ฟุตบอลโลก 2018
![]() | ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
Чемпионат мира по футболу 2018 Chempionat mira po futbolu FIFA 2018 | |
---|---|
![]() | |
รายละเอียดการแข่งขัน | |
ประเทศเจ้าภาพ | รัสเซีย |
วันที่ | 14 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2018 |
ทีม | 32 (จาก 5 สมาพันธ์) |
สถานที่ | 12 (ใน 11 เมืองเจ้าภาพ) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ![]() |
รองชนะเลิศ | ![]() |
อันดับที่ 3 | ![]() |
อันดับที่ 4 | ![]() |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 64 |
จำนวนประตู | 169 (2.64 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 3,031,768 (47,371 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | ![]() |
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | ![]() |
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม | ![]() |
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | ![]() |
รางวัลแฟร์เพลย์ | ![]() |
ฟุตบอลโลก 2018 (อังกฤษ: 2018 FIFA World Cup; รัสเซีย: Чемпионат мира по футболу 2018) เป็นการแข่งขันกีฬาฟุตบอลโลก ที่จัดขึ้นในปี ค.ศ. 2018 (พ.ศ. 2561) โดยประเทศรัสเซียเป็นเจ้าภาพ นับเป็นการจัดครั้งแรกของรัสเซียและยุโรปตะวันออก และเป็นครั้งแรกที่ประเทศเจ้าภาพคาบเกี่ยวระหว่างสองทวีป คือ ยุโรปกับเอเชีย โดยการประกาศประเทศเจ้าภาพอย่างเป็นทางการมีขึ้นในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2553 ณ นครซูริก ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ พร้อมกับการประกาศประเทศเจ้าภาพ ปี 2022
คณะกรรมการจัดการแข่งขันของรัสเซียได้เตรียมการในการสร้างสนามฟุตบอลใหม่ถึง 9 แห่ง รวมกับสนามที่มีอยู่เดิม 7 แห่ง โดยมีสนามลุจนีกีเป็นสนามที่มีความจุมากที่สุด คือ 89,318 ที่นั่ง นอกจากนี้ สนามกีฬาโอลิมปิกโซชีที่สร้างเพื่อใช้ในพิธีเปิดโอลิมปิกฤดูหนาว 2014 จะเป็นหนึ่งในสนามแข่งขันในฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วย
การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]
ประเทศ | คะแนนเสียง | |
---|---|---|
รอบ 1 | รอบ 2 | |
![]() |
9 | 13 |
![]() ![]() |
7 | 7 |
![]() ![]() |
4 | 2 |
![]() |
2 | — |
- ทีมที่เข้าร่วมอย่างเป็นทางการ
ทีมที่เข้าร่วม[แก้]
รอบคัดเลือก[แก้]
|
|
|
|
การจับสลาก[แก้]
การจับสลากแบ่งกลุ่มรอบสุดท้ายของฟุตบอลโลก 2018 กำหนดจัดขึ้นที่ศูนย์การประชุมสเตทเครมลินพาเลซ ภายในเขตเครมลิน กรุงมอสโก ในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2560[3]ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายทั้งหมดจะได้รับการจับสลาก โดยแบ่งเป็นแปดกลุ่ม กลุ่มละสี่ทีม โดยมีทีมในโถจับสลากดังนี้ (ตัวเลขหลังชื่อประเทศคืออันดับฟีฟ่า ณ เดือนตุลาคม 2560)
โถที่ 1 | โถที่ 2 | โถที่ 3 | โถที่ 4 |
---|---|---|---|
|
|
|
|
ผู้เล่น[แก้]
