ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เอสโตเนีย
Shirt badge/Association crest
ฉายาSinisärgid (เสื้อน้ำเงิน)
สมาคมสมาคมฟุตบอลเอสโตเนีย
(Eesti Jalgpalli Liit – EJL)
สมาพันธ์ยูฟ่า (ยุโรป)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนThomas Häberli
กัปตันKonstantin Vassiljev
ติดทีมชาติสูงสุดMartin Reim (157)
ทำประตูสูงสุดAndres Oper (38)
สนามเหย้าLilleküla Stadium
รหัสฟีฟ่าEST
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 109 Steady (22 ธันวาคม 2022)[1]
อันดับสูงสุด47 (มีนาคม ค.ศ. 2012)
อันดับต่ำสุด137 (ตุลาคม ค.ศ. 2008)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 6–0 เอสโตเนีย ธงชาติเอสโตเนีย
(เฮลซิงกิ ประเทศฟิลแลนด์; 17 ตุลาคม ค.ศ. 1920)
ชนะสูงสุด
ธงชาติเอสโตเนีย เอสโตเนีย 6–0 ลิทัวเนีย ธงชาติลิทัวเนีย
(ทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย; 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1928)
ธงชาติยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 0–6 เอสโตเนีย ธงชาติเอสโตเนีย
(ฟารู/โลเล ประเทศโปรตุเกส; 7 ตุลาคม ค.ศ. 2017)
แพ้สูงสุด
ธงชาติฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 10–2 เอสโตเนีย ธงชาติเอสโตเนีย
(เฮลซิงกิ ประเทศฟิลแลนด์; 11 สิงหาคม ค.ศ. 1922)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 8–0 เอสโตเนีย ธงชาติเอสโตเนีย
(ไมนทซ์ ประเทศเยอรมนี; 11 มิถุนายน ค.ศ. 2019)
บอลติกคัพ
เข้าร่วม27 (ครั้งแรกใน 1928)
ผลงานดีที่สุดชนะเลิศ
(1929, 1931, 1938, 2020)

ฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนีย (อังกฤษ: Estonia national football team; เอสโตเนีย: Eesti jalgpallikoondis) เป็นตัวแทนของประเทศเอสโตเนียในการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติ เช่น ฟุตบอลโลก และ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป อยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมฟุตบอลเอสโตเนีย (Eesti Jalgpalli Liit) สนามเหย้าของฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียคือ อา เลอ ค็อก อารีน่าในทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย

สนามเหย้า[แก้]

อา เลอ ค็อก อารีน่าคือสนามเหย้าของทีมชาติเอสโตเนียตั้งแต่ปี 2001

ตั้งแต่ปี 2001 เป็นต้นมา ทีมชาติเอสโตเนียใช้สนามอา เลอ ค็อก อารีน่าในเมืองทาลลินน์เป็นสนามเหย้า มีขนาดความจุ 14,400 ที่นั่ง[2] และมีผู้สนับสนุนคือบริษัทเบียร์ในเอสโตเนีย[3][4] สนามนี้ใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 2001 และเป็นสนามที่ใหญ่ที่สุดในประเทศเอสโตเนีย นอกจากนี้ยังเป็นสนามเหย้าของทีมเพ็ดลินนามีสกอนด์ด้วย

โดยสนามเหย้าเก่าคือสนาม Kadriorg ซึ่งเปิดใช้งานในเดือนมิถุนายนปี 1926 มีความจุ 5,000 ที่นั่ง[5]

หัวหน้าโค้ช[แก้]

Position Name[6]
หัวหน้าโค้ช เอสโตเนีย Martin Reim
ผู้ช่วยโค้ช เอสโตเนีย Andres Oper
เอสโตเนีย Janno Kivisild
โค้ชผู้รักษาประตู เอสโตเนีย Mart Poom
หมอ เอสโตเนีย Kaspar Rõivassepp
นักกายภาพบำบัด เอสโตเนีย Helvis Trääder
เอสโตเนีย Marius Unt
เอสโตเนีย Ott Meerits
ผู้จัดการ เอสโตเนีย Miko Pupart

