. 2473
20 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พระราชบัญญัติ[15] พ.ศ. 2506 สังคมและเทคโนโลยี เดิมชื่อ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทย[16]
21 องค์การสุรา กรมสรรพสามิต กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ระเบียบ พ.ศ. 2506 อุตสาหกรรม
22 องค์การเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุข พระราชบัญญัติ[17] พ.ศ. 2509 สังคมและเทคโนโลยี จัดตั้งขึ้นจากการรวมโรงงานเภสัชกรรม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และ กองโอสถศาลา เข้าเป็นหน่วยงานหนึ่งเดียวกัน
23 การประปานครหลวง กระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติ[18] พ.ศ. 2510 สาธารณูปการ เดิมเป็นการประปากรุงเทพฯ เริ่มดำเนินการ พ.ศ. 2457
24 การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย กระทรวงพลังงาน พระราชบัญญัติ[19] พ.ศ. 2512 พลังงาน เคยถูกแปรสภาพเป็น บริษัท กฟผ. จำกัด (มหาชน) มาแล้วครั้งหนึ่งในปี พ.ศ. 2548 ถึง พ.ศ. 2549
25 องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชกฤษฎีกา[20] พ.ศ. 2514 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ รับโอนกิจการจาก โรงงานโคนมไทย-เดนมาร์ก ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มาดำเนินการต่อ
26 การเคหะแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พระราชบัญญัติ[21] พ.ศ. 2515 สาธารณูปการ เดิมจัดตั้งโดยประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ ๓๑๖ [22]
27 การทางพิเศษแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม พระราชบัญญัติ[23] พ.ศ. 2515 ขนส่ง เดิมจัดตั้งโดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 290
28 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กระทรวงอุตสาหกรรม พระราชบัญญัติ[24] พ.ศ. 2515 อุตสาหกรรม เดิมจัดตั้งโดยประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 339[25] พ.ศ. 2515
29 สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[26] พ.ศ. 2517 พาณิชย์และบริการ จัดตั้งเป็นส่วนราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2482
30 องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชกฤษฎีกา[27] พ.ศ. 2517 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
31 องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ กระทรวงคมนาคม พระราชกฤษฎีกา[28] พ.ศ. 2519 ขนส่ง รับโอนกิจการรถโดยสารจาก บริษัท มหานครขนส่ง จำกัด มาดำเนินการต่อ
32 บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) สำนักนายกรัฐมนตรี กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2520 สื่อสาร รับโอนกิจการสถานีวิทยุกระจายเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์จากบริษัท ไทยโทรทัศน์ จำกัด ในปี พ.ศ. 2520 เดิมคือ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ต่อมาเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547
33 บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) กระทรวงพลังงาน กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2521 พลังงาน เป็นบริษัทมหาชนจำกัด ในปี พ.ศ. 2544 เดิมเป็นการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย[29]
34 การประปาส่วนภูมิภาค กระทรวงมหาดไทย พระราชบัญญัติ[30] พ.ศ. 2522 สาธารณูปการ
35 บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) กระทรวงคมนาคม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2522 ขนส่ง เดิมคือ การท่าอากาศยานแห่งประเทศไทย เป็นบริษัทมหาชนจำกัด ในปี พ.ศ. 2545
36 การกีฬาแห่งประเทศไทย กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา พระราชบัญญัติ[31] พ.ศ. 2528 สังคมและเทคโนโลยี
37 บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[32] พ.ศ. 2534 การเงิน
38 โรงงานไพ่ กรมสรรพสามิต กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง ระเบียบ พ.ศ. 2535 อุตสาหกรรม จัดตั้งเป็นส่วนราชการ เมื่อปี พ.ศ. 2481
39 องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พระราชกฤษฎีกา[33] พ.ศ. 2535 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
40 สถาบันการบินพลเรือน กระทรวงคมนาคม พระราชกฤษฎีกา[34] พ.ศ. 2535 ขนส่ง
41 ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[35] พ.ศ. 2536 การเงิน
42 องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พระราชกฤษฎีกา[36] พ.ศ. 2538 สังคมและเทคโนโลยี
43 องค์การจัดการน้ำเสีย กระทรวงมหาดไทย พระราชกฤษฎีกา[37] พ.ศ. 2538 สาธารณูปการ เดิมสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
44 การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม พระราชบัญญัติ[38] พ.ศ. 2543 ขนส่ง เดิมเป็นองค์การรถไฟฟ้ามหานคร ในปี พ.ศ. 2535[39]
