ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูโกสลาเวีย
ฉายาPlavi (น้ำเงิน)
Brazilians of Europe[1]
แดนสงคราม (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลยูโกสลาเวีย
ติดทีมชาติสูงสุดดรากัน ซาจิช (85)
(SFRY)
ทำประตูสูงสุดStjepan Bobek (38)
(SFRY)
สนามเหย้าสนามกีฬาเรดสตาร์, เบลเกรด
รหัสฟีฟ่าYUG
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 KY ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(แอนต์เวิร์ป, เบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
หลัง ค.ศ. 1945
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 0–2 SFRY สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
(ปราก, เชโกสโลวะเกีย; 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1945)
นัดสุดท้าย[2]
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 2–0 SFRY สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
(อัมสเตอร์ดัม, เนเธอร์แลนด์; 25 มีนาคม ค.ศ. 1992)
ชนะสูงสุด
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย SFRY 10–0 เวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
(กูรีตีบา, บราซิล; 14 มิถุนายน ค.ศ. 1972)
แพ้สูงสุด
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 KY ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(แอนต์เวิร์ป, เบลเยียม; 28 สิงหาคม ค.ศ. 1920)
ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 7–0 KY ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(ปารีส, ฝรั่งเศส; 26 พฤษภาคม ค.ศ. 1924)
ธงชาติเชโกสโลวาเกีย เชโกสโลวาเกีย 7–0 KY ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
(ปราก, เชโกสโลวะเกีย; 28 ตุลาคม ค.ศ. 1925)
ฟุตบอลโลก
เข้าร่วม8[2] (ครั้งแรกใน 1930)
ผลงานดีที่สุดอันดับที่สาม (1930)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม4[2] (ครั้งแรกใน 1960)
ผลงานดีที่สุดรองชนะเลิศ (1960 และ 1968)

ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย เป็นอดีตทีมฟุตบอลตัวแทนของราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1918–1941) และสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย (ค.ศ. 1943–1992) เป็นทีมที่ประสบความสำเร็จในการแข่งขันหลายรายการ แต่ในปี ค.ศ. 1992 ช่วงสงครามยูโกสลาเวีย ทีมชาติถูกลงโทษจากสหประชาชาติมิให้เข้าร่วมการแข่งขันใด ๆ ต่อมาในปี ค.ศ. 1994 ทีมชาติยูโกสลาเวียจึงกลายเป็นทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร

แม้ว่ายูโกสลาเวียจะถูกแยกเป็นหลายประเทศ แต่ทีมชาติเซอร์เบียถือเป็นผู้สืบทอดทีมชาติยูโกสลาเวียแต่เพียงผู้เดียว ภายใต้การรับรองของฟีฟ่าและยูฟ่า[3][4][5]

ทีมชาติหลังแยกประเทศ[แก้]

ทีมชาติ การแข่งขันระดับนานาชาติ การรับรองโดยฟีฟ่า
ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 1996
ฟุตบอลโลก 1998
ฟุตบอลโลก 2002
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2004
ฟุตบอลโลก 2006
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2008
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2012
ฟุตบอลโลก 2014
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016
ฟุตบอลโลก 2018
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1991)
ธงชาติเซอร์เบีย เซอร์เบีย ฟุตบอลโลก 1998 (ในชื่อเซอร์เบียและมอนเตเนโกร)
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 (ในชื่อเซอร์เบียและมอนเตเนโกร)
ฟุตบอลโลก 2006 (ในชื่อเซอร์เบียและมอนเตเนโกร)
ฟุตบอลโลก 2010 (ในชื่อสาธารณรัฐเซอร์เบีย)
ฟุตบอลโลก 2018 (ในชื่อสาธารณรัฐเซอร์เบีย)
(ผู้สืบทอดหลัก)
ธงชาติสโลวีเนีย สโลวีเนีย ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000
ฟุตบอลโลก 2002
ฟุตบอลโลก 2010
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1991)
ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ฟุตบอลโลก 2014
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1995)
Flag of North Macedonia มาซิโดเนียเหนือ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2020
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1991)
ธงชาติมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร (ตั้งแต่ ค.ศ. 2007)
ธงชาติคอซอวอ คอซอวอ (ตั้งแต่ ค.ศ. 2016)

อดีตผู้เล่นคนสำคัญ[แก้]

เปเเดร๊ก มิยาโตวิช

ดูเพิ่ม[แก้]

ทีมชาติสืบทอด

อ้างอิง[แก้]

  1. A farewell to Yugoslavia openDemocracy.net. Dejan Djokic; April 10, 2002
  2. 2.0 2.1 2.2 ในปี ค.ศ. 1992 ก่อนแยกประเทศ; ข้อมูลหลังจากนั้นดูที่ฟุตบอลทีมชาติเซอร์เบียและมอนเตเนโกร
  3. History เก็บถาวร 2011-12-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at FSS official website, Retrieved October 4, 2012 (เซอร์เบีย)
  4. Serbia เก็บถาวร 2017-07-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at FIFA official website
  5. News: Serbia at UEFA official website, published January 1, 2011, Retrieved October 4, 2012

บรรณานุกรม[แก้]

  • Gigi Riva (2016). L’ultimo rigore di Faruk. Una storia di calcio e di guerra [The Faruk's last penalty. A story about football and war] (ภาษาอิตาลี). Palermo: Sellerio. ISBN 8838935645.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ฟุตบอลทีมชาติยูโกสลาเวีย