สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา
ชื่อเต็ม | สโมสรฟุตบอลฟิออเรนติน่า | |||
---|---|---|---|---|
ฉายา | Viola (สีม่วง) Gigliati (ดอกลิลลี่) ม่วงมหากาฬ (ในภาษาไทย) | |||
ก่อตั้ง | 1926 (AC Fiorentina) 2002 (ACF Fiorentina) | |||
สนาม | อาร์เตมีโอ ฟรังกี ฟลอเรนซ์ | |||
ความจุ | 43,147[1] | |||
เจ้าของสโมสร | ร็อคโค บี. คอมมิสโซ (98%) ฟิเรนเซ วิออล่า (2%) | |||
ประธานสโมสร | มาริโอ คอนยินี่ | |||
ผู้จัดการทีม | วินเชนโซ อีตาเลียโน | |||
ลีก | เซเรียอา | |||
2022–23 | อันดับที่ 8 | |||
เว็บไซต์ | เว็บไซต์สโมสร | |||
|
สโมสรฟุตบอลฟิออเรนติน่า (อิตาลี: ACF Fiorentina) ทีมฟุตบอลชั้นนำทีมหนึ่งของประเทศอิตาลี ปัจจุบันเล่นอยู่ในเซเรียอา ตั้งอยู่ ณ เมืองฟลอเรนซ์ เป็นคู่อริ กับต่างเมืองตูริน อย่างทีมยูเวนตุส หลังเกิดเหตุการณ์ข้อกังขาในนัดสุดท้ายลุ้นแชมป์เซเรียอา ในปี ค.ศ. 1981–82 จึงเป็นคู่ดาร์บีแมตช์ ตั้งแต่ ณ เวลานั้นเป็นต้นมา
ประวัติ
[แก้]ฟิออเรนตีนา ก่อตั้งสโมสรขึ้นในปี ค.ศ. 1926 มีฉายาว่า Viola (สีม่วง) หรือ Gigliati (ดอกลิลี) มีฉายาในภาษาไทยว่า "ม่วงมหากาฬ" เนื่องจากมีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นคือ ชุดประจำทีมที่เป็นสีม่วงทั้งชุด อันเป็นสีประจำเมืองฟลอเรนซ์[2]
ฟีออเรนตีนาเคยตกชั้นหลายครั้งและเคยประสบวิกฤตจนเกือบยุบสโมสร แต่ก็สามารถกลับคืนสู่ลีกสูงสุดจนปัจจุบัน ในปี ค.ศ. 2002
สนามกีฬาอาร์เตมีโอ ฟรังกี
[แก้]อาร์เตมีโอฟรังกี ซึ่งปัจจุบันมีความจุ 43,147 สนามกีฬาใช้ชื่อมาหลายปีแล้วและมีการปรับปรุงหลายครั้ง เป็นสนามเหย้าของฟิออเรนติน่า เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในชื่อเล่นว่าไวโอล่าซึ่งกล่าวถึงสีม่วงที่โดดเด่น
เกียรติประวัติ
[แก้]ระดับประเทศ
[แก้]- เซเรียอา
- ชนะเลิศ (2): 1955–56, 1968–69
- โกปปาอีตาเลีย
- ชนะเลิศ (6): 1939–40, 1960–61, 1965–66, 1974–75, 1995–96, 2000–01
- ซูแปร์โกปปาอีตาเลียนา
- ชนะเลิศ (1): 1996
ระดับทวีปยุโรป
[แก้]- ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
- รองชนะเลิศ (1): 1956–57
- ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ
- ชนะเลิศ (1): 1960–61
- ยูฟ่าคัพ
- รองชนะเลิศ (1): 1989–90
- ยูฟ่ายูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก
- รองชนะเลิศ (1): 2022–23
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน
[แก้]หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
|
|
อดีตผู้เล่นที่มีชื่อเสียง
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ViolaChannel – Stadio Franchi".
- ↑ Martin, Simon. Football and Fascism: The National Game Under Mussolini. Berg Publishers. ISBN 1-85973-705-6.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- เว็บไซต์ของแฟนคลับ เก็บถาวร 2019-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา ที่เฟซบุ๊ก
- สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา ที่เฟซบุ๊ก
- สโมสรฟุตบอลฟีออเรนตีนา ที่เฟซบุ๊ก