45 ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2545 การเงิน
46 ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง

กระทรวงอุตสาหกรรม[40]

พระราชบัญญัติ[41] พ.ศ. 2545 การเงิน แปรสภาพมาจาก บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม
47 บริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2546 สื่อสาร เดิมเป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสารแห่งประเทศไทยในปี พ.ศ. 2520
48 บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด กระทรวงการคลัง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2547 พาณิชย์และบริการ
49 บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จำกัด กระทรวงคมนาคม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2554 ขนส่ง
50 การยางแห่งประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชบัญญัติ[42] พ.ศ. 2558 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ เกิดจากการรวม สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง องค์การสวนยาง และ สถาบันวิจัยยาง เข้าด้วยกัน
51 การยาสูบแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ[43] พ.ศ. 2561 อุตสาหกรรม รัฐบาลไทยได้ซื้อกิจการของ ห้างหุ้นส่วนจำกัด บูรพายาสูบ มาบริหาร จึงเปลี่ยนชื่อเป็น โรงงานยาสูบไทยสะพานเหลือง เมื่อ พ.ศ. 2482
ต่อมาใน พ.ศ. 2561 ได้ยกฐานะ โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ขึ้นเป็นนิติบุคคล และเปลี่ยนชื่อเป็น "การยาสูบแห่งประเทศไทย"
52 บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2564 สื่อสาร ก่อตั้งเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564 จากการควบรวมกิจการระหว่าง กสท โทรคมนาคม และทีโอที

อดีตรัฐวิสาหกิจ[แก้]

ลำดับ ชื่อรัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการที่กำกับดูแล จัดตั้งโดย การจัดตั้งเป็นรัฐวิสาหกิจ การสิ้นสุดความเป็นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสาขา หมายเหตุ
ปี สถานะก่อนหน้า ปี สาเหตุ
1 บริษัท นารายณ์ภัณฑ์ จำกัด กระทรวงอุตสาหกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2480 พ.ศ. 2527 อุตสาหกรรม บริษัทร่วมทุนของกระทรวงอุตสาหกรรมกับเอกชน
2 บริษัท กระสอบอิสาน จำกัด กระทรวงอุตสาหกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2496 พ.ศ. 2530 อุตสาหกรรม ปัจจุบันยังดำเนินกิจการอยู่ โดยใช้ชื่อว่า บริษัท เอ็นอีพี อสังหาริมทรัพย์และอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) โดยมีกระทรวงการคลังร่วมกับภาคเอกชนเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
3 บริษัท ทิพยประกันภัย จำกัด (มหาชน) กระทรวงการคลัง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2537 พาณิชย์และบริการ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 ต่อมาโอนหุ้นมาเป็นของกระทรวงการคลัง ในปี พ.ศ. 2518
4 องค์การเหมืองแร่ในทะเล กระทรวงอุตสาหกรรม พระราชกฤษฎีกา[44] พ.ศ. 2518 พ.ศ. 2540 อุตสาหกรรม
5 องค์การทอผ้า กระทรวงกลาโหม พระราชกฤษฎีกา[45] พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2541 อุตสาหกรรม
6 องค์การผลิตอาหารสำเร็จรูป กระทรวงกลาโหม พระราชกฤษฎีกา[46] พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2541 อุตสาหกรรม
7 องค์การอุตสาหกรรมห้องเย็น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชกฤษฎีกา[47] พ.ศ. 2501 พ.ศ. 2541 อุตสาหกรรม
8 องค์การแก้ว กระทรวงกลาโหม พระราชกฤษฎีกา[48] พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2543 อุตสาหกรรม
9 องค์การบริหารสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ กระทรวงการคลัง พระราชกฤษฎีกา[49] พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2543 ยุบรวมเข้ากับธนาคารอาคารสงเคราะห์ สถาบันการเงิน
10 บริษัท บางจาก คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) กระทรวงพลังงาน กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2544 สิ้นสุดความเป็นรัฐวิสาหกิจ ปัจจุบันยังดำเนินการในฐานะบริษัทมหาชน พลังงาน เปลี่ยนชื่อมาจาก บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2560
11 องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ กระทรวงคมนาคม พระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2496 เดิมเป็นหน่วยงานสังกัด กรมการขนส่ง (ปัจจุบันเรียกชื่อว่า กรมการขนส่งทางบก)[50] พ.ศ. 2549 ขนส่ง จัดตั้งขึ้นจริง ในปี พ.ศ. 2490
12 องค์การแบตเตอรี่ กระทรวงกลาโหม พระราชกฤษฎีกา[51] พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2550 ยุบเลิกกิจการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550[52] อุตสาหกรรม