แต่ละทีมต้องส่งรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้นในรอบแรก 30 คน จากนั้นส่งรายชื่อ 23 คนสุดท้ายจากรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น (ต้องมีผู้รักษาประตู 3 คน) ในการแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2017 ระหว่างวันที่ 17 มิถุนายน จนถึง 2 กรกฎาคม ค.ศ. 2017 เป็นการเล่นประเดิมก่อนฟุตบอลโลก 2018 ทีมจะต้องส่งรายชื่อผู้เล่น 23 คน (โดยต้องมีผู้เล่นตำแหน่งผู้รักษาประตู 3 คน) หากมีผู้เล่นที่ได้รับบาดเจ็บหรือเหตุผลอื่นที่ทำให้ไม่สามารถเข้าร่วมแข่งขันได้ สามารถที่จะเปลี่ยนตัวผู้เล่นได้ภายใน 24 ชั่วโมง ก่อนที่จะแข่งขันนัดแรก ซึ่งไม่จำเป็นต้องอยู่ในรายชื่อผู้เล่นเบื้องต้น[4]
สำหรับผู้เล่นเบื้องต้น 30 คน จะต้องมีเวลาเหลืออยู่ในช่วงระหว่างวันที่ 21 และ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 2018 ยกเว้นผู้เล่นที่เกี่ยวข้องในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2018 ที่จะเล่นในวันที่ 26 พฤษภาคม[5]
ผู้ตัดสิน[แก้]
ในเดือนพฤศจิกายน 2560, รายชื่อของผู้ตัดสินที่ถูกเลือกเพื่อดูแลแต่ละนัดได้ถูกปล่อยออกมาแล้ว.[6]
สนามแข่งขัน[แก้]
มอสโก | เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก | โซชี | |
---|---|---|---|
สนามกีฬาลุจนีกี | ออตครืยตีเย-อะเรนา (สนามกีฬาสปาร์ตัค) |
สนามกีฬาเครสตอฟสกี (สนามกีฬาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก) |
สนามกีฬาโอลิมปิกฟิชต์ (สนามกีฬาฟิชต์) |
ความจุ : 81,000 ที่นั่ง | ความจุ : 45,360 ที่นั่ง | ความจุ : 68,134 ที่นั่ง | ความจุ : 47,659 ที่นั่ง |
![]() |
![]() |
![]() |
|
ซามารา | คาซาน | ||
ซามาราอะเรนา (คอสมอสอะเรนา) |
คาซานอะเรนา | ||
ความจุ : 44,918 ที่นั่ง | ความจุ : 45,379 | ||
![]() |
![]() | ||
รอสตอฟ-นา-โดนู | วอลโกกราด | ||
รอสตอฟอะเรนา | วอลโกกราดอะเรนา | ||
ความจุ : 45,000 ที่นั่ง | ความจุ : 45,568 ที่นั่ง | ||
![]() | |||
นิจนีนอฟโกรอด | ซารันสค์ | เยคาเตรินบุร์ก | คาลีนินกราด |
สนามกีฬานิจนีนอฟโกรอด | มอร์โดวียาอะเรนา | สนามกีฬากลาง (เยคาเตรินบุร์กอะเรนา) |
สนามกีฬาคาลีนินกราด |
ความจุ : 44,899 ที่นั่ง | ความจุ : 44,442 ที่นั่ง | ความจุ : 35,696 ที่นั่ง | ความจุ : 35,212 ที่นั่ง |
![]() |
![]() |
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สนามการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018
รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]
เวลาทั้งหมดที่ระบุข้างล่างนี้เป็นเวลาท้องถิ่น[7]
กลุ่มเอ[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 3 | 0 | 0 | 5 | 0 | +5 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 4 | +4 | 6 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 7 | −5 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 6 | −4 | 0 |
ซาอุดีอาระเบีย ![]() | 2–1 | ![]() |
---|---|---|
อัลฟะร็อจญ์ ![]() อัดเดาซะรี ![]() |
รายงาน | เศาะลาห์ ![]() |
กลุ่มบี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 6 | 5 | +1 | 5 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 5 | 4 | +1 | 5 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 2 | 2 | 0 | 4 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 4 | −2 | 1 |