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นปัจจุบัน[แก้]

รายชื่อต่อไปนี้เป็นทีมชุด ยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2020–21 ลีกซี ในเกมที่พบกับ ไซปรัส ในวันที่ 24 และ 29 มีนาคม 2022[7]

0#0 ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร
1 1GK Mihkel Aksalu (1984-11-07) 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 (38 ปี) 32 0 ฟินแลนด์ SJK
12 1GK Marko Meerits (1992-04-26) 26 เมษายน ค.ศ. 1992 (31 ปี) 7 0 ฟินแลนด์ VPS
22 1GK Mait Toom (1990-05-07) 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1990 (33 ปี) 0 0 เอสโตเนีย Flora

2 2DF Madis Vihmann (1995-10-05) 5 ตุลาคม ค.ศ. 1995 (27 ปี) 1 0 เอสโตเนีย Flora
3 2DF Artur Pikk (1993-03-05) 5 มีนาคม ค.ศ. 1993 (30 ปี) 18 1 เบลารุส BATE Borisov
19 2DF Ken Kallaste (1988-08-31) 31 สิงหาคม ค.ศ. 1988 (35 ปี) 35 0 โปแลนด์ Korona Kielce
21 2DF Nikita Baranov (1992-08-19) 19 สิงหาคม ค.ศ. 1992 (31 ปี) 20 0 นอร์เวย์ Kristiansund
23 2DF Taijo Teniste (1988-01-31) 31 มกราคม ค.ศ. 1988 (35 ปี) 56 0 นอร์เวย์ Sogndal
33 2DF Karl Mööl (1992-03-04) 4 มีนาคม ค.ศ. 1992 (31 ปี) 4 0 เอสโตเนีย Nõmme Kalju

4 3MF Mattias Käit (1998-06-29) 29 มิถุนายน ค.ศ. 1998 (25 ปี) 6 2 อังกฤษ Fulham
5 3MF Dmitri Kruglov (1984-05-24) 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1984 (39 ปี) 108 4 เอสโตเนีย FCI Tallinn
6 3MF Aleksandr Dmitrijev (1982-02-18) 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1982 (41 ปี) 104 0 เอสโตเนีย FCI Tallinn
7 3MF Janar Toomet (1989-08-10) 10 สิงหาคม ค.ศ. 1989 (34 ปี) 5 0 เอสโตเนีย Nõmme Kalju
13 3MF Brent Lepistu (1993-03-26) 26 มีนาคม ค.ศ. 1993 (30 ปี) 4 0 เอสโตเนีย Flora
14 3MF Konstantin Vassiljev (1984-08-16) 16 สิงหาคม ค.ศ. 1984 (39 ปี) 97 23 โปแลนด์ Jagiellonia Białystok
16 3MF Sergei Mošnikov (1988-01-07) 7 มกราคม ค.ศ. 1988 (35 ปี) 29 1 เบลารุส Minsk
17 3MF Siim Luts (1989-03-12) 12 มีนาคม ค.ศ. 1989 (34 ปี) 31 2 เช็กเกีย Bohemians 1905
18 3MF Karol Mets (1993-05-16) 16 พฤษภาคม ค.ศ. 1993 (30 ปี) 40 0 นอร์เวย์ Viking
20 3MF Artjom Dmitrijev (1988-11-14) 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1988 (34 ปี) 5 0 เอสโตเนีย Nõmme Kalju

8 4FW เฮนรี อานิเยร์ (1990-12-17) 17 ธันวาคม ค.ศ. 1990 (32 ปี) 77 17 ไทย เมืองทอง ยูไนเต็ด
9 4FW Ats Purje (1985-08-03) 3 สิงหาคม ค.ศ. 1985 (38 ปี) 61 9 ฟินแลนด์ KuPS
10 4FW Sergei Zenjov (1989-04-20) 20 เมษายน ค.ศ. 1989 (34 ปี) 58 12 อาเซอร์ไบจาน Gabala