13 องค์การฟอกหนัง กระทรวงกลาโหม พระราชกฤษฎีกา[53] พ.ศ. 2498 พ.ศ. 2550 ยุบเลิกกิจการตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2550[54] อุตสาหกรรม
14 บรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน กระทรวงการคลัง พระราชกำหนด พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2550 ยุบเลิกกิจการ[55] การเงิน
15 บริษัท ส่งเสริมธุรกิจเกษตรกรไทย จำกัด กระทรวงการคลัง ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2553 ยุบเลิกกิจการตั้งแต่ 31 มกราคม พ.ศ. 2553 พาณิชย์และบริการ
16 บริษัท ไทยเดินเรือทะเล จำกัด กระทรวงคมนาคม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2483 พ.ศ. 2554 ยุบเลิกกิจการ ขนส่ง
17 บริษัท ไม้อัดไทย จำกัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2555 อุตสาหกรรม
18 องค์การสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชกฤษฎีกา[56] พ.ศ. 2504 เดิมมีชื่อว่า องค์การสวนยางนาบอน พ.ศ. 2558 ยุบรวมทั้ง 2 หน่วยงานและสถาบันวิจัยยางเข้าด้วยกัน ตั้งขึ้นเป็นการยางแห่งประเทศไทย เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
19 สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พระราชบัญญัติ[57] พ.ศ. 2503 เกษตรและทรัพยากรธรรมชาติ
20 บริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน) กระทรวงคมนาคม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2503 บริษัท เดินอากาศไทย จำกัด (ต่อมาถูกโอนกิจการในปี พ.ศ. 2531) และสายการบินสแกนดิเนเวียแอร์ไลน์ พ.ศ. 2563 สิ้นสภาพรัฐวิสาหกิจเมื่อกระทรวงการคลังได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นการบินไทยลง จากเดิมร้อยละ 51.03 เหลือร้อยละ 47.86 (โดยเมื่อรวมกับส่วนที่รัฐวิสาหกิจธนาคารออมสินถืออยู่ในสัดส่วน 2.13% แล้ว มีไม่เกินกว่าร้อยละ 50) เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2563[58] ขนส่ง
21 บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย กระทรวงการคลัง พระราชบัญญัติ พ.ศ. 2540 โอนกิจการ ทรัพย์สิน สิทธิ หนี้สิน ทุน และภาระผูกพัน รวมถึงการโอนสิทธิเรียกร้องของ บตท. ไปให้แก่ธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) ตั้งแต่วันที่ 24 กันยายน 2563[59] การเงิน
22 ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) กระทรวงการคลัง กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2509 ธนาคารเกษตร จำกัด และธนาคารมณฑล จำกัด ต่อมาได้ควบรวมเข้าเป็นธนาคารเดียวกันตามนโยบายของรัฐบาล ภายหลังเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน 2563 กองทุนเพื่อการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงิน (ในฐานะผู้ถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 50) ได้มีหนังสือแจ้งธนาคาร ในเรื่องที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกามีหนังสือแจ้งผลการพิจารณาเกี่ยวกับสถานภาพของกองทุนฯ และธนาคารว่า ธนาคารไม่มีลักษณะเป็นรัฐวิสาหกิจ การเงิน ต่อมาในวันที่ 3 มกราคม 2564 ธนาคารฯ กลับมาเป็นบทบาทมีลักษณะเป็นรัฐวิสาหกิจต่อไป ทำให้การสัดส่วนถือหุ้น เพิ่มขึ้น เป็น 51% ที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ส่งหนังสือฉบับต่อไปแล้ว[60]
23 บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2497 เดิมคือ องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย ต่อมาเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2564 เมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2564 ได้ดำเนินการควบรวมกิจการกันตามมติของคณะรัฐมนตรี จัดตั้งเป็น บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) โดยมีกระทรวงการคลังถือหุ้นทั้งหมด[61] สื่อสาร
24 บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2546 เดิมเป็นส่วนหนึ่งของการสื่อสารแห่งประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2520 สื่อสาร

อ้างอิง[แก้]

  1. พระราชบัญญัติธนาคารออมสิน พ.ศ. 2489
  2. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร พ.ศ. 2509
  3. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการสหกรณ์ พ.ศ. 2486
  4. พระราชบัญญัติการท่าเรือแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494
  5. พระราชบัญญัติการรถไฟแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2494
  6. พระราชบัญญัติระเบียบกิจการแพปลา พ.ศ. 2496
  7. พระราชบัญญัติธนาคารอาคารสงเคราะห์ พ.ศ. 2496
  8. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาด พ.ศ. 2496
  9. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การสวนสัตว์ พ.ศ. 2497
  10. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ พ.ศ. 2499
  11. พระราชบัญญัติการไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501
