ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี
![]() | ||||
ฉายา | Gli Azzurri (The Blues) ทีมมักกะโรนี (ฉายาในภาษาไทย) | |||
---|---|---|---|---|
สมาคม | สมาพันธ์ฟุตบอลอิตาลี (Federazione Italiana Giuoco Calcio – FIGC) | |||
สมาพันธ์ | ยูฟ่า (ยุโรป) | |||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | โรแบร์โต มันชีนี | |||
กัปตัน | จันลุยจี บุฟฟอน | |||
ติดทีมชาติสูงสุด | จันลุยจี บุฟฟอน (176) | |||
ทำประตูสูงสุด | ลุยจี รีวา (35) | |||
รหัสฟีฟ่า | ITA | |||
อันดับฟีฟ่า | 15 ![]() | |||
อันดับฟีฟ่าสูงสุด | 1 (พฤศจิกายน ค.ศ. 1993, กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007, เมษายน–มิถุนายน ค.ศ. 2007, กันยายน ค.ศ. 2007) | |||
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด | 17 (กรกฎาคม ค.ศ. 2015, ตุลาคม ค.ศ. 2015, กันยายน ค.ศ. 2017) | |||
อันดับอีแอลโอ | 8 ![]() | |||
อันดับอีแอลโอสูงสุด | 1 (มิถุนายน ค.ศ. 1934 – มิถุนายน ค.ศ. 1940, ธันวาคม ค.ศ. 1940 – พฤศจิกายน ค.ศ. 1945, กรกฎาคม–สิงหาคม ค.ศ. 2006) | |||
อันดับอีแอลโอต่ำสุด | 21 (พฤศจิกายน ค.ศ. 1959) | |||
| ||||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | ||||
![]() ![]() (มิลาน, อิตาลี; 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1910) | ||||
ชนะสูงสุด | ||||
![]() ![]() (เบรนต์ฟอร์ด, อังกฤษ; 2 สิงหาคม ค.ศ. 1948) | ||||
แพ้สูงสุด | ||||
![]() ![]() (บูดาเปสต์, ฮังการี; 6 เมษายน ค.ศ. 1924) | ||||
ฟุตบอลโลก | ||||
เข้าร่วม | 18 (ครั้งแรกใน 1934) | |||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1934, 1938, 1982 และ 2006) | |||
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป | ||||
เข้าร่วม | 9 (ครั้งแรกใน 1968) | |||
ผลงานดีที่สุด | ชนะเลิศ (1968) | |||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | ||||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน 2009) | |||
ผลงานดีที่สุด | อันดับที่สาม (2013) |
ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี (อิตาลี: Nazionale italiana di calcio) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศอิตาลี อยู่ภายใต้การดูแลของสมาพันธ์ฟุตบอลอิตาลี ทีมอิตาลีชนะการแข่งขันฟุตบอลโลกทั้งหมด 4 ครั้ง ได้แก่ ฟุตบอลโลกปี 1934, 1938, 1982 และ 2006 และชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปหนึ่งครั้งในปี 1968 และยังได้เหรียญทองฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อนปี 1936
สีประจำทีมอิตาลีคือสีฟ้าอ่อน (และเป็นสีที่ใช้ประจำทีมชาติในหลายกีฬายกเว้นการแข่งขันรถ) ซึ่งในภาษาอิตาลีคือ อัซซูโร (azzurro) และเป็นสีประจำราชวงศ์ของอิตาลีในอดีต และเป็นที่มาของชื่อเล่นของทีมว่า "อัซซูร์รี" (Azzurri)
ประวัติ[แก้]
ในฟุตบอลโลก 2010 ที่แอฟริกาใต้เป็นเจ้าภาพ อิตาลีในฐานะแชมป์เก่าเป็นฝ่ายตกรอบแรก และในฟุตบอลโลก 2014 ที่บราซิลเป็นเจ้าภาพ อิตาลีก็ตกรอบแรกอีกเช่นกัน ถือได้ว่าเป็นทีมที่ตกรอบแรกฟุตบอลโลกถึง 2 สมัยติดต่อกัน[2]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
เกียรติประวัติ[แก้]
- นี่คือรายชื่อเกียรติประวัติของฟุตบอลทีมชาติอิตาลี
รายการแข่งขัน[แก้]
- อันดับที่สาม (1): 2013
รายการอื่น ๆ:
- ชนะเลิศ (2): 1927–30, 1933–35
- รองชนะเลิศ (2): 1931–32, 1936–38[nb 1]
รางวัลส่วนตัว[แก้]
- Laureus World Team of the Year
- ชนะเลิศ: 2007
ตารางสรุปเหรียญรางวัล[แก้]
รายการแข่งขัน | ![]() |
![]() |
![]() |
ทั้งหมด |
---|---|---|---|---|
ฟุตบอลโลก | 4 | 2 | 1 | 7 |
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป | 1 | 2 | 0 | 3 |
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | 0 | 0 | 1 | 1 |
โอลิมปิกฤดูร้อน | 1 | 0 | 2 | 3 |
เนชันส์ลีก | 0 | 0 | 0 | 0 |
ทั้งหมด | 6 | 4 | 4 | 14 |
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]