ถูกเรียกติดทีม[แก้]

ผู้เล่นต่อไปนี้ถูกเรียกติดทีมใน12เดือนที่ผ่านมา[8][9]

ตำแหน่ง ผู้เล่น วันเกิด (อายุ) ลงเล่น ประตู สโมสร ถูกเรียกครั้งล่าสุด
GK Matvei Igonen (1996-10-02) 2 ตุลาคม ค.ศ. 1996 (26 ปี) 0 0 เอสโตเนีย FCI Tallinn v. ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย, 28 March 2017
GK Andreas Vaikla (1997-02-19) 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1997 (26 ปี) 2 0 ฟินแลนด์ IFK Mariehamn v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
GK Pavel Londak (1980-05-14) 14 พฤษภาคม ค.ศ. 1980 (43 ปี) 27 0 เอสโตเนีย Nõmme Kalju v. ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม, 13 November 2016

DF Ragnar Klavan (1985-10-30) 30 ตุลาคม ค.ศ. 1985 (37 ปี) 119 3 อังกฤษ Liverpool v. ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม, 9 June 2017
DF Enar Jääger (1984-11-18) 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1984 (38 ปี) 121 0 นอร์เวย์ Vålerenga v. ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม, 9 June 2017 INJ
DF Joonas Tamm (1992-02-02) 2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1992 (31 ปี) 7 0 เอสโตเนีย Flora v. ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย, 28 March 2017
DF Gert Kams (1985-05-25) 25 พฤษภาคม ค.ศ. 1985 (38 ปี) 48 2 เอสโตเนีย Flora v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
DF Markus Jürgenson (1987-09-09) 9 กันยายน ค.ศ. 1987 (36 ปี) 9 0 ฟินแลนด์ VPS v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
DF Vladimir Avilov (1995-03-10) 10 มีนาคม ค.ศ. 1995 (28 ปี) 2 0 เอสโตเนีย FCI Tallinn v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
DF Hindrek Ojamaa (1995-06-12) 12 มิถุนายน ค.ศ. 1995 (28 ปี) 2 0 Unattached v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
DF Trevor Elhi (1993-04-11) 11 เมษายน ค.ศ. 1993 (30 ปี) 1 0 เอสโตเนีย Nõmme Kalju v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016

MF Henrik Ojamaa (1991-05-20) 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1991 (32 ปี) 27 0 สกอตแลนด์ Dundee v. ธงชาติเบลเยียม เบลเยียม, 9 June 2017
MF Ilja Antonov (1992-12-05) 5 ธันวาคม ค.ศ. 1992 (30 ปี) 31 1 ออสเตรีย SV Horn v. ธงชาติโครเอเชีย โครเอเชีย, 28 March 2017
MF Pavel Marin (1995-06-14) 14 มิถุนายน ค.ศ. 1995 (28 ปี) 8 1 เอสโตเนีย Levadia v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
MF Pavel Dõmov (1993-12-31) 31 ธันวาคม ค.ศ. 1993 (29 ปี) 2 0 เอสโตเนีย FCI Tallinn v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
MF Martin Miller (1997-09-25) 25 กันยายน ค.ศ. 1997 (26 ปี) 1 0 เอสโตเนีย Flora v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
MF Maksim Gussev (1994-07-20) 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1994 (29 ปี) 9 1 เอสโตเนีย Flora v. ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, 6 September 2016
MF Igor Subbotin (1990-06-26) 26 มิถุนายน ค.ศ. 1990 (33 ปี) 5 0 เอสโตเนีย Nõmme Kalju v. ธงชาติบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, 6 September 2016
MF Andreas Raudsepp (1993-12-13) 13 ธันวาคม ค.ศ. 1993 (29 ปี) 7 0 เอสโตเนีย Levadia v. ธงชาติมอลตา มอลตา, 31 August 2016