  12. พระราชบัญญัติการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
  13. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมการท่องเที่ยว พ.ศ. 2502
  14. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2503
  15. พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
  16. พระราชบัญญัติสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ประยุกต์แห่งประเทศไทย
  17. พระราชบัญญัติองค์การเภสัชกรรม
  18. พระราชบัญญัติการประปานครหลวง พ.ศ. 2510
  19. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511
  20. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2514
  21. พระราชบัญญัติการเคหะแห่งชาติ พ.ศ. 2537
  22. ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 316
  23. พระราชบัญญัติการทางพิเศษแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2550
  24. พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2522
  25. ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 339
  26. พระราชบัญญัติสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล พ.ศ. 2517
  27. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร พ.ศ. 2517
  28. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ พ.ศ. 2519
  29. "พระราชบัญญัติการปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2521" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-03-18. สืบค้นเมื่อ 2012-01-12.
  30. พระราชบัญญัติการประปาส่วนภูมิภาค พ.ศ. 2522
  31. พระราชบัญญัติการกีฬ่าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2528
  32. พระราชบัญญัติบรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดย่อม พ.ศ. 2534
  33. พระราชกฤษฎีจัดตั้งองค์การสวนพฤกษศาสตร์ พ.ศ. 2535
  34. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันการบินพลเรือน พ.ศ. 2535ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 109 ตอน 16ก วันที่ 4 มีนาคม 2535 หน้า 52
  35. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2536
  36. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ พ.ศ. 2538
  37. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การจัดการน้ำเสีย พ.ศ. 2538
  38. "พระราชบัญญัติการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2543" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-03-17. สืบค้นเมื่อ 2012-01-12.
  39. พระราชบัญญัติองค์การรถไฟฟ้ามหานคร พ.ศ. 2535
  40. https://www.smebank.co.th/about/annual-report
  41. "พระราชบัญญัติธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2545" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-03-18. สืบค้นเมื่อ 2012-01-12.
  42. พระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 132 ตอนที่ 63ก วันที่ 14 กรกฎาคม 2558
  43. การยาสูบแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2561 ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 135 ตอนที่ 33ก วันที่ 13 พฤษภาคม 2561
  44. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การเหมืองแร่ในทะเล พ.ศ. 2518
  45. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การทอผ้า พ.ศ. 2498
  46. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การผลิตอาหารสำเร็จรูป พ.ศ. 2498
  47. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การอุตสาหกรรมห้องเย็น พ.ศ. 2501
  48. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การแก้ว พ.ศ. 2498
  49. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การบริหารสินเชื่ออสังริมทรัพย์ พ.ศ. 2540
  50. ร.ส.พ. …อีกหนึ่งเมล็ดพันธุ์จากกิจการรถไฟไทยจากเว็บไซต์รถไฟไทยดอตคอม
  51. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การแบตเตอรี่ พ.ศ. 2498
  52. พระราชกฤษฎีกายุบเลิกองค์การแบตเตอรี่ พ.ศ. 2550
  53. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การฟอกหนัง พ.ศ. 2498
  54. พระราชกฤษฎีกายุบเลิกองค์การฟอกหนัง พ.ศ. 2550
  55. พระราชบัญญัติยุบเลิกบรรษัทบริหารสินทรัพย์สถาบันการเงิน พ.ศ. 2549ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 2ก วันที่ 8 มกราคม 2550
  56. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งองค์การสวนยาง พ.ศ. 2504
  57. พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง พ.ศ. 2503
  58. สิ้นสภาพรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลังลดสัดส่วนการถือหุ้นการบินไทยเหลือ 47.86% แล้ว
  59. พระราชบัญญัติยุบเลิกบรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2563
  60. ‘กรุงไทย’ ประกาศพ้นการเป็น ‘รัฐวิสาหกิจ’ หลังกฤษฎีกาตีความชัดเจน
  61. ครม.ไฟเขียวควบรวม”ทีโอที-แคท”