กลุ่มซี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 3 | 1 | +2 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 2 | 1 | +1 | 5 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 2 | 0 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 |
ฝรั่งเศส ![]() | 2–1 | ![]() |
---|---|---|
กรีแยซมาน ![]() เบอิช ![]() |
รายงาน | เยดีนัก ![]() |
ฝรั่งเศส ![]() | 1–0 | ![]() |
---|---|---|
อึมบาเป ![]() |
รายงาน |
กลุ่มดี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 3 | 0 | 0 | 7 | 1 | +6 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 3 | 5 | −2 | 4 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 4 | −1 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 |
อาร์เจนตินา ![]() | 1–1 | ![]() |
---|---|---|
อาเกวโร ![]() |
รายงาน | ฟินปอกาซอน ![]() |
กลุ่มอี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 1 | 0 | 5 | 1 | +4 | 7 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 2 | 0 | 5 | 4 | +1 | 5 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 4 | −2 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 1 | 2 | 2 | 5 | −3 | 1 |
บราซิล ![]() | 2–0 | ![]() |
---|---|---|
โกชิญญู ![]() เนย์มาร์ ![]() |
รายงาน |
สวิตเซอร์แลนด์ ![]() | 2–2 | ![]() |
---|---|---|
เจไมลี ![]() เดอร์มิช ![]() |
รายงาน | วัสตอน ![]() ซ็อมเมอร์ ![]() |
กลุ่มเอฟ[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 5 | 2 | +3 | 6 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 3 | 4 | −1 | 6 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 3 | 3 | 0 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 4 | −2 | 3 |
เกาหลีใต้ ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
ซน ฮึง-มิน ![]() |
รายงาน | เบลา ![]() เอร์นันเดซ ![]() |
เกาหลีใต้ ![]() | 2–0 | ![]() |
---|---|---|
คิม ย็อง-กว็อน ![]() ซน ฮึง-มิน ![]() |
รายงาน |
เม็กซิโก ![]() | 0–3 | ![]() |
---|---|---|
รายงาน | เอากุสตินซอน ![]() กรอนกวิสต์ ![]() อัลบาเรซ ![]() |
กลุ่มจี[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 3 | 0 | 0 | 9 | 2 | +7 | 9 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 8 | 3 | +5 | 6 | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 5 | 8 | −3 | 3 | |
4 | ![]() |
3 | 0 | 0 | 3 | 2 | 11 | −9 | 0 |
เบลเยียม ![]() | 5–2 | ![]() |
---|---|---|
เอ. อาซาร์ ![]() ลูกากู ![]() บัตชัวยี ![]() |
รายงาน | บรอน ![]() ค็อซรี ![]() |
กลุ่มเอช[แก้]
อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ![]() |
3 | 2 | 0 | 1 | 5 | 2 | +3 | 6 | ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก |
2 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4[a] | |
3 | ![]() |
3 | 1 | 1 | 1 | 4 | 4 | 0 | 4[a] | |
4 | ![]() |
3 | 1 | 0 | 2 | 2 | 5 | −3 | 3 |
รอบแพ้คัดออก[แก้]
สายการแข่งขัน[แก้]
รอบ 16 ทีม | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||
