ฟุตบอลทีมชาติแอลเบเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แอลเบเนีย
ฉายาKuq e Zinjtë (The Red and Blacks)
Shqiponjat
(The Eagles)

นกสองหัว (ฉายาในประเทศไทย)
สมาคมFederata Shqiptare e Futbollit (FSHF)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเอโดอาร์โด เรยา
กัปตันเอลเซอิด ไฮซาย
ติดทีมชาติสูงสุดลอริค ซานา (93)
ทำประตูสูงสุดเอริออน บอกดานี (18)
สนามเหย้าสนามกีฬาแอร์แอลเบเนีย
รหัสฟีฟ่าALB
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 64 ลดลง 2 (15 กุมภาพันธ์ 2024)[1]
อันดับสูงสุด22 (สิงหาคม 2015[2])
อันดับต่ำสุด124 (สิงหาคม 1997[2])
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
แอลเบเนีย Albania 2–3 Yugoslavia สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย
(Tirana, Albania; 7 October 1946)[3]
ชนะสูงสุด
ธงชาติแอลเบเนีย แอลเบเนีย 5–0 เวียดนาม ธงชาติเวียดนาม
(Bastia Umbra, Italy; 12 February 2003)
ธงชาติแอลเบเนีย แอลเบเนีย 6–1 ไซปรัส ธงชาติไซปรัส
(Tirana, Albania; 12 August 2009)[3]
แพ้สูงสุด
ธงชาติฮังการี ฮังการี 12–0 แอลเบเนีย ธงชาติแอลเบเนีย
(Budapest, Hungary; 24 September 1950)[3]
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป
เข้าร่วม2 (ครั้งแรกใน 2016)
ผลงานดีที่สุดรอบแบ่งกลุ่ม (2016)

ฟุตบอลทีมชาติแอลเบเนีย (แอลเบเนีย: Kombëtarja shqiptare e futbollit) เป็นฟุตบอลทีมชาติจากประเทศแอลเบเนีย อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแอลเบเนีย เข้าร่วมรายการแข่งขันหลักระหว่างประเทศครั้งแรกในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016

ประวัติ[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016[แก้]

ในฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 หรือยูโร 2016 ที่ฝรั่งเศส แอลเบเนียได้สร้างประวัติศาสตร์ผ่านเข้าสู่การแข่งขันรอบสุดท้ายได้เป็นครั้งแรก[4] ส่วนในการแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม แอลเบเนียอยู่ในกลุ่มเอร่วมกับฝรั่งเศส, สวิตเซอร์แลนด์ และโรมาเนีย

โดยผลการแข่งขัน ปรากฏว่าแอลเบเนียได้อันดับ 3 จากการแพ้ 2 และชนะ 1 ซึ่งตามกติกาใหม่ที่ใช้ในคราวนี้ ให้กำหนดให้ทีมที่ได้อันดับ 3 ทั้งหมดจาก 6 กลุ่มทั้งหมด ที่มีผลต่างของประตูได้เสียดีที่สุด 4 ทีมผ่านเข้าไปสู่รอบ 16 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นรอบของการแพ้คัดออกได้ ปรากฏว่าผลต่างของแอลเบเนียยังสู้ทีมอื่นไม่ได้ จึงต้องตกรอบไปในที่สุด[5] ถึงแม้ว่าในนัดสุดท้ายจะสามารถเอาชนะโรมาเนีย ที่ถูกมองว่าเหนือกว่าก็ตามไป 1–0 ประตู จากลูกโหม่งของอาร์มันโด ซาดิคู ในนาทีที่ 43 ซึ่งลูกนี้ยังนับว่าเป็นลูกประวัติศาสตร์ของแอลบาเนียอีกด้วย ในฐานะที่เป็นลูกแรกของแอลบาเนียที่ทำได้ในการเล่นรอบสุดท้ายการแข่งขันฟุตบอลระดับโลก[6]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (H) 3 2 1 0 4 1 +3 7 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 2 0 2 1 +1 5
3 ธงชาติแอลเบเนีย แอลเบเนีย 3 1 0 2 1 3 −2 3
4 ธงชาติโรมาเนีย โรมาเนีย 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : UEFA
กฎการจัดอันดับ : กฎการจัดอันดับรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นทั้งหมดนี้ถูกเรียกตัวมาในการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 ประกาศรายชื่อผู้เล่น 23 คน เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม[7]

