ฟุตบอลทีมชาติแอฟริกาใต้
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
![]() | |||
ฉายา | Bafana Bafana (The Boys) บ่อเพชร (ฉายาในภาษาไทย) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลแอฟริกาใต้ | ||
สมาพันธ์ย่อย | COSAFA | ||
สมาพันธ์ | CAF (Africa) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | เอฟราอิม มาชาบา ![]() | ||
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน | โอเวน ดา กามา ![]() ทาโบ เซน็อง ![]() | ||
กัปตัน | ดีน เฟอร์แมน | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | แอรอน โมโคเอนา (107) | ||
ทำประตูสูงสุด | เบนนี แม็คคาร์ธีย์ (32) | ||
สนามเหย้า | ซอกเกอร์ซิตี | ||
รหัสฟีฟ่า | RSA | ||
อันดับฟีฟ่า | 56 (กุมภาพันธ์ 2015) | ||
อันดับฟีฟ่าสูงสุด | 16 (สิงหาคม 1996) | ||
อันดับฟีฟ่าต่ำสุด | 124 (ธันวาคม 1992) | ||
อันดับอีแอลโอ | 53 (ตุลาคม 2014) | ||
อันดับอีแอลโอสูงสุด | 21 (9) (กันยายน 1996 (ตุลาคม 1955)[1]) | ||
อันดับอีแอลโอต่ำสุด | 94 (พฤษภาคม 2006) | ||
| |||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
![]() ![]() (กรุงเบลฟาสต์, ไอร์แลนด์เหนือ; 24 กันยายน 1924) | |||
ชนะสูงสุด | |||
![]() ![]() (อดิเลด, ออสเตรเลีย; 17 กันยายน 1955) | |||
แพ้สูงสุด | |||
![]() ![]() (โจฮันเนสเบิร์ก, แอฟริกาใต้; 5 มีนาคม 2014) | |||
ฟุตบอลโลก | |||
เข้าร่วม | 3 (ครั้งแรกใน 1998) | ||
ผลงานดีที่สุด | รอบที่ 1, 1998 และ 2002 | ||
African Nations Cup | |||
เข้าร่วม | 7 (ครั้งแรกใน 1996) | ||
ผลงานดีที่สุด | ผู้ชนะ, 1996 | ||
คอนเฟเดอเรชันส์คัพ | |||
เข้าร่วม | 2 (ครั้งแรกใน 1997) | ||
ผลงานดีที่สุด | ที่ 4, 2009 |
ฟุตบอลทีมชาติแอฟริกาใต้ (อังกฤษ: South Africa national football team) หรือ บาฟานา บาฟานา (Bafana Bafana มีความหมายว่าเด็กชาย) เป็นตัวแทนทีมฟุตบอลจากประเทศแอฟริกาใต้ อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลแอฟริกาใต้ (SAFA) ทีมกลับมาเล่นระดับโลกในปี 1992 หลังจากหลายปีที่ถูกฟีฟ่าแบนจากนโยบายการแบ่งแยกสีผิว และในปี 2010 แอฟริกาใต้เป็นประเทศแรกที่เป็นเจ้าภาพ ในทวีปแอฟริกา ในฟุตบอลโลก 2010 เดือนมิถุนายน ซิฟิเว่ ทีชาบาลาล่ายังเป็นคนแกรที่ทำคะแนนให้กับทีมชาติแอฟริกาใต้ในการแข่งขันฟุตบอลโลก ทีมชาติแอฟริกาใต้ประสบความสำเร็จในการเป็นผู้ชนะการแข่งขันแอฟริกาคัพออฟเนชันส์ ในปี 1996 ที่ประเทศตนเองเป็นเจ้าภาพ
ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]
ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2017
# | ตำแหน่ง | ผู้เล่น | วันเกิด (อายุ) | ลงเล่น | ประตู | สโมสร |
---|---|---|---|---|---|---|
GK | Wayne Sandilands | 23 สิงหาคม ค.ศ. 1983 (37 ปี) | 7 | 0 | ![]() | |
GK | Ronwen Williams | 21 มกราคม ค.ศ. 1992 (29 ปี) | 3 | 0 | ![]() | |
GK | Reyaad Pieterse | 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 0 | 0 | ![]() | |
DF | Eric Mathoho | 1 มีนาคม ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 33 | 1 | ![]() | |
DF | Thulani Hlatshwayo | 18 ธันวาคม ค.ศ. 1989 (31 ปี) | 31 | 3 | ![]() | |
DF | Morgan Gould | 23 เมษายน ค.ศ. 1983 (37 ปี) | 27 | 1 | ![]() | |
DF | Tebogo Langerman | 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1986 (34 ปี) | 9 | 0 | ![]() | |
DF | Ramahlwe Mphahlele | 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 9 | 0 | ![]() | |
DF | Clayton Daniels | 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1984 (36 ปี) | 9 | 1 | ![]() | |
DF | Abbubaker Mobara | 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1994 (26 ปี) | 8 | 0 | ![]() | |
DF | Sifiso Hlanti | 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 3 | 0 | ![]() | |
MF | Andile Jali | 10 เมษายน ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 43 | 4 | ![]() | |
MF | Dean Furman | 22 มิถุนายน ค.ศ. 1988 (32 ปี) | 40 | 3 | ![]() | |
MF | Thulani Serero | 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 38 | 2 | ![]() | |
MF | Hlompho Kekana | 23 พฤษภาคม ค.ศ. 1985 (35 ปี) | 22 | 5 | ![]() | |
MF | Bongani Zungu | 9 ตุลาคม ค.ศ. 1992 (28 ปี) | 20 | 2 | ![]() | |
MF | Daylon Claasen | 28 มกราคม ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 11 | 0 | ![]() | |
MF | Keagan Dolly | 22 มกราคม ค.ศ. 1993 (28 ปี) | 9 | 2 | ![]() | |
MF | Themba Zwane | 3 สิงหาคม ค.ศ. 1989 (31 ปี) | 9 | 0 | ![]() | |
MF | Kamohelo Mokotjo | 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1991 (29 ปี) | 6 | 0 | ![]() | |
FW | Tokelo Rantie | 8 กันยายน ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 39 | 12 | ![]() | |
FW | Kermit Erasmus | 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 14 | 2 | ![]() | |
FW | Lebogang Manyama | 13 กันยายน ค.ศ. 1990 (30 ปี) | 11 | 1 | ![]() | |
FW | Bradley Grobler | 25 มกราคม ค.ศ. 1988 (32 ปี) | 5 | 3 | ![]() | |
FW | Percy Tau | 13 พฤษภาคม ค.ศ. 1994 (26 ปี) | 4 | 2 | ![]() |
อ้างอิง[แก้]
- ↑ The Elo ratings website lists 21 as the highest reached position, though after 23 (too few?) matches between 1947 and 1955, almost all with Australia and New Zealand, it had reached 9th place.