ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา
ก่อตั้งค.ศ. 1988
ภูมิภาคอิตาลี อิตาลี
จำนวนทีม2
ทีมชนะเลิศปัจจุบันอินเตอร์มิลาน (สมัยที่ 6)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดยูเวนตุส (9 สมัย)
ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา ฤดูกาล 2021

ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา (อิตาลี: Supercoppa Italiana) หรือ อิตาเลียนซูเปอร์คัพ (อังกฤษ: Italian Super Cup) เริ่มทำการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1988 เป็นการแข่งขันฟุตบอลของประเทศอิตาลี ในช่วงปรี-ซีซันซึ่งแข่งขันกันเป็นประจำทุกปี เพื่อเป็นเตรียมความพร้อมของทีม ก่อนหน้าที่ศึกเซเรียอาฤดูกาลใหม่จะแข่งขัน ซึ่งจะเป็นการพบกันระหว่างทีมแชมป์เซเรียอากับทีมแชมป์โกปปาอีตาเลียของฤดูกาลก่อนหน้านั้น โดยจะทำการแข่งขันกันแบบนัดเดียวรู้ผล ที่สนามของทีมแชมป์เซเรียอา แต่ในปี 1993 และ 2003 ได้ไปแข่งขันกันในสหรัฐอเมริกา ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. และอีสต์รัทเทอร์ฟอร์ด ส่วนในปี 2002 แข่งกันที่กรุงตริโปลี ประเทศลิเบีย ล่าสุดในปี 2009, 2011 และ 2012 ไปทำการแข่งขันกันที่กรุงปักกิ่ง ประเทศจีน[1]

นัด[แก้]

ปี ทีมชนะเลิศเซเรียอา ผลคะแนน ทีมชนะเลิศโกปปาอีตาเลีย/ตัวแทน ผู้ทำประตู สนาม
2022 มิลาน 0–3 อินเตอร์มิลาน เฟเดริโก ดิมาร์โก, เอดิน เจกอ, เลาตาโร มาร์ติเนซ คิงฟาฮ์ด สปอร์ตส์ ซิตี, รียาด

ซาอุดีอาระเบีย

2021 อินเตอร์มิลาน 2–1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
ยูเวนตุส อินเตอร์มิลาน:
เลาตาโร มาร์ติเนซ, อาเลกซิส ซันเชซ
ยูเวนตุส:
เวสตัน แม็กเคนนี
ซานซีโร, มิลาน
2020 ยูเวนตุส 2–0 นาโปลี คริสเตียโน โรนัลโด, อัลบาโร โมราตา สนามกีฬามาเปย์ – ชิตตะเดลตรีโกโลเร, เรจโจเอมีเลีย
2019 ยูเวนตุส 1–3 ลาซีโอ
ดิบาลา, ลุยส์ อัลเบร์โต, ลูลิช, ดานิโล กาตัลดี คิงซาอุ ยูนิเวอร์สตี สเตเดียม, รียาด