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK เอทริต เบรีชา 10 มีนาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 27 ปี) 35 0 อิตาลี ลาซีโอ
2 2DF อันดี ลีลา 12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1986 (อายุ 30 ปี) 59 0 กรีซ ปัสยันนีนา
3 3MF เอร์มีร์ เลญานี 5 สิงหาคม ค.ศ. 1989 (อายุ 26 ปี) 19 3 ฝรั่งเศส น็องต์
4 2DF เอลเซย์ด ฮือไซ 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (อายุ 22 ปี) 20 0 อิตาลี นาโปลี
5 2DF ลอริก ซานา (กัปตัน) 27 มิถุนายน ค.ศ. 1983 (อายุ 32 ปี) 92 1 ฝรั่งเศส น็องต์
6 2DF เฟรดดี เวเซลี 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1992 (อายุ 23 ปี) 3 0 สวิตเซอร์แลนด์ ลูกาโน
7 2DF อันซี อากอลี 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1982 (อายุ 33 ปี) 61 2 อาเซอร์ไบจาน คาราบัค
8 3MF มีเจน บาชา 5 มกราคม ค.ศ. 1987 (อายุ 29 ปี) 19 3 อิตาลี โกโม
9 3MF เลเดียน เมมูไช 7 ธันวาคม ค.ศ. 1986 (อายุ 29 ปี) 14 0 อิตาลี เปสการา
10 4FW อาร์มันโด ซาดีคู 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) 20 5 ลีชเทินชไตน์ วาดุซ
11 4FW ชเกิลเซน กาชี 15 กรกฎาคม ค.ศ. 1988 (อายุ 27 ปี) 14 1 สหรัฐ คอโลแรโดแรพิดส์
12 1GK ออร์เกส เชฮี 25 กันยายน ค.ศ. 1977 (อายุ 38 ปี) 7 0 แอลเบเนีย สเกินเดร์เบวคอร์ช
13 3MF บูริม คูเคลี 16 มกราคม ค.ศ. 1984 (อายุ 32 ปี) 15 0 สวิตเซอร์แลนด์ ซือรืช
14 3MF เทาลันต์ จากา 28 มีนาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) 12 0 สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล
15 2DF เมอร์กิม มัฟไร 9 มิถุนายน ค.ศ. 1986 (อายุ 30 ปี) 26 3 เยอรมนี แอร์สเทอเอฟเซเคิล์น
16 4FW ซอคอล ซีคาเลชี 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 25 ปี) 20 2 ตุรกี อิสตันบุลบาชักเชฮีร์
17 2DF นาเซร์ อาลียี 27 ธันวาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 22 ปี) 5 0 สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล
18 2DF อาร์ลินด์ อาเยที 25 กันยายน ค.ศ. 1993 (อายุ 22 ปี) 10 1 อิตาลี โฟรซีโนเน
19 4FW เบคิม บาไล 11 มกราคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) 16 2 โครเอเชีย รีเยกา
20 3MF เอร์กึส คาเช 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1993 (อายุ 22 ปี) 16 2 กรีซ ปาโอก
21 3MF ออดีเซ รอชี 21 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 (อายุ 25 ปี) 33 1 โครเอเชีย รีเยกา
22 3MF อามีร์ อาบราชี 27 มีนาคม ค.ศ. 1990 (อายุ 26 ปี) 18 0 เยอรมนี เอ็สเซ ไฟรบวร์ค
23 1GK อัลบัน ฮอจา 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1987 (อายุ 28 ปี) 1 0 แอลเบเนีย พาร์ทีซานีติรานา

อ้างอิง[แก้]

  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 15 กุมภาพันธ์ 2024. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2024.
  2. 2.0 2.1 FIFAAlbania. "Albania in FIFA website". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-07. สืบค้นเมื่อ 16 August 2010.
  3. 3.0 3.1 3.2 Kirill (16 สิงหาคม 2010). "Albania matches". Kirill. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 สิงหาคม 2010. สืบค้นเมื่อ 16 สิงหาคม 2010.
  4. "ครั้งแรกในฟุตบอลยูโรของแอลเบเนีย". สำนักข่าวไทย. 20 May 2016. สืบค้นเมื่อ 20 June 2016.
  5. "โปรแกรมยูโร 2016 รอบ 16 ทีมสุดท้าย". ฐานเศรษฐกิจ. 23 June 2016. สืบค้นเมื่อ 23 June 2016.}
  6. "'ซาดิคู' โขกชัย! 'แอลเบเนีย' เฉือนโรมาเนีย 1-0 มีลุ้นเข้ารอบ". ไทยรัฐ. 20 June 2016. สืบค้นเมื่อ 23 June 2016.
  7. De Biasi shpall listën zyrtare të Euro 2016 เก็บถาวร 2016-06-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน FSHF.org

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]