รายชื่อผู้เล่นที่ถูกเรียกตัวสำหรับการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020 รอบคัดเลือก นัดที่พบกับบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 และอาร์มีเนียเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019[3]
การลงเล่นและประตูอัปเดตเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019 หลังจากนัดที่พบกับอาร์มีเนีย
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
1 | GK | ซัลวาตอเร ซิริกู | 12 มกราคม ค.ศ. 1987 (34 ปี) | 24 | 0 | ![]() |
21 | GK | จานลุยจี ดอนนารุมมา | 25 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1999 (22 ปี) | 16 | 0 | ![]() |
GK | ปิแอร์ลุยจี กอลลินี | 18 มีนาคม ค.ศ. 1995 (26 ปี) | 1 | 0 | ![]() | |
12 | GK | อเล็กซ์ เมเร็ต | 22 มีนาคม ค.ศ. 1997 (24 ปี) | 1 | 0 | ![]() |
19 | DF | เลโอนาร์โด โบนุชชี (กัปตัน) | 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1987 (33 ปี) | 95 | 7 | ![]() |
7 | DF | อเลสซานโดร ฟลอเรนทซี | 11 มีนาคม ค.ศ. 1991 (30 ปี) | 35 | 2 | ![]() |
13 | DF | อเลสซิโอ โรมันญอลี | 12 มกราคม ค.ศ. 1995 (26 ปี) | 12 | 2 | ![]() |
3 | DF | คริสเตียโน บิรากี | 1 กันยายน ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 7 | 1 | ![]() |
DF | แอแมร์ซง ปัลมิเอรี | 3 สิงหาคม ค.ศ. 1994 (26 ปี) | 7 | 0 | ![]() | |
15 | DF | ฟรานเชสโก อแชร์บี | 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 (33 ปี) | 6 | 1 | ![]() |
5 | DF | อาร์มันโด อิทโซ | 2 มีนาคม ค.ศ. 1992 (29 ปี) | 3 | 0 | ![]() |
2 | DF | โจวานนี ดิ ลอเรนโซ | 4 สิงหาคม ค.ศ. 1993 (27 ปี) | 2 | 0 | ![]() |
DF | อันเดรอา ชิสตานา | 1 เมษายน ค.ศ. 1997 (24 ปี) | 0 | 0 | ![]() | |
8 | MF | ฌอร์ฌิญญู เฟรลโล | 20 ธันวาคม ค.ศ. 1991 (29 ปี) | 22 | 4 | ![]() |
18 | MF | นิคโคโละ บาเรลลา | 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 (24 ปี) | 12 | 3 | ![]() |
11 | MF | นิคโคโละ ซานิโอโล | 2 กรกฎาคม ค.ศ. 1999 (21 ปี) | 5 | 2 | ![]() |
6 | MF | ซานโดร โตนาลี | 8 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 (20 ปี) | 3 | 0 | ![]() |
4 | MF | กาเอตาโน คาสโตรวิลลี | 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 (24 ปี) | 1 | 0 | ![]() |
16 | MF | โรลันโด มันดราโกรา | 29 มิถุนายน ค.ศ. 1997 (23 ปี) | 1 | 0 | ![]() |
17 | FW | ชิโร อิมโมบิเล | 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (31 ปี) | 39 | 10 | ![]() |
10 | FW | ลอเรนโซ อินซินเญ | 4 มิถุนายน ค.ศ. 1991 (29 ปี) | 34 | 7 | ![]() |
9 | FW | อันเดรอา เบล็อตติ | 20 ธันวาคม ค.ศ. 1993 (27 ปี) | 27 | 9 | ![]() |
22 | FW | สเตฟาน เอล ชาราวี | 27 ตุลาคม ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 25 | 4 | ![]() |
20 | FW | เฟเดริโก แบร์นาร์เดสคี | 16 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (27 ปี) | 24 | 4 | ![]() |
14 | FW | เฟเดริโก เคียซา | 25 ตุลาคม ค.ศ. 1997 (23 ปี) | 17 | 1 | ![]() |
23 | FW | ริคคาร์โด ออร์โซลินี | 24 มกราคม ค.ศ. 1997 (24 ปี) | 1 | 1 | ![]() |
ผู้เล่นคนสำคัญตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน[แก้]
ดูเพิ่ม[แก้]
หมายเหตุ[แก้]
- ↑ This edition of the tournament was interrupted due to the annexation of Austria to Nazi Germany on 12 March 1938.
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 19 กันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2562. Check date values in:
|access-date=, |date=
(help) - ↑ "อุรุกวัยฉลุย!โกดินโขกฝังอิตาลี10ตัว1-0". สยามสปอร์ต. 24 June 2014. สืบค้นเมื่อ 26 June 2014.
- ↑ "Archived copy". เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2019. สืบค้นเมื่อ 8 November 2019.CS1 maint: archived copy as title (link)
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
![]() |
คอมมอนส์ มีภาพและสื่อเกี่ยวกับ: ฟุตบอลทีมชาติอิตาลี |