ซาอุดีอาระเบีย

2018 ยูเวนตุส 1–0 มิลาน
(ตัวแทน)
คริสเตียโน โรนัลโด คิงอับดุลลอห์สปอร์ตซิตี, ญิดดะฮ์ ซาอุดีอาระเบีย
2017 ยูเวนตุส 2–3 ลาซีโอ
ดิบาลา (2), อิมโมบีเล (2), มูร์จา สตาดีโอโอลิมปีโก, โรม
2016 ยูเวนตุส 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
3 - 4
(ดวลจุดโทษ)
มิลาน
กีเอลลีนี, โบนาเวนตูรา สนามกีฬาจาสซิม บิน ฮาหมัด, โดฮา ประเทศกาตาร์
2015 ยูเวนตุส 2–0 ลาซีโอ
มันจูคิช, ดิบาลา สนามกีฬาเซี่ยงไฮ้, เซี่ยงไฮ้ จีน
2014 ยูเวนตุส 2–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
5–6
(ดวลลูกโทษ)
นาโปลี
เตเบซ (2), อิกัวอิน (2) สนามกีฬาจาสซิม บิน ฮาหมัด โดฮา ประเทศกาตาร์
2013 ยูเวนตุส 4 - 0 ลาซีโอ
ปอกบา, เตเบซ, ลิชท์ชไตเนอร์, กีเอลลีนี สตาดีโอโอลิมปีโก, โรม
2012 ยูเวนตุส 4–2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
นาโปลี ค.อซาโมอาห์, บิดัล, วูชินิช, มัจโจ (O.G.)
กาบานี, ปานเดฟ
สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง,
ปักกิ่ง จีน
2011 มิลาน 2 - 1 อินเตอร์มิลาน อีบราฮีมอวิช, โบอาเทง,
สไนจ์เดอร์
สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง,
ปักกิ่ง จีน
2010 อินเตอร์มิลาน 3 - 1 โรมา
(ตัวแทน)
ปานเดฟ, เอโต (2)
ย.รีเซ่
ซานซีโร, มิลาน
2009 อินเตอร์มิลาน 1 - 2 ลาซีโอ เอโต
มาตูซาเล็ม, ต.รอคคี่
สนามกีฬาแห่งชาติปักกิ่ง,
ปักกิ่ง จีน
2008 อินเตอร์มิลาน 2 - 2
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
6 - 5
(ดวลจุดโทษ)
โรมา มุนตารี, บาโลเตลลี
เด รอสซี, วูชินิช
ซานซีโร, มิลาน
2007 อินเตอร์มิลาน 0 - 1 โรมา เด รอสซี (จุดโทษ) ซานซีโร, มิลาน
2006 อินเตอร์มิลาน 4 - 3
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
โรมา วิเอร่า (2), เกรสโป, ฟีกู
มันชินี่, อาควิลานี่ (2)
ซานซีโร, มิลาน
2005 ยูเวนตุส 0 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
อินเตอร์มิลาน ฮ.เวร่อน เดลเล่ อัลปิ, ตูริน
2004 มิลาน 3 - 0 ลาซีโอ แชวแชนกอ (3) ซานซีโร, มิลาน
2003 ยูเวนตุส 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
5 - 3
(ดวลจุดโทษ)
มิลาน ปีร์โล่
เตรเซเก้ต์
ไจแอ้นท์ส สเตเดี้ยม,
อีสต์ รูเธอร์ฟอร์ด สหรัฐ
2002 ยูเวนตุส 2 - 1 ปาร์มา เดล ปีเอโร (2)
ดิ วาโย่
จูน 11 สเตเดี้ยม,
ตริโปลี ลิเบีย
2001 โรมา 3 - 0 ฟีออเรนตีนา กองเดล่า, มอนเตลล่า, ตอตตี สตาดีโอโอลิมปีโก, โรม
2000 ลาซีโอ 4 - 3 อินเตอร์มิลาน ค.โลเปซ (2), มิไฮจ์โลวิช, สแตนโควิช
ร.คีน, ฟารินอส, วัมเปต้า
สตาดีโอโอลิมปีโก, โรม
1999 มิลาน 1 - 2 ปาร์มา กูลี่
เกรสโป, โบโกสซิยอง
ซานซีโร, มิลาน
1998 ยูเวนตุส 1 - 2 ลาซีโอ เดล ปีเอโร
เนดเวด, ซ.คอนไซเซา
เดลเล่ อัลปิ, ตูริน
1997 ยูเวนตุส 3 - 0 วีเชนซา ฟ.อินซากี้ (2), คอนเต้ เดลเล่ อัลปิ, ตูริน
1996 มิลาน 1 - 2 ฟีออเรนตีนา ด.ซาวิเซวิช
บาติสตูตา (2)
ซานซีโร, มิลาน
1995 ยูเวนตุส 1 - 0 ปาร์มา วิอัลลี่ เดลเล่ อัลปิ, ตูริน
1994 มิลาน 1 - 1
(หลังต่อเวลาพิเศษ)
3 - 2
(ดวลจุดโทษ)
ซัมป์โดเรีย กุลลิต
มิไฮจ์โลวิช
ซานซีโร, มิลาน
1993 มิลาน 1 - 0 โตรีโน ซิโมเน่ อาร์เอฟเค สเตเดี้ยม,
วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐ
1992 มิลาน 2 - 1 ปาร์มา ฟัน บัสเติน, ด.มัสซาโร่
เมลลี่
ซานซีโร, มิลาน
1991 ซัมป์โดเรีย 1 - 0 โรมา ร.มันชินี่ ลุยจิ แฟร์ราริส, เจนัว
1990 นาโปลี 5 - 1 ยูเวนตุส กาเรก้า (2), ซิเลนซี่ (2), คริปป้า
บัจโจ
สตาดีโอซานเปาโล, เนเปิลส์
1989 อินเตอร์มิลาน 2 - 0 ซัมป์โดเรีย คุชคี่, เซเรน่า ซานซีโร, มิลาน
1988 มิลาน 3 - 1 ซัมป์โดเรีย ฟ.ไรจ์การ์ด, ฟาน บาสเท่น, มันนารี่
วิอัลลี่
ซานซีโร, มิลาน

ทำเนียบผู้ชนะเลิศจำแนกตามสโมสร[แก้]

สโมสร ชนะเลิศ รองชนะเลิศ ปีชนะเลิศ ปีรองชนะเลิศ
ยูเวนตุส
9
8
1995, 1997, 2002, 2003, 2012, 2013, 2015, 2018, 2020 1990, 1998, 2005, 2014, 2016, 2017, 2019, 2021
มิลาน
7
5
1988, 1992, 1993, 1994, 2004, 2011, 2016 1996, 1999, 2003, 2018, 2022
อินเตอร์มิลาน
7
4
1989, 2005, 2006, 2008, 2010, 2021, 2022 2000, 2007, 2009, 2011
ลาซีโอ
5
3
1998, 2000, 2009, 2017, 2019 2004, 2013, 2015
โรมา
2
4
2001, 2007 1991, 2006, 2008, 2010
นาโปลี
2
2
1990, 2014 2012, 2020
ซัมป์โดเรีย
1
3
1991 1988, 1989, 1994
ปาร์มา
1
3
1999 1992, 1995, 2002
ฟีออเรนตีนา
1
1
1996 2001
โตรีโน
0
1
- 1993
วีเชนซา
0
1
- 1997

อ้างอิง[แก้]

  1. "Milan win Supercoppa Italiana in shootout triumph over Juventus". The Guardian. 23 December 2016. สืบค้นเมื่อ 4 January 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]