30 มิถุนายน – โซชี | ||||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
6 กรกฎาคม – นิจนีนอฟโกรอด | ||||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
![]() | 0 | |||||||||||||
30 มิถุนายน – คาซาน | ||||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
![]() | 4 | |||||||||||||
10 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก | ||||||||||||||
![]() | 3 | |||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
2 กรกฎาคม – ซามารา | ||||||||||||||
![]() | 0 | |||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
6 กรกฎาคม – คาซาน | ||||||||||||||
![]() | 0 | |||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
2 กรกฎาคม – รอสตอฟ-นา-โดนู | ||||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
![]() | 3 | |||||||||||||
15 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี) | ||||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
![]() | 4 | |||||||||||||
1 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี) | ||||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
![]() | 1 (3) | |||||||||||||
7 กรกฎาคม – โซชี | ||||||||||||||
![]() | 1 (4) | |||||||||||||
![]() | 2 (3) | |||||||||||||
1 กรกฎาคม – นิจนีนอฟโกรอด | ||||||||||||||
![]() | 2 (4) | |||||||||||||
![]() | 1 (3) | |||||||||||||
11 กรกฎาคม – มอสโก (ลุจนีกี) | ||||||||||||||
![]() | 1 (2) | |||||||||||||
![]() | 2 | |||||||||||||
3 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก | ||||||||||||||
![]() | 1 | อันดับที่ 3 | ||||||||||||
![]() | 1 | |||||||||||||
7 กรกฎาคม – ซามารา | 14 กรกฎาคม – เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก | |||||||||||||
![]() | 0 | |||||||||||||
![]() | 0 | ![]() | 2 | |||||||||||
3 กรกฎาคม – มอสโก (ออตครืยตีเย) | ||||||||||||||
![]() | 2 | ![]() | 0 | |||||||||||
![]() | 1 (3) | |||||||||||||
![]() | 1 (4) | |||||||||||||
รอบ 16 ทีม[แก้]
ฝรั่งเศส ![]() | 4–3 | ![]() |
---|---|---|
กรีแยซมาน ![]() ปาวาร์ ![]() อึมบาเป ![]() |
รายงาน | ดิ มาริอา ![]() เมร์กาโด ![]() อาเกวโร ![]() |
สเปน ![]() | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
อิกนาเชวิช ![]() |
รายงาน | ดซูย์บา ![]() |
ลูกโทษ | ||
อินิเอสตา ![]() ปิเก ![]() โกเก ![]() ราโมส ![]() อัสปัส ![]() |
3–4 | ![]() ![]() ![]() ![]() |
โครเอเชีย ![]() | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
มันจูคิช ![]() |
รายงาน | ม. เยอร์เอินเซิน ![]() |
ลูกโทษ | ||
บาเด็ลย์ ![]() ครามาริช ![]() มอดริช ![]() พิวาริช ![]() ราคิทิช ![]() |
3–2 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
โคลอมเบีย ![]() | 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
มินา ![]() |
รายงาน | เคน ![]() |
ลูกโทษ | ||
ฟัลกาโอ ![]() กัวดราโด ![]() มูริเอล ![]() อูริเบ ![]() บากา ![]() |
3–4 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]
บราซิล ![]() | 1–2 | ![]() |
---|---|---|