FW Rauno Sappinen (1996-01-23) 23 มกราคม ค.ศ. 1996 (27 ปี) 11 1 เอสโตเนีย Flora v. ธงชาติแอนทีกาและบาร์บิวดา แอนทีกาและบาร์บิวดา, 22 November 2016
FW Tarmo Neemelo (1982-02-10) 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1982 (41 ปี) 22 1 เอสโตเนีย Nõmme Kalju v. ธงชาติกรีซ กรีซ, 10 October 2016
  • INJ ถอนตัวจากอาการบาดเจ็บ
  • PRE ทีมตัวหลัก
  • RET เลิกเล่นทีมชาติ

ทีมในอดีต[แก้]

โอลิมปิก

บันทึกการแข่งขัน[แก้]

โอลิมปิก[แก้]

เอสโตเนียได้เข้าร่วมโอลิมปิกฤดูร้อน 1924ซึ่งมีเจ้าภาพตือปารีส,ประเทศฝรั่งเศสซึ่งในขณะนั้นฟุตบอลทีมชาติเอสโตเนียอยู่ภายใต้การการดูแลของFerenc Kónya ผู้จัดการชาวฮังการี โดยผลการแข่งขันคือ แพ้สหรัฐ1-0 แพ้ไอร์แลนด์1-3และหลังจากการแข่งโอลิมปิกก็ได้ไปแข่งกระชับมิตรที่ประเทศเยอรมนีโดยได้แข่งกับทีมแอร์สเทอเอฟเซไคเซอร์สเลาเทิร์นซึ่งผลออกมาคือเสมอ 2-2[10]

ฟุตบอลโลก[แก้]

ฟุตบอลโลก width="1" rowspan="39" ฟุตบอลโลกรอบคัดเลือกโซนยุโรป
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เวมอ แพ้ ได้ เสีย
อุรุกวัย 1930 ไม่ได้รับเชิญ
อิตาลี 1934 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 1 0 0 1 2 6
ฝรั่งเศส 1938 3 1 0 2 4 11
บราซิล 1950 ไม่ได้เข้าร่วม
สวิตเซอร์แลนด์ 1954
สวีเดน 1958
ชิลี 1962
อังกฤษ 1966
เม็กซิโก 1970
เยอรมนีตะวันตก 1974
อาร์เจนตินา 1978
สเปน 1982
เม็กซิโก 1986
อิตาลี 1990
สหรัฐ 1994 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 10 0 1 9 1 27
ฝรั่งเศส 1998 10 1 1 8 4 16
เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น 2002 10 2 2 6 10 26
เยอรมนี 2006 12 5 2 5 16 17
แอฟริกาใต้ 2010 10 2 2 6 9 24
บราซิล 2014 10 2 1 7 6 20
รัสเซีย 2018 กำลังคัดเลือก 6 1 1 4 5 17
รวม 0/20 0 0 0 0 0 0 72 14 10 48 57 164

ยูโร[แก้]

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เวมอ แพ้ ได้ เสีย
ฝรั่งเศส 1960 ไม่ได้เข้าร่วม
สเปน 1964
อิตาลี 1968
เบลเยียม 1972
สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย 1976
อิตาลี 1980
ฝรั่งเศส 1984
เยอรมนีตะวันตก 1988
สวีเดน 1992
อังกฤษ 1996 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 10 0 0 10 3 31
เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ 2000 10 3 2 5 15 17
โปรตุเกส 2004 8 2 2 4 4 6
ออสเตรีย สวิตเซอร์แลนด์ 2008 12 2 1 9 5 21
โปแลนด์ ยูเครน 2012 12 5 2 5 16 19
ฝรั่งเศส 2016 10 3 1 6 4 9
รวม 0/15 0 0 0 0 0 0 62 15 8 39 47 103

เหตุการณ์สำคัญ[แก้]