เรนาตู เอากุสตู ![]() |
รายงาน | เฟร์นังจิญญู ![]() เดอ เบรยเนอ ![]() |
รัสเซีย ![]() | 2–2 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
เชรืยเชฟ ![]() เฟียร์นันเดส ![]() |
รายงาน | ครามาริช ![]() วีดา ![]() |
ลูกโทษ | ||
สโมลอฟ ![]() ดซาโกเอฟ ![]() เฟียร์นันเดส ![]() อิกนาเชวิช ![]() คูซยาเยฟ ![]() |
3–4 | ![]() ![]() ![]() ![]() ![]() |
รอบรองชนะเลิศ[แก้]
โครเอเชีย ![]() | 2–1 (ต่อเวลาพิเศษ) | ![]() |
---|---|---|
เพริชิช ![]() มันจูคิช ![]() |
รายงาน | ทริปเปียร์ ![]() |
นัดชิงอันดับ 3[แก้]
รอบชิงชนะเลิศ[แก้]
ฝรั่งเศส ![]() | 4–2 | ![]() |
---|---|---|
มันจูคิช ![]() กรีแยซมาน ![]() ปอกบา ![]() อึมบาเป ![]() |
รายงาน | เพริชิช ![]() มันจูคิช ![]() |
สถิติ[แก้]
ผู้ทำประตู[แก้]
การแข่งขันทั้งหมดมี 169 ประตูที่ทำได้ใน 64 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 2.64 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน
- 6 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
อังเฆล ดิ มาริอา
กาบริเอล เมร์กาโด
ลิโอเนล เมสซิ
มาร์โกส โรโฆ
มีชี บัตชัวยี
นาแซร์ ชาดลี
เกฟิน เดอ เบรยเนอ
มารวน แฟลายนี
อัดนัน ยานูไซ
ดรีส แมร์เตินส์
ตอมา เมอนีเย
ยัน เฟอร์โตงเงิน
โรแบร์ตู ฟีร์มีนู
เปาลิญญู
เรนาตู เอากุสตู
ชียากู ซิลวา
ฮวน กัวดราโด
ราดาเมล ฟัลกาโอ
ฮวน เฟร์นันโด กินเตโร
เกนดัล วัสตอน
มีลัน บาเด็ลย์
อันเดรย์ ครามาริช
อิวัน ราคิทิช
อันเท เรบิช
ดอมาก็อย วีดา
คริสเตียน เอริกเซน
แมทีแยส เยอร์เอินเซิน
ยูซุฟ พออุลเซิน
เดลี แอลลี
เจสซี ลินการ์ด
แฮร์รี แมไกวร์
คีแรน ทริปเปียร์
แบ็งฌาแม็ง ปาวาร์
ปอล ปอกบา
ซามุแอล อูมตีตี
ราฟาแอล วาราน
โทนี โครส
มาร์โค ร็อยส์
อัลแฟรด ฟินปอกาซอน
กิลวี ซีกืร์ดซอน
แครีม แอนซอรีแฟร์ด
เก็งกิ ฮารางูจิ
เคซูเกะ ฮนดะ
ชินจิ คางาวะ
ยูยะ โอซาโกะ
ฆาบิเอร์ เอร์นันเดซ
อีร์บิง โลซาโน
การ์โลส เบลา
คอลิด บูเฏาะอีบ
ยูซุฟ อันนะศีรี
วิกเตอร์ โมซิส
เฟลิเป บาลอย
อันเดร การ์ริโย
ปาโอโล เกร์เรโร
ยัน แบดนาแร็ก
กแชกอช กรือคอเวียก
เปปี
รีการ์ดู กวาแรฌมา
มารีโอ เฟียร์นันเดส
ยูรี กาซินสกี
อะเลคซันดร์ โกโลวิน
ซาลิม อัดเดาซะรี
ซัลมาน อัลฟะร็อจญ์
ซาดีโย มาเน
อึมบาย นีย็องก์
มูซา วาเก
อาเล็กซานดาร์ คอลาร็อฟ
อาเล็กซานดาร์ มิทรอวิช
คิม ย็อง-กว็อน
ยาโก อัสปัส
อิสโก
นาโช
ลุดวิก เอากุสตินซอน
เอียมิล ฟ็อชแบร์ย
อูลา ท็อยวอเนิน
ยอซิป เดอร์มิช
เบลริม เจไมลี
แจร์ดัน ชาชีรี
กรานิต จากา
สตีเวิน ซูเบอร์
ดีลาน บรอน
ฟิรญานี ซาสซี
ฟัครุดดีน บิน ยูซุฟ
โฆเซ ฆิเมเนซ
- 1 การทำเข้าประตูตัวเอง
แอซิซ เบอิช (ในนัดที่พบกับฝรั่งเศส)
เฟร์นังจิญญู (ในนัดที่พบกับเบลเยียม)
มารีออ มันจูคิช (ในนัดที่พบกับฝรั่งเศส)
อะห์มัด ฟัตฮี (ในนัดที่พบกับรัสเซีย)
เอดซอน อัลบาเรซ (ในนัดที่พบกับสวีเดน)
อะซีซ บูฮัดดูซ (ในนัดที่พบกับอิหร่าน)
โอเกเนกาโร เอเตโบ (ในนัดที่พบกับโครเอเชีย)
เตียกอ ชอแนก (ในนัดที่พบกับเซเนกัล)
เดนิส เชรืยเชฟ (ในนัดที่พบกับอุรุกวัย)
เซียร์เกย์ อิกนาเชวิช (ในนัดที่พบกับสเปน)
ยัน ซ็อมเมอร์ (ในนัดที่พบกับคอสตาริกา)
ยาซีน มัรยาห์ (ในนัดที่พบกับปานามา)
แหล่งที่มา: ฟีฟ่า[72]