  • ฟุตบอลโลกรอบคัดเลือกเกมส์แรก: 11 มิถุนายน 1933, สต็อกโฮล์ม, พบกับฟุตบอลทีมชาติสวีเดน (แพ้6–2 ) (เกมส์แรกในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือก) ;
  • ชนะฟุตบอลโลกรอบคัดเลือกครั้งแรกและได้อันดับหนึ่ง: 19 August 1937, Turku, Finland (1–0) ;

สถิติ[แก้]

ผู้จัดการทีม[แก้]

ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2017.
1920–1940
ตั้งแต่ ชื่อ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ % ชนะ
1920–1923 No manager 10 2 3 5 20.0
1924 ฮังการี Ferenc Kónya 2 0 0 2 0
1924 No manager 5 0 0 5 0
1925 ฮังการี Ferenc Nagy 2 2 0 0 100.0
1925–1926 No manager 7 2 3 2 28.6
1927 ฮังการี Antal Mally 4 3 0 1 75.0
1927–1929 No manager 12 3 4 5 25.0
1930 ออสเตรีย Fritz Kerr 6 1 1 4 16.7
1931 No manager 7 4 0 3 57.1
1932 เอสโตเนีย Albert Vollrat 7 1 0 6 14.3
1933–34 No manager 9 3 2 4 33.3
1934 เอสโตเนีย Bernhard Rein 2 0 2 0 0
1935 ฮังการี Antal Mally 8 0 5 3 0
1936–1938 เอสโตเนีย Bernhard Rein 21 7 3 11 33.3
1939–1940 เอสโตเนีย Elmar Saar 5 1 1 3 20.0
1992–ปัจจุบัน
ตั้งแต่ ชื่อ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ % ชนะ
1992–1993 เอสโตเนีย Uno Piir 19 2 4 13 10.5
1994–1995 เอสโตเนีย Roman Ubakivi 22 0 1 21 0
1995 เอสโตเนีย Aavo Sarapct 2 0 0 2 0
1996–1999 ไอซ์แลนด์ Teitur Thordarson 57 13 17 27 22.8
1999–2000 เอสโตเนีย Tarmo Rüütli 10 6 2 2 60.0
2000 เอสโตเนีย Aivar Lilleverect 2 0 0 2 0
2000–2004 เนเธอร์แลนด์ Arno Pijpers 55 16 14 25 29.1
2004–2007 เนเธอร์แลนด์ Jelle Goes 29 5 6 18 17.2
2007 เดนมาร์ก Viggo Jensen 8 2 2 4 25.0
2008–2013 เอสโตเนีย Tarmo Rüütli 79 24 16 39 30.4
2014–2016 สวีเดน Magnus Pehrsson 33 11 8 14 33.3
2016– เอสโตเนีย Martin Reim 9 4 2 3 44.4

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 22 ธันวาคม 2022. สืบค้นเมื่อ 22 ธันวาคม 2022.
  2. "A. Le Coq Arena" (ภาษาเอสโตเนีย). FC Flora. สืบค้นเมื่อ 30 April 2020.
  3. "FC Flora -". fcflora.ee. สืบค้นเมื่อ 17 March 2017.
  4. "A. Le Coq. Meie partnerid". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-25. สืบค้นเมื่อ 2017-06-16.
  5. Kadriorg Stadium demonstration website
  6. "Koosseis". Estonian Football Association. สืบค้นเมื่อ 9 June 2017.
  7. "Selgus meeste koondise koosseis mängudeks Küprosega" (ภาษาเอสโตเนีย). Estonian Football Association. 15 March 2022.
  8. "Koondise koosseisus on 26 meest" (ภาษาเอสโตเนีย). Estonian Football Association. 28 September 2016.
  9. "Selgus eksootilistele maavõistlustele sõitva Eesti koondise koosseis" (ภาษาเอสโตเนีย). Estonian Football Association. 10 November 2016.
  10. Schwede, Indrek 2001. Väike jalgpallipiibel. Lk 11–12.
  11. 11.0 11.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ capsandgoals

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]