รางวัล[แก้]
รางวัลด้านล่างนี้ได้มอบให้หลังได้บทสรุปของการแข่งขัน. รางวัลรองเท้าทองคำ, ลูกบอลทองคำ และ ถุงมือทองคำ ได้รับการสนับสนุนจาก อาดิดาส.[1]
ลูกบอลทองคำ | ลูกบอลเงิน | ลูกบอลทองแดง |
---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
รองเท้าทองคำ | รองเท้าเงิน | รองเท้าทองแดง |
![]() |
![]() |
![]() |
6 ประตู, 0 แอสซิสต์ | 4 ประตู, 2 แอสซิสต์ | 4 ประตู, 1 แอสซิสต์ |
ถุงมือทองคำ | ||
![]() | ||
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยม | ||
![]() | ||
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์ | ||
![]() |
เงินรางวัล[แก้]
จำนวนเงินรางวัลได้ถูกประกาศออกมาในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2017.[73]
ตำแหน่ง | จำนวนเงินรางวัล (ล้านยูเอสดอลลาร์) | |
---|---|---|
ต่อทีม | ทั้งหมด | |
ชนะเลิศ | 38 | 38 |
รองชนะเลิศ | 28 | 28 |
อันดับ 3 | 24 | 24 |
อันดับ 4 | 22 | 22 |
อันดับ 5–8 | 16 | 64 |
อันดับ 9–16 | 12 | 96 |
อันดับ 17–32 | 8 | 128 |
ทั้งหมด | 400 |
การตลาด[แก้]
สัญลักษณ์[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โปสเตอร์[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตุ๊กตาสัญลักษณ์[แก้]
ลูกฟุตบอล[แก้]
ลูกฟุตบอลอย่างเป็นทางการของการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018 คือ "เทลสตาร์ 18" และขึ้นอยู่กับชื่อและดีไซน์ของครั้งแรก อาดิดาส ลูกบอลเวิลด์คัพตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970. มันถูกนำมาใช้เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 2017.[74]
สินค้าที่ระลึก[แก้]
เมื่อวันที่ 30 เมษายน ค.ศ. 2018, อีเอ ได้ประกาศออกมาให้เป็นเกมฟรี ขยาย สำหรับ ฟีฟ่า 18 ขึ้นอยู่กับฟุตบอลโลก 2018 แสดงลักษณะทั้งหมด 32 ทีมที่ผ่านเข้ารอบสุดท้ายและทั้งหมด 12 สนามกีฬาที่ใช่ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018[75]
เพลงประจำการแข่งขัน[แก้]
เพลงประจำการแข่งขันอย่างเป็นทางการเป็น "Live It Up", จากเสียงร้องของ วิล สมิธ, นิคกี แจม และ อีรา อิสเตรฟี, ได้วางจำหน่ายไปเมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม. มิวสิควีดิโอเพลงฟุตบอลโลกอย่างเป็นทางการได้ถูกปล่อยออกมาเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน.[76]
สิทธิการออกอากาศ[แก้]
ในประเทศไทย พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายความมั่นคง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม และประธานคณะกรรมการการกีฬาแห่งประเทศไทย เป็นประธานแถลงข่าว “ประเทศไทยเซ็นสัญญาคว้าลิขสิทธิ์ถ่ายทอดสดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2018” ซึ่งจะจัดการแข่งขันขึ้นระหว่างวันที่ 14 มิ.ย. - 15 ก.ค. 2561 ที่ประเทศรัสเซีย โดยความสำเร็จในครั้งนี้เกิดจากการผนึกกำลังร่วมกันระหว่างภาครัฐบาล นำโดยกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาและการกีฬาแห่งประเทศไทย ร่วมด้วยภาคเอกชน 9 องค์กร ที่ร่วมลงทุนในครั้งนี้ ซึ่งการเจรจาที่ผ่านมามีความล่าช้าไปเล็กน้อย เนื่องจากคิงเพาเวอร์ ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนเจรจาในตอนต